fbpx
วิกิพีเดีย

ลัทธิอัสมาจารย์

ลัทธิอัสมาจารย์ (อังกฤษ: scholasticism) หมายถึง วิธีคิดเชิงวิพากษ์ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยในยุโรปสมัยกลาง (ค.ศ. 1,100-1,700) และหมายถึงหลักสูตรที่ใช้วิธีดังกล่าวมาสนับสนุนและเผยแพร่หลักความเชื่อในสังคมที่มีความหลากหลายขึ้นเรื่อย ๆ ในสมัยนั้น อัสสมาจารย์นิยมมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนในอารามคริสต์ในยุโรปยุคแรก ๆ สถาบันการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยในยุโรปเกิดขึ้นที่ประเทศอิตาลี ฝรั่งเศส สเปน และอังกฤษ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 จัดการสอนด้านศิลปศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ และเทววิทยา มหาวิทยาลัยเหล่านี้ เช่น มหาวิทยาลัยซาแลร์โน มหาวิทยาลัยโบโญญา และมหาวิทยาลัยปารีส

การบรรยายในมหาวิทยาลัยในคริสต์ศตวรรษที่ 14

นักปราชญ์สำคัญในยุคนี้ เช่น แอนเซล์มแห่งแคนเทอร์เบอรี อเล็กซานเดอร์แห่งเฮลส์ อัลแบร์ตุส มาญุส ดันส์ สโกตัส วิลเลียมแห่งออกคัม โบนาเวนตูรา และทอมัส อไควนัส

อ้างอิง

  1. สำนักงานราชบัณฑิตยสภาพจนานุกรมศัพท์ปรัชญา ฉบับราชบัณฑิตยสภา. พิมพ์ครั้งที่ ๕, กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2560. 320 หน้า. หน้า 224-225. ISBN 978-616-389-061-0
  2. See Steven P. Marone, "Medieval philosophy in context" in A. S. McGrade, ed., The Cambridge Companion to Medieval Philosophy (Cambridge: Cambridge University Press, 2003). On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning, see Jean Leclercq, The Love of Learning and the Desire for God (New York: Fordham University Press, 1970) esp. 89; 238ff.
  3. de Ridder-Symoens 1992, pp. 47–55

ทธ, สมาจารย, งกฤษ, scholasticism, หมายถ, ดเช, งว, พากษ, ทธ, พลต, อการเร, ยนการสอนของน, กว, ชาการในมหาว, ทยาล, ยในย, โรปสม, ยกลาง, และหมายถ, งหล, กส, ตรท, ใช, งกล, าวมาสน, บสน, นและเผยแพร, หล, กความเช, อในส, งคมท, ความหลากหลายข, นเร, อย, ในสม, ยน, สสมาจารย, ยมม. lththixsmacary 1 xngkvs scholasticism hmaythung withikhidechingwiphaksthimixiththiphltxkareriynkarsxnkhxngnkwichakarinmhawithyalyinyuorpsmyklang kh s 1 100 1 700 aelahmaythunghlksutrthiichwithidngklawmasnbsnunaelaephyaephrhlkkhwamechuxinsngkhmthimikhwamhlakhlaykhuneruxy insmynn 2 xssmacaryniymmitnkaenidmacakorngeriyninxaramkhristinyuorpyukhaerk sthabnkarsuksaradbmhawithyalyinyuorpekidkhunthipraethsxitali frngess sepn aelaxngkvs inplaykhriststwrrsthi 11 thungkhriststwrrsthi 12 cdkarsxndansilpsastr nitisastr aephthysastr aelaethwwithya 3 mhawithyalyehlani echn mhawithyalysaaelron mhawithyalyoboyya aelamhawithyalypariskarbrryayinmhawithyalyinkhriststwrrsthi 14 nkprachysakhyinyukhni echn aexneslmaehngaekhnethxrebxri xelksanedxraehngehls xlaebrtus mayus dns sokts wileliymaehngxxkkhm obnaewntura aelathxms xikhwnsxangxing aekikh sanknganrachbnthityspha phcnanukrmsphthprchya chbbrachbnthityspha phimphkhrngthi 5 krungethph sanknganrachbnthityspha 2560 320 hna hna 224 225 ISBN 978 616 389 061 0 See Steven P Marone Medieval philosophy in context in A S McGrade ed The Cambridge Companion to Medieval Philosophy Cambridge Cambridge University Press 2003 On the difference between scholastic and medieval monastic postures towards learning see Jean Leclercq The Love of Learning and the Desire for God New York Fordham University Press 1970 esp 89 238ff de Ridder Symoens 1992 pp 47 55 bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title lththixsmacary amp oldid 8272173, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม