fbpx
วิกิพีเดีย

สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ สนธิสัญญากรุงเทพฯ (แก้ความกำกวม)

สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452 (อังกฤษ: Anglo-Siamese Treaty of 1909) หรือ สัญญากรุงเทพฯ (Bangkok Treaty of 1909) เป็นสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับสยาม ซึ่งได้มีการลงนามสนธิสัญญาฉบับนี้ที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2452 และรัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรได้ให้สัตยาบันเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 สนธิสัญญาฉบับนี้มีทั้งสิ้น 8 ข้อโดยมีสาระสำคัญคือ:

  • สยามยกสิทธิการปกครองและบังคับบัญชาเหนือไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และปะลิสรวมทั้งเกาะใกล้เคียงให้แก่อังกฤษ
  • หนี้สินต่าง ๆ ที่รัฐมลายูเหล่านั้นมีต่อรัฐบาลสยาม อังกฤษจะชดใช้ให้
  • อังกฤษรับรองซึ่งอธิปไตยของสยามเหนือปาตานี
  • อังกฤษให้เงินกู้ให้แก่สยามจำนวน 4.63 ล้านปอนด์เพื่อสร้างทางรถไฟสายใต้
  • สยามควรปรึกษาอังกฤษ หากต้องการให้หรือจัดการสิทธิในเหมืองถ่านหิน ท่าเรือ และอู่เรือในมณฑลราชบุรีแก่ชาติอื่น ๆ
สัญญากรุงเทพฯ
วันลงนาม10 มีนาคม พ.ศ. 2452
ที่ลงนามกรุงเทพมหานคร
วันมีผล9 กรกฎาคม พ.ศ. 2452
ภาคี จักรวรรดิอังกฤษ
สยาม
ภาษาไทยและอังกฤษ

สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นจากการที่เอ็ดเวิร์ด เฮนรี สโตรเบล ที่ปรึกษาชาวอเมริกันของรัฐบาลสยาม ได้ทูลถวายความเห็นต่อรัชกาลที่ 5 เมื่อเสด็จกลับจากการประพาสยุโรปในปี พ.ศ. 2450 ว่ารัฐบาลสยามไม่สามารถไว้ใจสุลต่านเมืองเหล่านี้ได้ และวันใดก็วันหนึ่งไม่ช้าหรือเร็ว อังกฤษจะต้องหาทางเอาดินแดนส่วนนี้ไปได้แน่ หากปล่อยไว้สยามอาจเสียดินแดนเหล่านี้โดยไม่ได้รับอะไรตอบแทนเลย

แม้สยามจะต้องสูญเสียดินแดนกว่า 38,000 ตารางกิโลเมตร แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เคยมีพระราชดำริต่อดินแดนส่วนนี้ว่า "เราไม่มีผลประโยชน์เป็นพิเศษแต่อย่างใดในบรรดาหัวเมืองเหล่านี้…หากเราต้องสูญเสียหัวเมืองเหล่านี้ให้แก่อังกฤษ เราจะขาดแต่เพียงดอกไม้เงินดอกไม้ทอง นอกเหนือไปจากเครื่องราชบรรณาการนี้แล้ว ก็ไม่มีการสูญเสียทางด้านวัตถุอื่นใดอีก..." อย่างไรก็ตาม สนธิสัญญาฉบับนี้ทำให้สุลต่านไทรบุรีโกรธเคืองมาก โดยตรัสว่า "ประเทศของฉัน ประชาชนของฉัน ถูกขายไปเหมือนกับการขายลูกวัว ฉันให้อภัยคนซื้อซึ่งไม่มีพันธะกับฉันได้ แต่ฉันให้อภัยคนขายไม่ได้"

รัฐบาลสยามไม่มีท่าทีที่แสดงความลังเลหรือต้องการเมืองประเทศราชเหล่านี้ไว้ โดยพิจารณาตามเอกสารประชุมเสนาบดีรัชกาลที่ 5 เกี่ยวกับเรื่องเขตแดนในแหลมมลายูก่อน ลงนามสนธิสัญญากับอังกฤษปี พ.ศ. 2452 “...ในเวลานี้เรายังมีของที่มีราคาอยู่ จึงควรถือเอาราคาอันนี้แลกเปลี่ยนกับสิ่งอื่น...” ตามความหมายของข้อความดังกล่าว คือ การใช้หัวเมืองมลายูเหล่านี้เป็นสิ่งแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ที่จะได้รับจากอังกฤษ บ่งชี้ได้ว่ารัฐบาลสยามพร้อมที่จะผลักเอาพันธะของเมืองเหล่านี้ในระบบการปกครองแบบจารีตออกไป เพราะเหตุผลจากข้อความข้างต้นที่ได้ยกมาสื่อความถึงสยามจะไม่ได้ประโยชน์จากเมืองเหล่านี้ และไม่สามารถเข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาประเทศราชได้อย่างเต็มกำลังสามารถ รวมถึงในอนาคตหัวเมืองมลายูจะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศของสยาม เนื่องจากพื้นที่หัวเมืองมลายูโดยเฉพาะเมืองกลันตัน และตรังกานู ในประวัติศาสตร์ของสยามเมืองเหล่านี้ห่างไกลจากการรับรู้และเป็นหัวเมืองประเทศราชอย่างแท้จริง เหตุการณ์ยกเมืองไทรบุรีให้แก่อังกฤษ มีการอัญเชิญจดหมายพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงดำรงราชานุภาพในฐานะรัฐบาลสยาม แสดงความขอบใจในความภักดีของสุลต่านที่มีต่อพระมหากษัตริย์สยามตั้งแต่อดีตเรื่อยมา

หลังจากลงนามในสนธิสัญญาสยามกับอังกฤษปี พ.ศ. 2452 ผลตอบแทนที่สยามได้รับประโยชน์แบ่งได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนกฎหมาย เช่น การยกเลิกสิทธิสภาพนอก อาณาเขต รวมถึงยกเลิกสนธิสัญญาลับปี พ.ศ. 2440 ซึ่งสยามลงนามกับอังกฤษมีใจความ ห้ามสยามโอนหรือให้สิทธิพิเศษแก่ชาติอื่นในการพื้นที่ตั้งแต่เมืองบางตะพานลงมา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากอังกฤษ 2. ส่วนความช่วยเหลือ ได้แก่ การสร้างเส้นทางรถไฟสายใต้ โดยความช่วยเหลือทางด้านการเงิน อังกฤษให้สยามกู้เงินโดยคิดดอกเบี้ยร้อยละสี่ รวมถึงความช่วยเหลือทางด้านทรัพยาการบุคคล เช่น วิศวกร นายช่าง รวมทั้งการให้ยืมข้าราชการจากอาณานิคมมาทำงานในหน่วยงานของรัฐบาลสยาม ฯลฯ

อ้างอิง

  1. "กรณีเจ้าแขกเจ็ดหัวเมือง : การเริ่มต้น "ความจริง" เกี่ยวกับปัตตานี ด้วยประวัติศาสตร์แห่งการลวง*". ศิลปะวัฒนธรรม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2560. Italic or bold markup not allowed in: |publisher= (help); Check date values in: |date= (help)
  2. ชารอม อาหมัด. ความสัมพันธ์ระหว่างเคดาห์กับสยาม (๒๕๒๘). หน้า ๑๑๙-๑๒๐. อ้างถึงใน ครองชัย หัตถา. ปัตตานี. หน้า ๑๑๑.
  3. อ.บางนรา. ปัตตานี : อดีต-ปัจจุบัน. หน้า ๑๖๔-๑๖๕. อ้างถึงใน ทวีศักดิ์ เผือกสม. “อยุธยาในเงื้อมมือของปัตตานี : ประวัติศาสตร์นิพนธ์ของปัตตานีและบทสนทนาระหว่างศูนย์กลางกับท้องถิ่นในการเขียนประวัติศาสตร์” (เอกสารต้นฉบับ, กำลังจะตีพิมพ์), หน้า ๔๔.
  4. ชัยวัฒน์ ปะสุนะ. (2564). “รัฐบาลสยามกับการจัดการปกครอง 4 หัวเมืองมลายู (ไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานู) ระหว่าง ค.ศ. 1873-1910”. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 12(2), 231. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/polscicmujournal/article/view/240247
  5. ชัยวัฒน์ ปะสุนะ. (2564). “รัฐบาลสยามกับการจัดการปกครอง 4 หัวเมืองมลายู (ไทรบุรี ปะลิส กลันตัน และตรังกานู) ระหว่าง ค.ศ. 1873-1910”. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 12(2), 236. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/polscicmujournal/article/view/240247

สนธ, ญญาอ, งกฤษ, สยาม, 2452, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดสำหร, บความหมายอ, สนธ, ญญากร, งเทพฯ, แก, ความกำกวม, งกฤษ, an. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudsahrbkhwamhmayxun duthi snthisyyakrungethph aekkhwamkakwm snthisyyaxngkvs syam ph s 2452 xngkvs Anglo Siamese Treaty of 1909 hrux syyakrungethph Bangkok Treaty of 1909 epnsnthisyyarahwangxngkvskbsyam sungidmikarlngnamsnthisyyachbbnithikrungethphmhankhremuxwnthi 10 minakhm ph s 2452 1 aelarthsphaaehngshrachxanackridihstyabnemuxwnthi 9 krkdakhm ph s 2452 snthisyyachbbnimithngsin 8 khxodymisarasakhykhux syamyksiththikarpkkhrxngaelabngkhbbychaehnuxithrburi klntn trngkanu aelapalisrwmthngekaaiklekhiyngihaekxngkvs hnisintang thirthmlayuehlannmitxrthbalsyam xngkvscachdichih xngkvsrbrxngsungxthipitykhxngsyamehnuxpatani xngkvsihenginkuihaeksyamcanwn 4 63 lanpxndephuxsrangthangrthifsayit syamkhwrpruksaxngkvs haktxngkarihhruxcdkarsiththiinehmuxngthanhin thaerux aelaxueruxinmnthlrachburiaekchatixun syyakrungethphwnlngnam10 minakhm ph s 2452thilngnamkrungethphmhankhrwnmiphl9 krkdakhm ph s 2452phakhickrwrrdixngkvs syamphasaithyaelaxngkvs snthisyyachbbniekidkhuncakkarthiexdewird ehnri sotrebl thipruksachawxemriknkhxngrthbalsyam idthulthwaykhwamehntxrchkalthi 5 emuxesdcklbcakkarpraphasyuorpinpi ph s 2450 warthbalsyamimsamarthiwicsultanemuxngehlaniid aelawnidkwnhnungimchahruxerw xngkvscatxnghathangexadinaednswnniipidaen hakplxyiwsyamxacesiydinaednehlaniodyimidrbxairtxbaethnelyaemsyamcatxngsuyesiydinaednkwa 38 000 tarangkiolemtr aetphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwidekhymiphrarachdaritxdinaednswnniwa eraimmiphlpraoychnepnphiessaetxyangidinbrrdahwemuxngehlani hakeratxngsuyesiyhwemuxngehlaniihaekxngkvs eracakhadaetephiyngdxkimengindxkimthxng nxkehnuxipcakekhruxngrachbrrnakarniaelw kimmikarsuyesiythangdanwtthuxunidxik 2 xyangirktam snthisyyachbbnithaihsultanithrburiokrthekhuxngmak odytrswa praethskhxngchn prachachnkhxngchn thukkhayipehmuxnkbkarkhaylukww chnihxphykhnsuxsungimmiphnthakbchnid aetchnihxphykhnkhayimid 3 rthbalsyamimmithathithiaesdngkhwamlngelhruxtxngkaremuxngpraethsrachehlaniiw odyphicarnatamexksarprachumesnabdirchkalthi 5 ekiywkberuxngekhtaedninaehlmmlayukxn lngnamsnthisyyakbxngkvspi ph s 2452 inewlanierayngmikhxngthimirakhaxyu cungkhwrthuxexarakhaxnniaelkepliynkbsingxun tamkhwamhmaykhxngkhxkhwamdngklaw khux karichhwemuxngmlayuehlaniepnsingaelkepliynphlpraoychnthicaidrbcakxngkvs bngchiidwarthbalsyamphrxmthicaphlkexaphnthakhxngemuxngehlaniinrabbkarpkkhrxngaebbcaritxxkip ephraaehtuphlcakkhxkhwamkhangtnthiidykmasuxkhwamthungsyamcaimidpraoychncakemuxngehlani aelaimsamarthekhaipmibthbathinkarphthnapraethsrachidxyangetmkalngsamarth rwmthunginxnakhthwemuxngmlayucaepnxupsrrkhtxkarphthnapraethskhxngsyam enuxngcakphunthihwemuxngmlayuodyechphaaemuxngklntn aelatrngkanu inprawtisastrkhxngsyamemuxngehlanihangiklcakkarrbruaelaepnhwemuxngpraethsrachxyangaethcring ehtukarnykemuxngithrburiihaekxngkvs mikarxyechiycdhmayphraecanxngyaethx krmhlwngdarngrachanuphaphinthanarthbalsyam aesdngkhwamkhxbicinkhwamphkdikhxngsultanthimitxphramhakstriysyamtngaetxditeruxyma 4 hlngcaklngnaminsnthisyyasyamkbxngkvspi ph s 2452 phltxbaethnthisyamidrbpraoychnaebngidepn 2 swn khux 1 swnkdhmay echn karykeliksiththisphaphnxk xanaekht rwmthungykeliksnthisyyalbpi ph s 2440 sungsyamlngnamkbxngkvsmiickhwam hamsyamoxnhruxihsiththiphiessaekchatixuninkarphunthitngaetemuxngbangtaphanlngma ewnaetcaidrbxnuyatcakxngkvs 2 swnkhwamchwyehlux idaek karsrangesnthangrthifsayit odykhwamchwyehluxthangdankarengin xngkvsihsyamkuenginodykhiddxkebiyrxylasi rwmthungkhwamchwyehluxthangdanthrphyakarbukhkhl echn wiswkr naychang rwmthngkarihyumkharachkarcakxananikhmmathanganinhnwyngankhxngrthbalsyam l 5 xangxing aekikh krniecaaekhkecdhwemuxng karerimtn khwamcring ekiywkbpttani dwyprawtisastraehngkarlwng silpawthnthrrm 11 minakhm ph s 2560 Italic or bold markup not allowed in publisher help Check date values in date help charxm xahmd khwamsmphnthrahwangekhdahkbsyam 2528 hna 119 120 xangthungin khrxngchy httha pttani hna 111 x bangnra pttani xdit pccubn hna 164 165 xangthungin thwiskdi ephuxksm xyuthyainenguxmmuxkhxngpttani prawtisastrniphnthkhxngpttaniaelabthsnthnarahwangsunyklangkbthxngthininkarekhiynprawtisastr exksartnchbb kalngcatiphimph hna 44 chywthn pasuna 2564 rthbalsyamkbkarcdkarpkkhrxng 4 hwemuxngmlayu ithrburi palis klntn aelatrngkanu rahwang kh s 1873 1910 warsarrthsastraelarthprasasnsastr 12 2 231 https so05 tci thaijo org index php polscicmujournal article view 240247 chywthn pasuna 2564 rthbalsyamkbkarcdkarpkkhrxng 4 hwemuxngmlayu ithrburi palis klntn aelatrngkanu rahwang kh s 1873 1910 warsarrthsastraelarthprasasnsastr 12 2 236 https so05 tci thaijo org index php polscicmujournal article view 240247ekhathungcak https th wikipedia org w index php title snthisyyaxngkvs syam ph s 2452 amp oldid 9533139, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม