fbpx
วิกิพีเดีย

สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม

สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรม (อังกฤษ: enlightened absolutism, benevolent despotism หรือ enlightened despotism) คือรูปแบบของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และระบบใช้อำนาจเด็ดขาด ที่ซึ่งผู้ปกครองได้รับอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญา พระมหากษัตริย์ในระบอบนี้ที่เรียกว่า ประมุขผู้ทรงภูมิธรรม เป็นผู้อุปถัมภ์หลักการของการเรืองปัญญา โดยเฉพาะความสำคัญของหลักเหตุและผล และนำไปใช้ในการปกครองดินแดนของตน พระมหากษัตริย์มีแนวโน้มที่จะมีพระบรมราชานุญาตให้มีหลักขันติธรรมทางศาสนา, เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการเผยแพร่ข่าวสาร รวมถึงสิทธิ์ของประชาชนทั่วไปในการครอบครองทรัพย์สิน อันเป็นการช่วยสร้างความเจริญก้าวหน้าทางศิลปศาสตร์, วิทยาศาสตร์ และการศึกษาในยุโรปอย่างมาก

ประวัติศาสตร์

แนวคิดนี้ได้รับการคิดค้นขึ้นโดยวิลเฮล์ม โรเชอร์ นักประวัติศาสตร์ชาวเยอรมันในปี พ.ศ. 2390 และยังคงเป็นที่ถกเถียงในหมู่นักวิชาการมาจนถึงปัจจุบัน

พระประมุขผู้ทรงภูมิธรรมดำรงพระราชอำนาจมิใช่จากเทวสิทธิ์ของพระมหากษัตริย์ หากแต่เป็นพระราชอำนาจที่มาจากพันธสัญญาต่อสังคมอันเป็นภาระหน้าที่ที่จะต้องปกครองอย่างทรงธรรม การพิจารณาถึงพระประมุขว่าทรงภูมิธรรมมีพื้นฐานมาจากการวิเคราะห์เชิงกว้างของการรับเอาอิทธิพลจากยุคเรืองปัญญามามากน้อยเพียงใด เช่น สมเด็จพระจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย แม้จะทรงปฏิเสธหลักการของการมีพันธสัญญาต่อสังคมอย่างสิ้นเชิง แต่ก็ทรงรับเอาแนวคิดมากมายจากยุคเรืองปัญญามา พระนางทรงเป็นผู้อุปภัมถ์คนสำคัญของวงการศิลปะรัสเซียและยังทรงผสมผสานแนวคิดต่างๆ จากนักปรัชญา โดยเฉพาะมงแต็สกีเยอ ดังเช่นในพระราชโองการของพระนางที่ประสงค์จะให้มีการปฏิรูประบบกฎหมายของรัสเซียเป็นต้น

ในทางปฏิบัติแล้ว พระมหากษัตริย์ปกครองด้วยพระประสงค์ที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตของพสกนิกรเพื่อเป็นการสร้างเสริมพระราชอำนาจและพระบารมี ซึ่งนัยของแนวคิดนี้ก็คือการที่พระมหากษัตริย์คำนึงถึงผลพระโยชน์ส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนพระองค์เอง และด้วยแนวคิดนี้เองที่กลายมาเป็นบรรทัดฐานในการครองราชย์ของกษัตริย์ วอลแตร์เป็นนักปรัชญาคนสำคัญจากยุคเรืองปัญญาที่เห็นว่าสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมเป็นหนทางที่แท้จริงเพียงเดียวที่จะทำให้สังคมเจริญรุ่งเรืองได้[ต้องการอ้างอิง]

อย่างไรก็ตามนักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันถึงการปฏิบัติใช้สมบูรณาญาสิทธิราชย์อันทรงภูมิธรรมที่แท้จริง พวกเขาแยกแยะความภูมิธรรมโดยพระราชจริยวัตรออกจากความภูมิธรรมโดยพระราชกรณียกิจ เช่น พระเจ้าฟรีดริชมหาราชแห่งปรัสเซีย ผู้ซึ่งถูกปลูกฝังแนวคิดของการเรืองปัญญามาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ และก็ทรงยึดมั่นในแนวคิดดังกล่าวตลอดช่วงพระชนม์ชีพของพระองค์ แต่ในทางปฏิบัติพระองค์กลับไม่สามารถที่จะก่อให้เกิดการปฏิรูปขึ้นได้ บุคคลอื่นเช่น เซบาสเตียน โฮเซ เด คาวาโล เอ เมโล นายกรัฐมนตรีแห่งโปรตุเกส ใช้การเรืองปัญญาไม่แต่เฉพาะเพื่อการปฏิรูปเท่านั้น แต่รวมไปถึงการสร้างเสริมขุมอำนาจ, บ่อนทำลายฝ่ายตรงข้าม, ปราบปรามการวิพากษ์วิจารณ์, การแสวงหาผลประโยชน์จากอาณานิคม และการรวบรวมอำนาจและผลประโยชน์ส่วนตน

ในรัฐชาติ

รัฐบาลของรัฐต่างๆ ในยุโรปตอบสนองต่อยุคเรืองปัญญาแตกต่างกันไป ในฝรั่งเศสที่ซึ่งรัฐบาลได้ทำการต่อต้านการเรืองปัญญา ขณะที่เหล่านักปรัชญาต่างต่อสู้กับการปิดกั้นข่าวสารของรัฐ แต่ในอังกฤษ รัฐบาลวางตัวเมินเฉยต่อการเรืองปัญญา

อย่างไรก็ตาม รัฐในยุโรปที่มีผู้ปกครองทรงอำนาจหรือที่เรียกโดยนักประวัติศาสตร์ว่า ประมุขผู้ทรงภูมิธรรม (อังกฤษ: Enlightened despots) พระประมุขเหล่านี้ต่างต้อนรับแนวคิดของยุคเรืองปัญญาเป็นอย่างดีในราชสำนัก และยังช่วยวางแผนการและกฎหมายเพื่อที่จะปฏิรูประบอบการปกครองของประเทศ รวมไปถึงการสร้างขุมอำนาจและความมั่นคงให้แก่รัฐของตน พระเจ้าฟรีดริชมหาราชแห่งปรัสเซีย ผู้ครองราชย์ช่วงปี พ.ศ. 2283 - พ.ศ. 2329 ทรงสนพระทัยในแนวคิดของฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก วอลแตร์ผู้ซึ่งถูกจองจำและทารุณโดยรัฐบาลฝรั่งเศสปรารถนาอย่างมากที่จะตอบรับคำเชิญของพระเจ้าฟรีดริชมหาราช โดยเขาถูกเชิญให้ไปพำนักยังพระราชวังในปรัสเซีย พระเจ้าฟรีดริชตรัสว่า "พันธกิจหลักของข้าพเจ้าคือการต่อสู้กับความโง่เขลาและความอยุติธรรม ... เพื่อบอกแจ้งแก่จิต, ปลูกฝังศีลธรรม, และทำให้ผู้คนมีความสุขมากที่สุดเท่าที่มันจะเหมาะสมกับธรรมชาติของมนุษย์และมากเท่าที่ข้าพเจ้าประสงค์จะให้มี", สมเด็จพระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน ผู้ครองราชย์ช่วงปี พ.ศ. 2302 - พ.ศ. 2331 ทรงพยายามที่จะกอบกู้จักรวรรดิของพระองค์จากความเสื่อมโทรมด้วยการปฏิรูปซึ่งมีอิทธิพลแผ่ขยายไปทั่วอาณาจักร ช่วยลดทอนอำนาจของศาสนจักรและเหล่าเจ้าขุนมูลนาย, สนับสนุนวิทยาศาสตร์และการวิจัยในมหาวิทยาลัย, ส่งเสริมการค้าและการพาณิชย์, พัฒนาการเกษตรกรรมและหลีกเลี่ยงการก่อสงคราม ทำให้สเปนรื้อฟื้นความยิ่งใหญ่ได้หลังจากการสวรรคตของพระองค์, สมเด็จพระจักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย ผู้ครองราชย์ช่วงปี พ.ศ. 2305 - พ.ศ. 2339 ก็ทรงหลงใหลในแนวคิดยุคเรืองปัญญา, จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ทรงหลงใหลในแนวคิดนี้จนมากเกินควร ดังจะเห็นได้จากการที่พระองค์ทรงประกาศการปฏิรูปออกมานับครั้งไม่ถ้วน หากแต่การปฏิรูปทั้งหมดเหล่านั้นล้วนแต่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยแก่ประเทศ จนกลายมาเป็นเรืองขบขันของประชาชนในความล้มเหลวดังกล่าว นอกจากนี้แนวคิดของการเรืองปัญญายังมีอิทธิพลอย่างมากทั้งในโปรตุเกสและเดนมาร์ก

พระมหากษัตริย์ที่เกี่ยวข้อง

จากซ้ายไปขวา: จักรพรรดินีเยกาเจรีนาที่ 2 แห่งรัสเซีย, พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน, พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 แห่งสวีเดน, พระเจ้าฟรีดริชมหาราชแห่งปรัสเซีย,
พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก
จากซ้ายไปขวา: จักรพรรดิโยเซฟที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, จักรพรรดิลีโอโพลด์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส,
มาเรียแคโรไลนาแห่งออสเตรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเนเปิลส์, จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. A. Lentin (ed.), Enlightened Absolutism (1760-1790), Avero, 1985, p. ix.
  2. Charles Ingrao, "The Problem of 'Enlightened Absolutism and the German States," Journal of Modern History Vol. 58, Supplement: Politics and Society in the Holy Roman Empire, 1500-1806 (Dec., 1986), pp. S161-S180 in JSTOR
  3. H.M. Scott, ed., Enlightened Absolutism: Reform and Reformers in Later Eighteenth-Century Europe, (University of Michigan Press, 1990)
  4. Stephen J. Lee, Aspects of European history, 1494-1789 (1990) pp. 258-66
  5. Giles MacDonogh, Frederick the Great: A Life in Deed and Letters (2001) p 341
  6. Nicholas Henderson, "Charles III of Spain: An Enlightened Despot," History Today, Nov 1968, Vol. 18 Issue 10, p673–682 and Issue 11, pp 760–768
  7. Nicholas Henderson, "Joseph II", History Today (March 1991) 41:21–27
  8. McKay, "A History of Western Society", Houghton Mifflin Company, 2006, p.616-619
  9. H.M. Scott, 1990, p. 1.
  10. H. Arnold Barton, Scandinavia in the Revolutionary Era 1760-1815, University of Minnesota Press, 1986, p.142ff. ISBN 0-8166-1392-3.
  11. H.M. Scott, 1990, p. 265ff
  12. H. Arnold Barton, Scandinavia in the Revolutionary Era 1760-1815, University of Minnesota Press, 1986, p.142ff. ISBN 0-8166-1392-3.
  13. H.M. Scott, 1990, p. 1.
  14. H.M. Scott, 1990, p. 1.
  15. H.M. Scott, 1990, p. 1.
  16. Bearne, Catherine Mary (1907). A Sister of Marie Antoinette: The Life-Story of Maria Carolina, Queen of Naples. T. Fisher Unwin: London, p 142.

สมบ, รณาญาส, ทธ, ราชย, นทรงภ, ธรรม, งกฤษ, enlightened, absolutism, benevolent, despotism, หร, enlightened, despotism, อร, ปแบบของระบอบสมบ, รณาญาส, ทธ, ราชย, และระบบใช, อำนาจเด, ดขาด, งผ, ปกครองได, บอ, ทธ, พลจากย, คเร, องป, ญญา, พระมหากษ, ตร, ในระบอบน, เร, ยกว,. smburnayasiththirachyxnthrngphumithrrm xngkvs enlightened absolutism benevolent despotism hrux enlightened despotism khuxrupaebbkhxngrabxbsmburnayasiththirachyaelarabbichxanaceddkhad thisungphupkkhrxngidrbxiththiphlcakyukheruxngpyya phramhakstriyinrabxbnithieriykwa pramukhphuthrngphumithrrm epnphuxupthmphhlkkarkhxngkareruxngpyya odyechphaakhwamsakhykhxnghlkehtuaelaphl aelanaipichinkarpkkhrxngdinaednkhxngtn phramhakstriymiaenwonmthicamiphrabrmrachanuyatihmihlkkhntithrrmthangsasna esriphaphinkaraesdngkhwamkhidehnaelakarephyaephrkhawsar rwmthungsiththikhxngprachachnthwipinkarkhrxbkhrxngthrphysin xnepnkarchwysrangkhwamecriykawhnathangsilpsastr withyasastr aelakarsuksainyuorpxyangmak enuxha 1 prawtisastr 2 inrthchati 3 phramhakstriythiekiywkhxng 4 xangxingprawtisastr aekikhaenwkhidniidrbkarkhidkhnkhunodywilehlm orechxr nkprawtisastrchaweyxrmninpi ph s 2390 1 aelayngkhngepnthithkethiynginhmunkwichakarmacnthungpccubn 2 phrapramukhphuthrngphumithrrmdarngphrarachxanacmiichcakethwsiththikhxngphramhakstriy hakaetepnphrarachxanacthimacakphnthsyyatxsngkhmxnepnpharahnathithicatxngpkkhrxngxyangthrngthrrm karphicarnathungphrapramukhwathrngphumithrrmmiphunthanmacakkarwiekhraahechingkwangkhxngkarrbexaxiththiphlcakyukheruxngpyyamamaknxyephiyngid echn smedcphrackrphrrdinieykaecrinathi 2 aehngrsesiy aemcathrngptiesthhlkkarkhxngkarmiphnthsyyatxsngkhmxyangsineching aetkthrngrbexaaenwkhidmakmaycakyukheruxngpyyama phranangthrngepnphuxupphmthkhnsakhykhxngwngkarsilparsesiyaelayngthrngphsmphsanaenwkhidtang caknkprchya odyechphaamngaetskieyx dngechninphrarachoxngkarkhxngphranangthiprasngkhcaihmikarptiruprabbkdhmaykhxngrsesiyepntninthangptibtiaelw phramhakstriypkkhrxngdwyphraprasngkhthicaykradbkhunphaphchiwitkhxngphsknikrephuxepnkarsrangesrimphrarachxanacaelaphrabarmi sungnykhxngaenwkhidnikkhuxkarthiphramhakstriykhanungthungphlphraoychnswnrwmmakkwaphlpraoychnswnphraxngkhexng aeladwyaenwkhidniexngthiklaymaepnbrrthdthaninkarkhrxngrachykhxngkstriy wxlaetrepnnkprchyakhnsakhycakyukheruxngpyyathiehnwasmburnayasiththirachyxnthrngphumithrrmepnhnthangthiaethcringephiyngediywthicathaihsngkhmecriyrungeruxngid txngkarxangxing xyangirktamnkprawtisastryngkhngthkethiyngknthungkarptibtiichsmburnayasiththirachyxnthrngphumithrrmthiaethcring phwkekhaaeykaeyakhwamphumithrrmodyphrarachcriywtrxxkcakkhwamphumithrrmodyphrarachkrniykic echn phraecafridrichmharachaehngprsesiy phusungthukplukfngaenwkhidkhxngkareruxngpyyamatngaetthrngphraeyaw aelakthrngyudmninaenwkhiddngklawtlxdchwngphrachnmchiphkhxngphraxngkh aetinthangptibtiphraxngkhklbimsamarththicakxihekidkarptirupkhunid 3 bukhkhlxunechn esbasetiyn ohes ed khawaol ex emol naykrthmntriaehngoprtueks ichkareruxngpyyaimaetechphaaephuxkarptirupethann aetrwmipthungkarsrangesrimkhumxanac bxnthalayfaytrngkham prabpramkarwiphakswicarn karaeswnghaphlpraoychncakxananikhm aelakarrwbrwmxanacaelaphlpraoychnswntninrthchati aekikhrthbalkhxngrthtang inyuorptxbsnxngtxyukheruxngpyyaaetktangknip infrngessthisungrthbalidthakartxtankareruxngpyya khnathiehlankprchyatangtxsukbkarpidknkhawsarkhxngrth aetinxngkvs rthbalwangtweminechytxkareruxngpyyaxyangirktam rthinyuorpthimiphupkkhrxngthrngxanachruxthieriykodynkprawtisastrwa pramukhphuthrngphumithrrm xngkvs Enlightened despots phrapramukhehlanitangtxnrbaenwkhidkhxngyukheruxngpyyaepnxyangdiinrachsank aelayngchwywangaephnkaraelakdhmayephuxthicaptiruprabxbkarpkkhrxngkhxngpraeths rwmipthungkarsrangkhumxanacaelakhwammnkhngihaekrthkhxngtn 4 phraecafridrichmharachaehngprsesiy phukhrxngrachychwngpi ph s 2283 ph s 2329 thrngsnphrathyinaenwkhidkhxngfrngessepnxyangmak wxlaetrphusungthukcxngcaaelatharunodyrthbalfrngessprarthnaxyangmakthicatxbrbkhaechiykhxngphraecafridrichmharach odyekhathukechiyihipphankyngphrarachwnginprsesiy phraecafridrichtrswa phnthkichlkkhxngkhaphecakhuxkartxsukbkhwamongekhlaaelakhwamxyutithrrm ephuxbxkaecngaekcit plukfngsilthrrm aelathaihphukhnmikhwamsukhmakthisudethathimncaehmaasmkbthrrmchatikhxngmnusyaelamakethathikhaphecaprasngkhcaihmi 5 smedcphraecakarolsthi 3 aehngsepn phukhrxngrachychwngpi ph s 2302 ph s 2331 thrngphyayamthicakxbkuckrwrrdikhxngphraxngkhcakkhwamesuxmothrmdwykarptirupsungmixiththiphlaephkhyayipthwxanackr chwyldthxnxanackhxngsasnckraelaehlaecakhunmulnay snbsnunwithyasastraelakarwicyinmhawithyaly sngesrimkarkhaaelakarphanichy phthnakarekstrkrrmaelahlikeliyngkarkxsngkhram thaihsepnruxfunkhwamyingihyidhlngcakkarswrrkhtkhxngphraxngkh 6 smedcphrackrphrrdinieykaecrinathi 2 aehngrsesiy phukhrxngrachychwngpi ph s 2305 ph s 2339 kthrnghlngihlinaenwkhidyukheruxngpyya ckrphrrdioyesfthi 2 aehngormnxnskdisiththi thrnghlngihlinaenwkhidnicnmakekinkhwr dngcaehnidcakkarthiphraxngkhthrngprakaskarptirupxxkmanbkhrngimthwn hakaetkarptirupthnghmdehlannlwnaetsrangkhwamepliynaeplngihekidkhunephiyngelknxyaekpraeths cnklaymaepneruxngkhbkhnkhxngprachachninkhwamlmehlwdngklaw 7 nxkcakniaenwkhidkhxngkareruxngpyyayngmixiththiphlxyangmakthnginoprtueksaelaednmarkphramhakstriythiekiywkhxng aekikh caksayipkhwa ckrphrrdinieykaecrinathi 2 aehngrsesiy 8 phraecakarolsthi 3 aehngsepn 9 phraecakustafthi 3 aehngswiedn 10 phraecafridrichmharachaehngprsesiy 11 phraecaefredxrikthi 6 aehngednmark 12 caksayipkhwa ckrphrrdioyesfthi 2 aehngormnxnskdisiththi 13 ckrphrrdilioxophldthi 2 aehngormnxnskdisiththi 14 phraecahluysthi 16 aehngfrngess 15 maeriyaekhorilnaaehngxxsetriy smedcphrarachiniaehngenepils 16 ckrphrrdinopeliynthi 1 aehngfrngess txngkarxangxing xangxing aekikh A Lentin ed Enlightened Absolutism 1760 1790 Avero 1985 p ix Charles Ingrao The Problem of Enlightened Absolutism and the German States Journal of Modern History Vol 58 Supplement Politics and Society in the Holy Roman Empire 1500 1806 Dec 1986 pp S161 S180 in JSTOR H M Scott ed Enlightened Absolutism Reform and Reformers in Later Eighteenth Century Europe University of Michigan Press 1990 Stephen J Lee Aspects of European history 1494 1789 1990 pp 258 66 Giles MacDonogh Frederick the Great A Life in Deed and Letters 2001 p 341 Nicholas Henderson Charles III of Spain An Enlightened Despot History Today Nov 1968 Vol 18 Issue 10 p673 682 and Issue 11 pp 760 768 Nicholas Henderson Joseph II History Today March 1991 41 21 27 McKay A History of Western Society Houghton Mifflin Company 2006 p 616 619 H M Scott 1990 p 1 H Arnold Barton Scandinavia in the Revolutionary Era 1760 1815 University of Minnesota Press 1986 p 142ff ISBN 0 8166 1392 3 H M Scott 1990 p 265ff H Arnold Barton Scandinavia in the Revolutionary Era 1760 1815 University of Minnesota Press 1986 p 142ff ISBN 0 8166 1392 3 H M Scott 1990 p 1 H M Scott 1990 p 1 H M Scott 1990 p 1 Bearne Catherine Mary 1907 A Sister of Marie Antoinette The Life Story of Maria Carolina Queen of Naples T Fisher Unwin London p 142 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title smburnayasiththirachyxnthrngphumithrrm amp oldid 8403082, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม