fbpx
วิกิพีเดีย

สสารมืด

สสารมืด (อังกฤษ: dark matter) สสารมืดคือสสารในจักรวาลที่เรามองไม่เห็นแต่รู้ว่ามีอยู่ เพราะอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงของมันต่อสสารปกติในกาแล็กซี่ สสารมืดเป็นองค์ประกอบในอวกาศชนิดหนึ่งซึ่งเป็นเพียงสมมุติฐานทางด้านฟิสิกส์ดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยา ว่ามันเป็นสสารซึ่งไม่สามารถส่องแสงหรือสะท้อนแสงได้เพียงพอที่ระบบตรวจจับการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะสามารถตรวจจับได้โดยตรง แต่การมีอยู่ของมันศึกษาได้จากการสำรวจทางอินฟราเรดจากผลกระทบของแรงโน้มถ่วงรวมที่มีต่อวัตถุท้องฟ้าที่เรามองเห็น จากการสังเกตการณ์โครงสร้างขนาดใหญ่ในอวกาศที่ใหญ่กว่าดาราจักรในปัจจุบัน ตลอดจนถึงทฤษฎีบิกแบง นับได้ว่าสสารมืดเป็นส่วนประกอบของมวลจำนวนมากในเอกภพในสังเกตการณ์ของเรา ปรากฏการณ์ที่ตรวจพบอันเกี่ยวข้องกับสสารมืด เช่น ความเร็วในการหมุนตัวของดาราจักร ความเร็วในการโคจรของดาราจักรในกระจุกดาราจักร รวมถึงการกระจายอุณหภูมิของแก๊สร้อนในดาราจักรและในคลัสเตอร์ของดาราจักร สสารมืดยังมีบทบาทอย่างมากในการก่อตัวและการพัฒนาการของดาราจักร ผลการศึกษาด้านต่างๆ ล้วนบ่งชี้ว่า ในกระจุกดาราจักรและเอกภพโดยรวม ยังคงมีสสารชนิดอื่นอีกนอกเหนือจากสิ่งที่ตอบสนองต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เรียกสสารโดยรวมเหล่านั้นว่า "สสารมืด"

สสารปกติจะถูกตรวจจับได้จากการแผ่พลังงานออกมา เนบิวลา กาแล็กซี ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ต้นไม้ หรือแม้กระทั่งจุลชีพเล็กๆ จะถูกตรวจจับได้จากรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมา ทว่าสสารมืดจะไม่แผ่พลังงานเพียงพอที่จะตรวจจับได้โดยตรง นักวิทยาศาสตร์รู้ว่าในจักรวาลมีสสารมืดตั้งแต่ปี 1933 เมื่อ ฟริตซ์ ซวิคกี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของสถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย ศึกษากระจุกกาแล็กซีโคมา โดยวัดมวลทั้งหมดของกระจุกกาแล็กซีนี้บนพื้นฐานการศึกษาการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีบริเวณขอบของกระจุกกาแล็กซี

สสารมืด มีมวลมากกว่าที่มองเห็น จากการประมาณค่าพบว่าการแผ่รังสีทั้งหมดในจักรวาลพบว่า 4% เป็นของวัตถุที่สามารถมองเห็นได้ 22% มาจากสสารมืด 74% มาจากพลังงานมืด แต่เป็นการยากมากที่จะทดสอบได้ว่าสสารมืดเกิดจากอะไร แต่เชื่อว่าน่าจะมาจากการประกอบกันของส่วนเล็ก ๆ ของ baryons จนเกิดเป็นสสารมืดขึ้น ซึ่งปัญหานี้เป็นปัญหาใหญ่ในการศึกษาด้านอนุภาคทางฟิสิกส์เนื่องจากมีมวลบางส่วนของระบบที่ศึกษาหายไป สสารมืด จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจในการศึกษาอย่างยิ่ง

ข้อมูลที่พิสูจน์ได้จากการสำรวจ

ผู้ที่เริ่มต้นที่จะพิสูจน์ว่ามีสสารมืดดำรงอยู่จริงในธรรมชาติคือ Fritz Zwicky จาก California Institute of Technology ในปี 1993 เขาตั้งทฤษฎี virial เพื่ออธิบายมวลที่มองไม่เห็นของ Coma cluster of galaxies เนื่องจากเขาพบว่ามวลที่หาได้มีค่ามากกว่ามวลที่ประมาณค่าจากวัตถุที่มองเห็นถึง 400 เท่า ทำให้เขาพบปัญหาที่สำคัญคือ การหายไปของมวลในจักรวาล เขาจึงคาดว่าต้องมีวัตถุที่มองไม่เห็นซึ่งมีขนาดมากพอจนมีผลต่อแรงโน้มถ่วงของกระจุกดาราจักร

การพิสูจน์เกี่ยวกับสสารมืดว่ามีอยู่จริงมีมากขึ้นซึ่งส่วนใหญ่มาจากการอธิบายการเคลื่อนที่ของดาราจักร ซึ่งดูเหมือนจะมีรูปแบบที่แน่นอน จาก virial theorem พบว่าพลังงานจลน์รวมจะมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของพลังงานจากแรงโน้มถ่วง แต่จากการคาดการทางทฤษฏีเมื่อเปรียบเทียบกับการสำรวจพบว่าดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากศูนย์กลางของดาราจักรมีความเร็วมากกว่าที่ทำนายไว้ในทฤษฏี ซึ่งจากทฤษฎีคำนวณพลังงานจากแรงโน้มถ่วงซึ่งพิจารณาจากมวลที่มองเห็นเท่านั้น ซึ่ง galactic rotation curve เป็นความสัมพันธ์ของความเร็วเชิงมุมกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของดาราจักร วัตถุที่มองเห็นเท่านั้นไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าวได้ ซึ่งถ้าประมาณคร่าว ๆ ดาราจักรมีลักษณะเป็นทรงกลมที่มีสมมาตรแล้วสสารมืด และวัตถุที่มองเห็นจะมารวมกันอยู่ตรงกลางของดาราจักร ส่วนดาราจักรที่มีดาวแคระขาวอยู่ จะแสดงคุณสมบัติที่แปลกออกไป โดยจะมีอัตราส่วนของมวลวัตถุที่มองเห็นต่อสสารมืดมีค่าน้อย ทำให้การสำรวจวัตถุที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางมาก ๆ มีผลการสำรวจแย่ลง


การศึกษากระจุกของดาราจักรด้วยเลนส์โน้มถ่วงเป็นการประมาณมวลที่มีอยู่ในกระจุกดาราจักรโดยดูจากผลการรวมแสงที่มาจากดาราจักรพื้นหลัง ดังเช่นในกระจุกดาราจักร Abell 1689 การใช้เลนส์โน้มถ่วงสามารถยืนยันถึงการมีอยู่ของมวลมากกว่าที่มองเห็นได้เพียงลำพังจากแสงของกระจุกดาราจักร ในขณะที่การสังเกตการณ์กระจุกดาราจักรหัวกระสุนก็แสดงให้เห็นว่า มีมวลสารจำนวนมามากที่ให้ผลทางเลนส์โน้มถ่วง ซึ่งแยกส่วนออกมาอย่างเด่นชัดจากผลของมวลที่แผ่รังสีเอ็กซ์ที่เรารู้จักเป็นอย่างดี

การเคลื่อนที่รอบดาราจักร

40 ปีก่อนที่ Zwicky จะเริ่มสำรวจไม่มีสิ่งใดที่จะยืนยันได้ว่า mass to light ratio มีค่าเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่หนึ่งหน่วย (ซึ่งค่า mass to light ratio ที่มีค่ามากจะเป็นสิ่งบ่งบอกได้ถึงว่ามีสสารมืดอยู่จริง) ต่อมาในปี 1960 จนถึงปี 1970 Vera Rubin นักดาราศาสตร์รุ่นใหม่ได้พบเส้น spectrograph ที่แปลกไป และสามารถวัดความเร็วที่ขอบของดาราจักรรูปก้นหอยได้ ซึ่งมีความแม่นยำสูง และเพื่อนร่วมงานของเธอ Kent Ford ได้ประกาศในงานประชุมในปี 1975 ว่าดาวส่วนใหญ่ในแกเลกซี่รูปก้นหอยมีความเร็วคร่าว ๆ ใกล้เคียงกัน แสดงให้เห็นว่าความหนาแน่ของมวลมีรูปแบบที่สม่ำเสมอแม้ดาวจะอยู่ไกลออกไป ผลดังกล่าวไม่สามารถใช้ Newtonian gravity อธิบายได้ แสดงว่าเนื่องจากต้องมีมวลเพิ่มขึ้นอีก 50% แต่ยังไม่ส่องสว่าง และทั้งคู่ยังยืนยันว่าผลการสำรวจของทั้งคู่ถูกต้องแน่นอน ในที่สุดนักดาราศาสตร์คนอื่น ๆ ก็เริ่มยืนยันว่างานของทั้งคู่เป็นจริง ทำให้ยืนยันได้ว่าต้องมีสสารมืดอยู่จริงแน่นอนและเป็นตัวที่มีผลอย่างมากกับดาราจักร ด้วย mass to light ratio ของดาวต่าง ๆ มีค่าใกล้เคียงกัน ต่อมาจึงมีการสำรวจเกี่ยวกับสสารมืดอีกมากมายจนมีสิ่งยืนยันอีกหนึ่งว่ามีสสารมืดอยู่จริงและเป็นส่วนหนึ่งของจักรวาล อีกทั้งนักดาราศาสตร์ยังพยายามที่จะแสดงว่า สสารมืดเป็นสิ่งที่สามารถบ่งบอกขนาด โครงสร้าง และรูปร่างของดาราจักรได้อีกด้วย

 
โรเตชั่นเคิร์ฟทั่วไปของดาราจักรกังหัน : ตามที่ทำนายได้ (A) และที่สังเกตการณ์ได้ (B)

ความเร็วของดาราจักร

การสำรวจของ Rubin ดำเนินต่อไป การวัด velocity curves ในดาราจักรรูปก้นหอยมีการกระจายเช่นเดียวกับดาราจักรรูปวงรี ขณะที่บางครั้งก็สามารถวัดค่าของ mass to light ratio ได้เช่นกันแต่มีค่าน้อยกว่า แสดงว่าดาราจักรรูปวงรีก็ยังคงแสดงสมบัติของสสารมืดว่ามีอยู่เช่นกัน นอกจากนั้นเมื่อวัดการแพร่ของแก๊สระหว่างดวงดาวพบว่าที่ขอบของดาราจักรพบสสารมืดกระจายอยู่และยืดไกลออกไปจากขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นได้ ไกลออกไปประมาณ สิบเท่าของรัศมีของขอบเขตที่มองเห็น ซึ่งเมื่อนำสสารมืดมาคำนวณเพิ่มเติมโดยคิดเป็น 50% ของgravitational พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับที่สำรวจได้ถึง 95%

แต่มีบางดาราจักรเช่นกันที่ไม่พบ สสารมืด หรือพบน้อยราวกับว่าไม่มีเลย แต่ในบางครั้งความเร็วของดาวก็สามารถบ่งบอกว่ามี สสารมืด ได้เช่นกัน

ในปี 2005 นักดาราศาสตร์จาก Cardiff University กล่าวว่ามีการค้นพบดาราจักรที่เต็มไปด้วยสสารมืดเกือบทั้งหมดของดาราจักร ห่างออกไปประมาณ 50 ล้านปีแสงใน Virgo Cluster ชื่อว่า VIRGOHI21 ซึ่งแทบจะไม่ปรากฏวัตถุที่มองเห็นได้เลย ซึ่งอ้างอิงจากการศึกษาคลื่นวิทยุที่ส่งออกไปเพื่อสำรวจไฮโดรเจน นักวิทยาศาสตร์จึงประมาณค่าของ สสารมืด ว่ามีมากกว่าไฮโดรเจนประมาณ 1000 เท่า เทียบเป็น 1/10 ของมวลทั้งหมดของดาราจักรทางช้างเผือก จากการเปรียบเทียบคร่าว ๆ พบว่าหากนำสสารมืดมาประมาณร่วมกับวัตถุที่มองเห็นได้ในดาราจักรทางช้างเผือกจะมีมวลเพิ่มขึ้น 10 เท่า จากแนวคิดของทฤษฎี Big Bang เสนอว่าจะมีดาราจักรที่มองไม่เห็นเกิดขึ้นสม่ำเสมอในจักรวาล ยังไม่สามารถตรวจจับได้ แต่การมีอยู่นั้นได้รับการยอมรับเนื่องจากการมีอยู่ของสสารมืดนั่นเอง

กลุ่มของดาราจักรและเลนส์โน้มถ่วง

 
เลนส์โน้มถ่วงขนาดใหญ่ตามที่สังเกตการณ์ได้ด้วยกล้องโทรทรรศน์ฮับเบิล ใน Abell 1689 บ่งชี้ถึงการมีอยู่ของสสารมืด Credits: NASA/ESA

Dark matter มีผลต่อกระจุกดาราจักรอย่างชัดเจน การวัด x-ray จากกลุ่มแก๊สมีค่าใกล้เคียงกับค่าของ mass to light ratioที่ Zwicky คำนวณไว้มีค่าตั้งแต่ 1-10 การทดลองหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวกับการวัดรังสี X ซึ่งเป็นอิสระกับมวล

Abell 2029 เป็นกระจุกดาราจักรที่ประกอบด้วยดาราจักรรวมกันประมาณ 1000 ดาราจักร กลุ่มแก๊สร้อน และ สสารมืด ซึ่งมีมวลรวมประมาณ 1014 เท่าของดวงอาทิตย์ ตรงกลางของกระจุกดาราจักรมีลักษณะเป็นวงรี และมาจากการรัวมกันของดาราจักรเล็ก ๆ มากมาย และการวัดความเร็วของวงโคจรของดาราจักรก็สอดคล้องกับการสำรวจของสสารมืด

เครื่องมือที่สำคัญในการสำรวจสสารมืดในอนาคตคือ เลนส์โน้มถ่วง โดยเชื่อว่าเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับมวลโดยไม่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ ซึ่งมี 2 แบบคือแบบแรงและแบบอ่อน สำหรับแบบแรงจะทำให้เกิดการบิดเบี้ยวของดาราจักรเมื่อแสงผ่านไปเล็กน้อยก็จะเกิดการรวมกัน เมื่อใช้หลักทางเรขาคณิตก็จะได้ค่า mass to light ratio ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสสารมืด

แรงแบบอ่อนถูกพัฒนามาก่อนประมาณ 10 ปีซึ่งเป็นการดูการผิดรูปของดาราจักรในมุมมองกว้าง ๆ คือดูโดยรวมทั้งดาราจักรแล้วนำหลักทางสถิติมาวิเคราะห์การกระจายตัวของสสารมืด และหาค่า mass to light ratio เพื่อทำนายขนาดของดาราจักรได้

จากการสำรวจทางตรงส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักจะศึกษาในกระจุกของดาราจักร ซึ่งมักจะพบวัตถุที่มองเห็นได้และสสารมืดอยู่ร่วมกันและคาดว่ามีความสัมพันธ์ในแง่ของแรงโน้มถ่วง และเมื่อเกิดการชนกันของดาราจักรเป็นเหตุให้เกิดการแยกกันของสสารมืด and baryonic matter เมื่อใช้การวิเคราะห์ทางรังสีเอกซ์สามารถแสดงสมบัติได้มากที่สุดเพียงแค่ของbaryonic matter ได้(ในรูปแบบของกลุ่มแก๊สหรือพลาสมาอุณภูมิประมาณ 107-108 เคลวิน) ซึ่งจะอยู่ตรงใจกลางของระบบพอดี ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคแก๊สกับแรงทางแม่เหล็กไฟฟ้า คือ อนุภาคแก๊สจะวิ่งช้าลงเมื่อเจอกับแรงทางแม่เหล็กไฟฟ้าและจะช้าลงเรื่อย ๆ เมื่อใกล้จะถึงจุดที่จะชนกัน อย่างไรก็ตามถ้าใช้เลนส์แบบอ่อนไปทดสอบกับระบบเดียวกัน เลนส์แบบอ่อนจะสามารถเจอมวลซึ่งอยู่ตรงกลางของกลุ่มแก๊สด้วย เนื่องจากสสารมืดไม่ทำปฏิกิริยากับแรงทางแม่เหล็กแต่จะมีผลต่อแรงโน้มถ่วง ทำให้เป็นอีกเครื่องมือในการตรวจสอบหาสสารมืด

โครงสร้าง

จากทฤษฎีบิ๊กแบง สสารมืดถือว่ามีบทบาทสำคัญอย่างมากและมีความสัมพันธ์โดยตรงกับตัวแปรของ Friedmann Cosmology ซึ่งเป็นคำตอบที่รู้จักกันทั่วไป โดยเฉพาะเมื่อวัดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในจักรวาลวัตถุดังกล่าวทำปฏิกิริยากับโฟตอนน้อยกว่าการที่แสงทำปฏิกิริยากับ baryonic matter แต่ในทำนองเดียวกันโดยรวมแล้ว non-baryonic matter ซึ่งเป็น cold matter เป็นส่วนประกอบสำคัญและกระจายอยู่ทั่วของจักรวาล

จากการสังเกตของนักวิทยาศาสตร์ทำให้มีข้อเสนอเกี่ยวกับโครงสร้างของจักรวาลค่อยๆพัฒนาเป็นลำดับขั้น เริ่มจากการที่สว่างขึ้นของ baryonic matter เนื่องจากแรงโน้มถ่วงและการหดตัวทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคียร์ขึ้น ปกติ baryonic matter มีอุณหภูมิและความดันสูงหลังจากการระเบิดของ Big Bang และรวมตัวขึ้นจากโครงสร้างเล็ก ๆ สสารมืดนั้นเป็นส่วนของแข็ง โมเดลดังกล่าวขัดแย้งกับการสำรวจวัตถุที่เปล่งแสงแต่สอดคล้องกับการทำนายสมบัติของสสารมืดจากรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล

โครงสร้างของสสารมืดในทฤษฎีดังกล่าวเป็นการรวมตัวของ cold matter ซึ่งจากการคำนวณโดยละเอียดแล้วให้ผลการคำนวณสอดคล้องกับโมเดลดังกล่าว เช่น Slogan Digita Sky Survey และ 2dF Galaxy Redshift Survey ที่แสดงว่าจักรวาลสร้างมาจาก baryon และ สสารมืด

องค์ประกอบของ สสารมืด

แม้ว่าสสารมืดจะถูกค้นพบจากการใช้เลนส์โน้มถ่วงตั้งแต่ปี 2006 และอีกหลาย ๆ แง่มุมทางทฤษฎี การทดลองที่อ้างถึงการเดินทางของสสารมืดผ่านโลก ก็ยังเป็นข้อสงสัยของนักวิทยาศาสตร์อยู่ เนื่องจากผลจากการทดลองยังไม่สามารถยืนยันได้อย่างแน่ชัด จากผลของ DAMA สสารมืด ประกอบด้วย neutralinos และเมื่อใช้เลนส์โน้มถ่วงและการใช้วิธีต่าง ๆ พบว่ามวลในจักรวาล 85-90% ไม่ทำปฏิกิริยากับแรงทางแม่เหล็กไฟฟ้า จึงได้มีการตั้งสมมุติฐานว่า สสารมืด สามารถแบ่งได้ 3 แบบคือ

  • สสารมืดแบบร้อน
  • สสารมืดแบบอุ่น
  • สสารมืดแบบเย็น

การแบ่งแต่ละแบบเป็นไปตามความผันผวนของเส้นสเปกตรัม ถ้าสสารมืดประกอบด้วยอนุภาคของแสงมากมายซึ่งเชื่อว่าต้องมีความสัมพันธ์กับการเกิดขึ้นของสสารมืด ในพจน์ ‘HOT’ สสารมืดแบบร้อน ประกอบขึ้นมาจาก neutrino ที่มีพลังงานสูงความเร็วสูง ทำให้มีอุณภูมิสูง สสารมืดแบบอุ่นประกอบด้วยอนุภาค neutrino เช่นกันแต่มีความเร็วน้อยกว่า ทำให้มีอุณภูมิที่เย็นลงมา ส่วนในพจน์ สสารมืดแบบเย็น(Cold Dark Matter: CDM) เป็นอนุภาคที่พบมากที่สุด

สสารมืดแบบร้อน ประกอบด้วยอนุภาคที่มีความเร็วสูง เป็น neutrino ซึ่ง neutrino เป็นอนุภาคที่มีมวลน้อยและไม่ทำปฏิกิริยากับแรงแม่เหล็กไฟฟ้า หรือแรงนิวเคลียร์อย่างแรง ดังนั้นการที่จะตรวจจับอนุภาคดังกล่าวเป็นไปได้ยากมาก และยังมีข้อจำกัดอีกอย่างหนึ่งคือมีความหนาแน่นน้อย จึงเป็นข้อจำกัดว่าอนุภาคดังกล่าวไม่สามารถรวมตัวกันได้เนื่องจากมีพลังงานสูง และสสารมืดแบบร้อน ไม่สามารถอธิบายทฤษฎีบิ๊กแบงด้วยตัวมันเองได้ จากการวัดคลื่นไมโครเวฟจาก COBE, WMAPได้ผลการสำรวจที่เหลือเชื่อคืออนุภาคดังกล่าวสามารถจับกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ได้ แต่ เนื่องจากเป็นอนุภาคที่เล็กและมีความเร็วสูงจึงไม่สามารถจับกันเป็นก้อนใหญ่ได้ แต่ก็ยัง ยืนยันว่ามี สสารมืด ในรูปแบบของ neutrino อยู่จริง

 
ประมาณการสัดส่วนของสสารมืดและพลังงานมืดในเอกภพ

ส่วน สสารมืด ที่มีความสอดคล้องกับการค้นพบต่าง ๆ คือ สสารมืดแบบเย็น เป็นวัตถุที่มีมวลมาก ใกล้เคียงกับมวลของจักรวาล โอกาสที่จะเกิดคือการที่ baryonic matter ประกอบด้วยมวลที่อัดแน่นสีน้ำตาลเป็นของแข็ง หนา และประกอบด้วยธาตุหนัก (MACHOs) แต่นักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า MACHOs เป็นเพียงส่วนเล็ก ๆ ของ สสารมืด เท่านั้น ขณะนี้เชื่อว่าแรกเริ่ม สสารมืด ประกอบด้วย non-baryonic ซึ่งประกอบมาจากอนุภาคที่แตกต่างจากอนุภาคปกติคือ อิเล็กตรอน นิวตรอน และโปรตอน หรือที่รู้จักในชื่อ นิวตริโน จึงมีการเสนอการวัดอนุภาคอีกแบบหนึ่งเรียกว่า WIMPs(Weakly Interact Massive Particles ,including neutralinos) ซึ่งเป็นโมเดลที่ใช้หา สสารมืด ในปัจจุบัน

การตรวจจับสสารมืด

จากการทำนายทางดาราศาสตร์ ถ้าสสารมืดเกิดมาจาก WIMPs แสดงว่าต้องมี WIMPsซึ่งน่าจะผ่านโลกเป็นล้าน ล้าน อนุภาคใน 1 วินาที แต่ก็ยังไม่สามารถตวรจจับได้ การทดลองที่ค้นหาอนุภาคดังกล่าว แบ่งเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วยการตรวจจับโดยตรง และการตรวจจับทางอ้อม การตรวจจับโดยตรงเป็นการตรวจจับทางธรรมชาติแต่ยังไม่มีการทดลองใด ๆ ยืนยันการตรวจจับดังกล่าวได้เนื่องจากการที่จะตรวจจับ WIMPsและ axions เป็นไปได้ยากมาก ถึงแม้จะตรวจจับจากกลุ่มดาวที่ระบุว่ามีสสารมืดแน่นอน แต่ก็ยังไม่มีผลการทดลองใดถูกยืนยันว่าตรวจจับได้

ส่วนการตรวจจับทางอ้อมเป็นไปโดยการสร้าง WIMPs ในห้องปฏิบัติการ ในขณะนี้มีห้องปฏิบัติการอยู่หลายที่เช่น แต่ WIMPsเป็นอนุภาคที่กระทำปฏิกิริยากับวัตถุน้อยมาก มากตรวจจับจึงต้องใช้ความรู้ด้านพลังงานและโมเมนตัมที่หายไปเพื่อมาอธิบายว่าเกิด WIMPs ขึ้น ซึ่งถ้าสามารถตรวจจับได้แสดงว่ามีสสารมืดอยู่จริง

มีห้องปฏิบัติการที่ค้นหาอนุภาคดังกล่าวมากมายเช่น The Cryogenic Dark Matter Search, ใน Soudan Mine in Minnesota พยายยามที่จะหาอนุภาคจากการให้ความร้อนขณะที่เย็นยิ่งยวดของเจอร์เมเนียนและผลึกซิลิกอน ซึ่งคาดว่าจะปล่อย WIM ออกมา P. The Gran Sasso National Laboratory at L'Aquila, in Italy, ใช้ xenon ในการวัดแสงที่สว่างออกมาเมื่อ WIMP ชน xenon nucleus. ผลในปี 2007, ใช้ 15 kg แก๊สซีนอนหลอมเหลวแต่ผลที่ได้ล้มเหลวเพราะไม่สามารถจับอนุภาคใด ๆ ได้เลย ในปี2008 จะเพิ่มแก๊สเหลวเป็น 150 kg

และนักวิทยาศาสตร์ยังค้นคว้าจากทฤษฎีต่าง ๆ อีกมากมายแต่ก็ยังตรวจจับ WIMPs ไม่ได้และคาดว่าจะจับได้ในอนาคต


คำอธิบายอื่น

การเปลี่ยนแปลงแรงโน้มถ่วง

ทางเลือกในการเสนอสมบัติทางกายภาพของอนุภาคที่เป็นสสารมืด ถูกสมมุติขึ้นแต่ค่าที่ได้จากการสำรวจยังไม่สอดคล้องกับสิ่งที่สมมุติขึ้นเพราะความเข้าใจเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงยังไม่สมบูรณ์ เพื่อจะอธิบายให้ดียิ่งขึ้น แรงโน้มถ่วงที่ได้จากการสำรวจต้องมีค่ามากกว่า Newtonian มาก ๆ หนึ่งในทฤษฎีที่นำมาใช้คือ Modified Newtonian Dynamics(MOND) ซึ่งเป็นการพิจารณากฎนิวตันพื้นฐานด้วนความเร่งที่มีค่าน้อย ๆอย่างไรก็ตามโครงสร้างความสัมพันธ์ของ MOND นั้นคำนวณยากมากอีกทั้งยังมีข้อจำกัดบางอย่างที่ไม่สามารถอธิบายได้เช่น การเคลื่อนที่ของแสงผ่านเลนส์โน้มถ่วงแล้วหักเหไปรอบ ๆ ดาราจักร แต่ MOND ก็เป็นแนวคิดเริ่มต้นทำให้มีการพัฒนาต่อมา Jacob Bekenstein ได้สร้างทฤษฎีใหม่ขึ้นคือ Tensor-Vector-Scalar เรียกอีกอย่างว่า TeVeS ซึ่งสามารถแก้ปัญหาที่กล่าวมาแล้วได้ อย่างไรก็ตามก็มีการสำรวจต่อมาในปี 2006 ศึกษาการชนกันของดาราจักรแต่ผลที่ได้ยังไม่สามารถใช้ทฤษฎีนี้อธิบายได้ และในปี 2007 John W. Moffatt ก็เสนอทฤษฎี MOG(modified gravity) ซึ่งสามารถอธิบายการชนกันของดาราจักรได้

การอธิบายด้วยกลศาสตร์ควอนตัม

เราสามารถใช้ทฤษฎีควันตัมมาช่วยอธิบายในทฤษฎี Scalar-Tensor ซึ่ง scalar field เหมือนกับ Higgs field ส่วนในทฤษฎีอื่น ๆ scalar field เหมือน inflation field (พองลม) ซึ่ง inflation field มีส่วนสำคัญในการอธิบายในทฤษฎีบิ๊กแบง ซึ่งเป็นตัวควบคุม dark energy และมวลสาร ทฤษฎีควันตัมจึงเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยหาคำตอบได้ในบางทฤษฎี

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Video of Dark Matter

สสารม, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อควา. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ssarmud xngkvs dark matter ssarmudkhuxssarinckrwalthieramxngimehnaetruwamixyu ephraaxiththiphlcakaerngonmthwngkhxngmntxssarpktiinkaaelksi ssarmudepnxngkhprakxbinxwkaschnidhnungsungepnephiyngsmmutithanthangdanfisiksdarasastraelackrwalwithya wamnepnssarsungimsamarthsxngaesnghruxsathxnaesngidephiyngphxthirabbtrwccbkaraephrngsikhxngkhlunaemehlkiffacasamarthtrwccbidodytrng aetkarmixyukhxngmnsuksaidcakkarsarwcthangxinfraerdcakphlkrathbkhxngaerngonmthwngrwmthimitxwtthuthxngfathieramxngehn cakkarsngektkarnokhrngsrangkhnadihyinxwkasthiihykwadarackrinpccubn tlxdcnthungthvsdibikaebng nbidwassarmudepnswnprakxbkhxngmwlcanwnmakinexkphphinsngektkarnkhxngera praktkarnthitrwcphbxnekiywkhxngkbssarmud echn khwamerwinkarhmuntwkhxngdarackr khwamerwinkarokhcrkhxngdarackrinkracukdarackr rwmthungkarkracayxunhphumikhxngaeksrxnindarackraelainkhlsetxrkhxngdarackr ssarmudyngmibthbathxyangmakinkarkxtwaelakarphthnakarkhxngdarackr phlkarsuksadantang lwnbngchiwa inkracukdarackraelaexkphphodyrwm yngkhngmissarchnidxunxiknxkehnuxcaksingthitxbsnxngtxkhlunaemehlkiffa eriykssarodyrwmehlannwa ssarmud ssarpkticathuktrwccbidcakkaraephphlngnganxxkma enbiwla kaaelksi dawvks dawekhraah tnim hruxaemkrathngculchiphelk cathuktrwccbidcakrngsiaemehlkiffachnididchnidhnungthiaephxxkma thwassarmudcaimaephphlngnganephiyngphxthicatrwccbidodytrng nkwithyasastrruwainckrwalmissarmudtngaetpi 1933 emux frits swikhki nkfisiksdarasastrkhxngsthabnethkhonolyiaehngaekhlifxreniy suksakracukkaaelksiokhma odywdmwlthnghmdkhxngkracukkaaelksinibnphunthankarsuksakarekhluxnthikhxngkaaelksibriewnkhxbkhxngkracukkaaelksissarmud mimwlmakkwathimxngehn cakkarpramankhaphbwakaraephrngsithnghmdinckrwalphbwa 4 epnkhxngwtthuthisamarthmxngehnid 22 macakssarmud 74 macakphlngnganmud aetepnkaryakmakthicathdsxbidwassarmudekidcakxair aetechuxwanacamacakkarprakxbknkhxngswnelk khxng baryons cnekidepnssarmudkhun sungpyhaniepnpyhaihyinkarsuksadanxnuphakhthangfisiksenuxngcakmimwlbangswnkhxngrabbthisuksahayip ssarmud cungepnsingthinasnicinkarsuksaxyangying enuxha 1 khxmulthiphisucnidcakkarsarwc 2 karekhluxnthirxbdarackr 2 1 khwamerwkhxngdarackr 2 2 klumkhxngdarackraelaelnsonmthwng 2 3 okhrngsrang 3 xngkhprakxbkhxng ssarmud 4 kartrwccbssarmud 5 khaxthibayxun 5 1 karepliynaeplngaerngonmthwng 5 2 karxthibaydwyklsastrkhwxntm 6 aehlngkhxmulxunkhxmulthiphisucnidcakkarsarwc aekikhphuthierimtnthicaphisucnwamissarmuddarngxyucringinthrrmchatikhux Fritz Zwicky cak California Institute of Technology inpi 1993 ekhatngthvsdi virial ephuxxthibaymwlthimxngimehnkhxng Coma cluster of galaxies enuxngcakekhaphbwamwlthihaidmikhamakkwamwlthipramankhacakwtthuthimxngehnthung 400 etha thaihekhaphbpyhathisakhykhux karhayipkhxngmwlinckrwal ekhacungkhadwatxngmiwtthuthimxngimehnsungmikhnadmakphxcnmiphltxaerngonmthwngkhxngkracukdarackrkarphisucnekiywkbssarmudwamixyucringmimakkhunsungswnihymacakkarxthibaykarekhluxnthikhxngdarackr sungduehmuxncamirupaebbthiaennxn cak virial theorem phbwaphlngnganclnrwmcamikhaepnkhrunghnungkhxngphlngngancakaerngonmthwng aetcakkarkhadkarthangthvstiemuxepriybethiybkbkarsarwcphbwadawekhraahthixyuhangcaksunyklangkhxngdarackrmikhwamerwmakkwathithanayiwinthvsti sungcakthvsdikhanwnphlngngancakaerngonmthwngsungphicarnacakmwlthimxngehnethann sung galactic rotation curve epnkhwamsmphnthkhxngkhwamerwechingmumkbrayahangcakcudsunyklangkhxngdarackr wtthuthimxngehnethannimsamarthxthibaypraktkarndngklawid sungthapramankhraw darackrmilksnaepnthrngklmthimismmatraelwssarmud aelawtthuthimxngehncamarwmknxyutrngklangkhxngdarackr swndarackrthimidawaekhrakhawxyu caaesdngkhunsmbtithiaeplkxxkip odycamixtraswnkhxngmwlwtthuthimxngehntxssarmudmikhanxy thaihkarsarwcwtthuthixyuhangcakcudsunyklangmak miphlkarsarwcaeylngkarsuksakracukkhxngdarackrdwyelnsonmthwngepnkarpramanmwlthimixyuinkracukdarackrodyducakphlkarrwmaesngthimacakdarackrphunhlng dngechninkracukdarackr Abell 1689 karichelnsonmthwngsamarthyunynthungkarmixyukhxngmwlmakkwathimxngehnidephiynglaphngcakaesngkhxngkracukdarackr inkhnathikarsngektkarnkracukdarackrhwkrasunkaesdngihehnwa mimwlsarcanwnmamakthiihphlthangelnsonmthwng sungaeykswnxxkmaxyangednchdcakphlkhxngmwlthiaephrngsiexksthieraruckepnxyangdikarekhluxnthirxbdarackr aekikh40 pikxnthi Zwicky caerimsarwcimmisingidthicayunynidwa mass to light ratio mikhaepnxyangxunthiimichhnunghnwy sungkha mass to light ratio thimikhamakcaepnsingbngbxkidthungwamissarmudxyucring txmainpi 1960 cnthungpi 1970 Vera Rubin nkdarasastrrunihmidphbesn spectrograph thiaeplkip aelasamarthwdkhwamerwthikhxbkhxngdarackrrupknhxyid sungmikhwamaemnyasung aelaephuxnrwmngankhxngethx Kent Ford idprakasinnganprachuminpi 1975 wadawswnihyinaekelksirupknhxymikhwamerwkhraw iklekhiyngkn aesdngihehnwakhwamhnaaenkhxngmwlmirupaebbthismaesmxaemdawcaxyuiklxxkip phldngklawimsamarthich Newtonian gravity xthibayid aesdngwaenuxngcaktxngmimwlephimkhunxik 50 aetyngimsxngswang aelathngkhuyngyunynwaphlkarsarwckhxngthngkhuthuktxngaennxn inthisudnkdarasastrkhnxun kerimyunynwangankhxngthngkhuepncring thaihyunynidwatxngmissarmudxyucringaennxnaelaepntwthimiphlxyangmakkbdarackr dwy mass to light ratio khxngdawtang mikhaiklekhiyngkn txmacungmikarsarwcekiywkbssarmudxikmakmaycnmisingyunynxikhnungwamissarmudxyucringaelaepnswnhnungkhxngckrwal xikthngnkdarasastryngphyayamthicaaesdngwa ssarmudepnsingthisamarthbngbxkkhnad okhrngsrang aelaruprangkhxngdarackridxikdwy oretchnekhirfthwipkhxngdarackrknghn tamthithanayid A aelathisngektkarnid B khwamerwkhxngdarackr aekikh karsarwckhxng Rubin daenintxip karwd velocity curves indarackrrupknhxymikarkracayechnediywkbdarackrrupwngri khnathibangkhrngksamarthwdkhakhxng mass to light ratio idechnknaetmikhanxykwa aesdngwadarackrrupwngrikyngkhngaesdngsmbtikhxngssarmudwamixyuechnkn nxkcaknnemuxwdkaraephrkhxngaeksrahwangdwngdawphbwathikhxbkhxngdarackrphbssarmudkracayxyuaelayudiklxxkipcakkhxbekhtkhxngwtthuthimxngehnid iklxxkippraman sibethakhxngrsmikhxngkhxbekhtthimxngehn sungemuxnassarmudmakhanwnephimetimodykhidepn 50 khxnggravitational phbwamikhaiklekhiyngkbthisarwcidthung 95 aetmibangdarackrechnknthiimphb ssarmud hruxphbnxyrawkbwaimmiely aetinbangkhrngkhwamerwkhxngdawksamarthbngbxkwami ssarmud idechnkninpi 2005 nkdarasastrcak Cardiff University klawwamikarkhnphbdarackrthietmipdwyssarmudekuxbthnghmdkhxngdarackr hangxxkippraman 50 lanpiaesngin Virgo Cluster chuxwa VIRGOHI21 sungaethbcaimpraktwtthuthimxngehnidely sungxangxingcakkarsuksakhlunwithyuthisngxxkipephuxsarwcihodrecn nkwithyasastrcungpramankhakhxng ssarmud wamimakkwaihodrecnpraman 1000 etha ethiybepn 1 10 khxngmwlthnghmdkhxngdarackrthangchangephuxk cakkarepriybethiybkhraw phbwahaknassarmudmapramanrwmkbwtthuthimxngehnidindarackrthangchangephuxkcamimwlephimkhun 10 etha cakaenwkhidkhxngthvsdi Big Bang esnxwacamidarackrthimxngimehnekidkhunsmaesmxinckrwal yngimsamarthtrwccbid aetkarmixyunnidrbkaryxmrbenuxngcakkarmixyukhxngssarmudnnexng klumkhxngdarackraelaelnsonmthwng aekikh elnsonmthwngkhnadihytamthisngektkarniddwyklxngothrthrrsnhbebil in Abell 1689 bngchithungkarmixyukhxngssarmud Credits NASA ESA Dark matter miphltxkracukdarackrxyangchdecn karwd x ray cakklumaeksmikhaiklekhiyngkbkhakhxng mass to light ratiothi Zwicky khanwniwmikhatngaet 1 10 karthdlxnghlay khrngekiywkbkarwdrngsi X sungepnxisrakbmwlAbell 2029 epnkracukdarackrthiprakxbdwydarackrrwmknpraman 1000 darackr klumaeksrxn aela ssarmud sungmimwlrwmpraman 1014 ethakhxngdwngxathity trngklangkhxngkracukdarackrmilksnaepnwngri aelamacakkarrwmknkhxngdarackrelk makmay aelakarwdkhwamerwkhxngwngokhcrkhxngdarackrksxdkhlxngkbkarsarwckhxngssarmudekhruxngmuxthisakhyinkarsarwcssarmudinxnakhtkhux elnsonmthwng odyechuxwaepnsingthimikhwamsmphnthodytrngkbmwlodyimkhunkbkarekhluxnthi sungmi 2 aebbkhuxaebbaerngaelaaebbxxn sahrbaebbaerngcathaihekidkarbidebiywkhxngdarackremuxaesngphanipelknxykcaekidkarrwmkn emuxichhlkthangerkhakhnitkcaidkha mass to light ratio sungmikhwamsmphnthkbssarmudaerngaebbxxnthukphthnamakxnpraman 10 pisungepnkardukarphidrupkhxngdarackrinmummxngkwang khuxduodyrwmthngdarackraelwnahlkthangsthitimawiekhraahkarkracaytwkhxngssarmud aelahakha mass to light ratio ephuxthanaykhnadkhxngdarackridcakkarsarwcthangtrngswnihyinpccubnmkcasuksainkracukkhxngdarackr sungmkcaphbwtthuthimxngehnidaelassarmudxyurwmknaelakhadwamikhwamsmphnthinaengkhxngaerngonmthwng aelaemuxekidkarchnknkhxngdarackrepnehtuihekidkaraeykknkhxngssarmud and baryonic matter emuxichkarwiekhraahthangrngsiexkssamarthaesdngsmbtiidmakthisudephiyngaekhkhxngbaryonic matter id inrupaebbkhxngklumaekshruxphlasmaxunphumipraman 107 108 ekhlwin sungcaxyutrngicklangkhxngrabbphxdi ptikiriyarahwangxnuphakhaekskbaerngthangaemehlkiffa khux xnuphakhaekscawingchalngemuxecxkbaerngthangaemehlkiffaaelacachalngeruxy emuxiklcathungcudthicachnkn xyangirktamthaichelnsaebbxxnipthdsxbkbrabbediywkn elnsaebbxxncasamarthecxmwlsungxyutrngklangkhxngklumaeksdwy enuxngcakssarmudimthaptikiriyakbaerngthangaemehlkaetcamiphltxaerngonmthwng thaihepnxikekhruxngmuxinkartrwcsxbhassarmud okhrngsrang aekikh cakthvsdibikaebng ssarmudthuxwamibthbathsakhyxyangmakaelamikhwamsmphnthodytrngkbtwaeprkhxng Friedmann Cosmology sungepnkhatxbthiruckknthwip odyechphaaemuxwdkhlunaemehlkiffainckrwalwtthudngklawthaptikiriyakboftxnnxykwakarthiaesngthaptikiriyakb baryonic matter aetinthanxngediywknodyrwmaelw non baryonic matter sungepn cold matter epnswnprakxbsakhyaelakracayxyuthwkhxngckrwalcakkarsngektkhxngnkwithyasastrthaihmikhxesnxekiywkbokhrngsrangkhxngckrwalkhxyphthnaepnladbkhn erimcakkarthiswangkhunkhxng baryonic matter enuxngcakaerngonmthwngaelakarhdtwthaihekidptikiriyaniwekhiyrkhun pkti baryonic matter mixunhphumiaelakhwamdnsunghlngcakkarraebidkhxng Big Bang aelarwmtwkhuncakokhrngsrangelk ssarmudnnepnswnkhxngaekhng omedldngklawkhdaeyngkbkarsarwcwtthuthieplngaesngaetsxdkhlxngkbkarthanaysmbtikhxngssarmudcakrngsiimokhrewfphunhlngkhxngckrwalokhrngsrangkhxngssarmudinthvsdidngklawepnkarrwmtwkhxng cold matter sungcakkarkhanwnodylaexiydaelwihphlkarkhanwnsxdkhlxngkbomedldngklaw echn Slogan Digita Sky Survey aela 2dF Galaxy Redshift Survey thiaesdngwackrwalsrangmacak baryon aela ssarmudxngkhprakxbkhxng ssarmud aekikhaemwassarmudcathukkhnphbcakkarichelnsonmthwngtngaetpi 2006 aelaxikhlay aengmumthangthvsdi karthdlxngthixangthungkaredinthangkhxngssarmudphanolk kyngepnkhxsngsykhxngnkwithyasastrxyu enuxngcakphlcakkarthdlxngyngimsamarthyunynidxyangaenchd cakphlkhxng DAMA ssarmud prakxbdwy neutralinos aelaemuxichelnsonmthwngaelakarichwithitang phbwamwlinckrwal 85 90 imthaptikiriyakbaerngthangaemehlkiffa cungidmikartngsmmutithanwa ssarmud samarthaebngid 3 aebbkhux ssarmudaebbrxn ssarmudaebbxun ssarmudaebbeynkaraebngaetlaaebbepniptamkhwamphnphwnkhxngesnsepktrm thassarmudprakxbdwyxnuphakhkhxngaesngmakmaysungechuxwatxngmikhwamsmphnthkbkarekidkhunkhxngssarmud inphcn HOT ssarmudaebbrxn prakxbkhunmacak neutrino thimiphlngngansungkhwamerwsung thaihmixunphumisung ssarmudaebbxunprakxbdwyxnuphakh neutrino echnknaetmikhwamerwnxykwa thaihmixunphumithieynlngma swninphcn ssarmudaebbeyn Cold Dark Matter CDM epnxnuphakhthiphbmakthisudssarmudaebbrxn prakxbdwyxnuphakhthimikhwamerwsung epn neutrino sung neutrino epnxnuphakhthimimwlnxyaelaimthaptikiriyakbaerngaemehlkiffa hruxaerngniwekhliyrxyangaerng dngnnkarthicatrwccbxnuphakhdngklawepnipidyakmak aelayngmikhxcakdxikxyanghnungkhuxmikhwamhnaaennnxy cungepnkhxcakdwaxnuphakhdngklawimsamarthrwmtwknidenuxngcakmiphlngngansung aelassarmudaebbrxn imsamarthxthibaythvsdibikaebngdwytwmnexngid cakkarwdkhlunimokhrewfcak COBE WMAPidphlkarsarwcthiehluxechuxkhuxxnuphakhdngklawsamarthcbknepnklumelk id aet enuxngcakepnxnuphakhthielkaelamikhwamerwsungcungimsamarthcbknepnkxnihyid aetkyng yunynwami ssarmud inrupaebbkhxng neutrino xyucring pramankarsdswnkhxngssarmudaelaphlngnganmudinexkphph swn ssarmud thimikhwamsxdkhlxngkbkarkhnphbtang khux ssarmudaebbeyn epnwtthuthimimwlmak iklekhiyngkbmwlkhxngckrwal oxkasthicaekidkhuxkarthi baryonic matter prakxbdwymwlthixdaennsinatalepnkhxngaekhng hna aelaprakxbdwythatuhnk MACHOs aetnkwithyasastrswnihyyngechuxwa MACHOs epnephiyngswnelk khxng ssarmud ethann khnaniechuxwaaerkerim ssarmud prakxbdwy non baryonic sungprakxbmacakxnuphakhthiaetktangcakxnuphakhpktikhux xielktrxn niwtrxn aelaoprtxn hruxthiruckinchux niwtrion cungmikaresnxkarwdxnuphakhxikaebbhnungeriykwa WIMPs Weakly Interact Massive Particles including neutralinos sungepnomedlthiichha ssarmud inpccubnkartrwccbssarmud aekikhcakkarthanaythangdarasastr thassarmudekidmacak WIMPs aesdngwatxngmi WIMPssungnacaphanolkepnlan lan xnuphakhin 1 winathi aetkyngimsamarthtwrccbid karthdlxngthikhnhaxnuphakhdngklaw aebngepn 2 swn prakxbdwykartrwccbodytrng aelakartrwccbthangxxm kartrwccbodytrngepnkartrwccbthangthrrmchatiaetyngimmikarthdlxngid yunynkartrwccbdngklawidenuxngcakkarthicatrwccb WIMPsaela axions epnipidyakmak thungaemcatrwccbcakklumdawthirabuwamissarmudaennxn aetkyngimmiphlkarthdlxngidthukyunynwatrwccbidswnkartrwccbthangxxmepnipodykarsrang WIMPs inhxngptibtikar inkhnanimihxngptibtikarxyuhlaythiechn aet WIMPsepnxnuphakhthikrathaptikiriyakbwtthunxymak maktrwccbcungtxngichkhwamrudanphlngnganaelaomemntmthihayipephuxmaxthibaywaekid WIMPs khun sungthasamarthtrwccbidaesdngwamissarmudxyucringmihxngptibtikarthikhnhaxnuphakhdngklawmakmayechn The Cryogenic Dark Matter Search in Soudan Mine in Minnesota phyayyamthicahaxnuphakhcakkarihkhwamrxnkhnathieynyingywdkhxngecxremeniynaelaphluksilikxn sungkhadwacaplxy WIM xxkma P The Gran Sasso National Laboratory at L Aquila in Italy ich xenon inkarwdaesngthiswangxxkmaemux WIMP chn xenon nucleus phlinpi 2007 ich 15 kg aekssinxnhlxmehlwaetphlthiidlmehlwephraaimsamarthcbxnuphakhid idely inpi2008 caephimaeksehlwepn 150 kgaelankwithyasastryngkhnkhwacakthvsditang xikmakmayaetkyngtrwccb WIMPs imidaelakhadwacacbidinxnakhtkhaxthibayxun aekikhkarepliynaeplngaerngonmthwng aekikh thangeluxkinkaresnxsmbtithangkayphaphkhxngxnuphakhthiepnssarmud thuksmmutikhunaetkhathiidcakkarsarwcyngimsxdkhlxngkbsingthismmutikhunephraakhwamekhaicekiywkbaerngonmthwngyngimsmburn ephuxcaxthibayihdiyingkhun aerngonmthwngthiidcakkarsarwctxngmikhamakkwa Newtonian mak hnunginthvsdithinamaichkhux Modified Newtonian Dynamics MOND sungepnkarphicarnakdniwtnphunthandwnkhwamerngthimikhanxy xyangirktamokhrngsrangkhwamsmphnthkhxng MOND nnkhanwnyakmakxikthngyngmikhxcakdbangxyangthiimsamarthxthibayidechn karekhluxnthikhxngaesngphanelnsonmthwngaelwhkehiprxb darackr aet MOND kepnaenwkhiderimtnthaihmikarphthnatxma Jacob Bekenstein idsrangthvsdiihmkhunkhux Tensor Vector Scalar eriykxikxyangwa TeVeS sungsamarthaekpyhathiklawmaaelwid xyangirktamkmikarsarwctxmainpi 2006 suksakarchnknkhxngdarackraetphlthiidyngimsamarthichthvsdinixthibayid aelainpi 2007 John W Moffatt kesnxthvsdi MOG modified gravity sungsamarthxthibaykarchnknkhxngdarackrid karxthibaydwyklsastrkhwxntm aekikh erasamarthichthvsdikhwntmmachwyxthibayinthvsdi Scalar Tensor sung scalar field ehmuxnkb Higgs field swninthvsdixun scalar field ehmuxn inflation field phxnglm sung inflation field miswnsakhyinkarxthibayinthvsdibikaebng sungepntwkhwbkhum dark energy aelamwlsar thvsdikhwntmcungepnxikekhruxngmuxhnungthichwyhakhatxbidinbangthvsdiaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ssarmudVideo of Dark Matterekhathungcak https th wikipedia org w index php title ssarmud amp oldid 8625124, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม