fbpx
วิกิพีเดีย

ปฏิกิริยาสะเทิน

ในทางเคมี ปฏิกิริยาสะเทิน (อังกฤษ: neutralization หรือ neutralisation) หรือ ปฏิกิริยาการสะเทิน หรือ ปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ ก็เรียก เป็นปฏิกิริยาเคมี ซึ่งกรดและเบสทำปฏิกิริยากันเกิดเป็นเกลือ บ่อยครั้งที่เกิดน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ด้วย แต่ไม่จำเป็นเสมอไป ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดและเบสอาร์เรเนียส จะให้น้ำด้วยเสมอ ดังสมการ

ปฏิกิริยาการสะเทินระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก อินดิเคเตอร์คือ โบรโมไทมอลบลู
YOH + HX → XY + H2O

เมื่อ Y และ X เป็นไอออนบวกและไอออนลบที่มีค่าประจุเป็น +1 และ -1 ตามลำดับ XY จะเป็นเกลือที่เกิดขึ้น ตัวอย่างปฏิกิริยารูปนี้ เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก โดยมีโซเดียมเป็น Y และคลอรีนเป็น X

HCl + NaOH → NaCl + H2O

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาข้างต้น คือ น้ำและเกลือแกงสามัญ

ปฏิกิริยาสะเทินสามารถพิจารณาได้เป็นสมการไอออนสุทธิ เช่น

H+ + OH- → H2O

การแสดงนี้คลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดี เพราะไฮโดรเจนไอออน (H+) แท้จริงแล้วมิได้เกิดขึ้นในสารละลายระหว่างปฏิกิริยาสะเทิน ที่จริงแล้ว ไฮโดรเนียมไออน (H3O+) ต่างหากที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลตามสมการด้านล่าง

H+ + H2O → H3O+

เมื่อพิจารณาไฮโดรเนียมไออน สมการไอออนสุทธิแท้จริงจะเป็น

H3O,+ + OH- → 2H2O

ในปฏิกิริยาไม่ใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย (non-aqueous) มีความเป็นไปได้น้อยว่าจะเกิดน้ำขึ้น อย่างไรก็ดี กรดกับเบสจะมีการให้โปรตอนเสมอ (ตามทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด-บาวรี) เนื่องจากมีนิยามกรดและเบสหลายอย่าง ปฏิกิริยาทั้งหลายจึงอาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาการสะเทินได้ ซึ่งทั้งหมดด้านล่างนี้อาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาสะเทินได้ตามนิยามแตกต่างกัน

HCl + NaOH → NaCl + H2O
2HCl + Mg → MgCl2 + H2
2HCO2H + MgO → Mg(HCO2)2 + H2O
HF + NH3 → NH4F

บ่อยครั้ง ปฏิกิริยาสะเทินเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก ตัวอย่างของการสะเทินแบบดูดความร้อน เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไบคาร์บอเนต (โซดาทำขนม) กับกรดน้ำส้ม (น้ำส้มสายชู)

การสะเทินหมายถึงการทำให้เป็นกลาง ในทางเคมี "เป็นกลาง" หมายถึง pH เท่ากับ 7

การนำไปใช้

  • วิธีการไทเทรตทางเคมีใช้สำหรับวิเคราะห์กรดหรือเบสเพื่อหาความเข้มข้นที่ไม่ทราบค่า สามารถใช้พีเอชมิเตอร์หรือพีเอชอินดิเคเตอร์ซึ่งแสดงจุดสะเทินโดยเปลี่ยนสีอย่างชัดเจน การคำนวณปริมาณสัมพันธ์อย่างง่ายโดยทราบปริมาตรของสารที่ต้องการทราบโมลาริตี และที่ทราบปริมาตรและโมลาริตีของสารที่เติมไป จะให้ค่าเป็นโมลาริตีของสารที่ต้องการทราบนั้น
  • กรดกระเพาะเกินในกระเพาะอาหาร (การย่อยกรด) สะเทินโดยการย่อยโซเดียมไบคาร์บอเนตหรือตัวสะเทินอื่น เช่น แอนตาซิด
  • การสะเทินนั้นยังสามารถใช้เพื่อลดความเจ็บปวดของหนามพิษจากแมลงและพืชได้ เหล็กไนผึ้งสามารถสะเทินได้ด้วยอัลคาไลน์และเหล็กไนต่อสะเทินได้ด้วยกรด (ซึ่งแท้จริงแล้วการสะเทินมิได้ลดความเจ็บปวด ความเป็นกรดในเหล็กไนมิใช่สาเหตุของการคัน แต่เป็นสารเคมีอื่นในพิษ สาเหตุที่ความเจ็บปวดลดลงนั้นเป็นผลทางจิตวิทยามากกว่า)

การคำนวณ

ในปฏิกิริยาการสะเทิน จำนวนโมลของกรดกับเบสที่ใช้นั้นต้องเท่ากัน ดังนั้น สูตรจึงเป็นดังนี้

a × [A] × Va = b × [B] × Vb

เมื่อ a เป็นจำนวนของไฮโดรเจนกรด และ b เป็นค่าคงที่ซึ่งบอกว่าเบสสามารถรับไออน H3O+ ได้มากเท่าใด [A] แทนความเข้มข้นของกรด และ [B] แทนความเข้มข้นของเบส Va คือปริมาตรของกรด และ Vb คือปริมาตรของเบส

อ้างอิง

  • Metcalf & Eddy. Wastewater Engineering, Treatment and Reuse. 4th ed. New York: McGraw-Hill, 2003. 526-532.

ปฏ, ยาสะเท, ในทางเคม, งกฤษ, neutralization, หร, neutralisation, หร, ปฏ, ยาการสะเท, หร, ปฏ, ยาลบล, างฤทธ, เร, ยก, เป, นปฏ, ยาเคม, งกรดและเบสทำปฏ, ยาก, นเก, ดเป, นเกล, อยคร, งท, เก, ดน, ำเป, นผล, ตภ, ณฑ, วย, แต, ไม, จำเป, นเสมอไป, ระหว, างกรดและเบสอาร, เรเน, ยส,. inthangekhmi ptikiriyasaethin xngkvs neutralization hrux neutralisation hrux ptikiriyakarsaethin hrux ptikiriyalblangvththi keriyk epnptikiriyaekhmi sungkrdaelaebsthaptikiriyaknekidepneklux bxykhrngthiekidnaepnphlitphnthdwy aetimcaepnesmxip ptikiriyasaethinrahwangkrdaelaebsxarereniys caihnadwyesmx dngsmkarptikiriyakarsaethinrahwangosediymihdrxkisdkbkrdihodrkhlxrik xindiekhetxrkhux obromithmxlblu YOH HX XY H2Oemux Y aela X epnixxxnbwkaelaixxxnlbthimikhapracuepn 1 aela 1 tamladb XY caepnekluxthiekidkhun twxyangptikiriyarupni echn ptikiriyarahwangosediymihdrxkisdkbkrdihodrkhlxrik odymiosediymepn Y aelakhlxrinepn X HCl NaOH NaCl H2Ophlitphnththiidcakptikiriyakhangtn khux naaelaekluxaekngsamyptikiriyasaethinsamarthphicarnaidepnsmkarixxxnsuththi echn H OH H2Okaraesdngnikhladekhluxn xyangirkdi ephraaihodrecnixxxn H aethcringaelwmiidekidkhuninsarlalayrahwangptikiriyasaethin thicringaelw ihodreniymixxn H3O tanghakthiekidkhun sungepnphltamsmkardanlang H H2O H3O emuxphicarnaihodreniymixxn smkarixxxnsuththiaethcringcaepn H3O OH 2H2Oinptikiriyaimichnaepntwthalalay non aqueous mikhwamepnipidnxywacaekidnakhun xyangirkdi krdkbebscamikarihoprtxnesmx tamthvsdikrd ebsebrinsetd bawri enuxngcakminiyamkrdaelaebshlayxyang ptikiriyathnghlaycungxacthukphicarnawaepnptikiriyakarsaethinid sungthnghmddanlangnixacthukphicarnawaepnptikiriyasaethinidtamniyamaetktangkn HCl NaOH NaCl H2O 2HCl Mg MgCl2 H22HCO2H MgO Mg HCO2 2 H2OHF NH3 NH4Fbxykhrng ptikiriyasaethinepnptikiriyakhaykhwamrxn twxyangechn ptikiriyarahwangosediymihdrxkisdkbkrdihodrkhlxrik twxyangkhxngkarsaethinaebbdudkhwamrxn echn ptikiriyarahwangosediymibkharbxent osdathakhnm kbkrdnasm nasmsaychu karsaethinhmaythungkarthaihepnklang inthangekhmi epnklang hmaythung pH ethakb 7karnaipich aekikhwithikarithethrtthangekhmiichsahrbwiekhraahkrdhruxebsephuxhakhwamekhmkhnthiimthrabkha samarthichphiexchmietxrhruxphiexchxindiekhetxrsungaesdngcudsaethinodyepliynsixyangchdecn karkhanwnprimansmphnthxyangngayodythrabprimatrkhxngsarthitxngkarthrabomlariti aelathithrabprimatraelaomlaritikhxngsarthietimip caihkhaepnomlaritikhxngsarthitxngkarthrabnn krdkraephaaekininkraephaaxahar karyxykrd saethinodykaryxyosediymibkharbxenthruxtwsaethinxun echn aexntasid karsaethinnnyngsamarthichephuxldkhwamecbpwdkhxnghnamphiscakaemlngaelaphuchid ehlkinphungsamarthsaethiniddwyxlkhailnaelaehlkintxsaethiniddwykrd sungaethcringaelwkarsaethinmiidldkhwamecbpwd khwamepnkrdinehlkinmiichsaehtukhxngkarkhn aetepnsarekhmixuninphis saehtuthikhwamecbpwdldlngnnepnphlthangcitwithyamakkwa karkhanwn aekikhinptikiriyakarsaethin canwnomlkhxngkrdkbebsthiichnntxngethakn dngnn sutrcungepndngni a A Va b B Vbemux a epncanwnkhxngihodrecnkrd aela b epnkhakhngthisungbxkwaebssamarthrbixxn H3O idmakethaid A aethnkhwamekhmkhnkhxngkrd aela B aethnkhwamekhmkhnkhxngebs Va khuxprimatrkhxngkrd aela Vb khuxprimatrkhxngebsxangxing aekikhMetcalf amp Eddy Wastewater Engineering Treatment and Reuse 4th ed New York McGraw Hill 2003 526 532 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ptikiriyasaethin amp oldid 9254390, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม