fbpx
วิกิพีเดีย

กรดน้ำส้ม

กรดน้ำส้ม หรือ กรดแอซีติก (อังกฤษ: acetic acid) หรือมีชื่อตามระบบว่า กรดเอทาโนอิก เป็นสารประกอบอินทรีย์ในสถานะของเหลวไร้สี มีสูตรเคมีว่า CH3COOH (บ้างเขียนเป็น CH3CO2H หรือ C2H4O2) น้ำส้มสายชูมีกรดแอซีติกตั้งแต่ 4% ต่อปริมาตรขึ้นไป ทำให้กรดแอซีติกเป็นส่วนประกอบหลักของน้ำส้มสายชูนอกจากน้ำ กรดแอซีติกยังมีรสเปรี้ยวและกลิ่นฉุนเฉพาะตัว นอกจากน้ำส้มสายชูในครัวเรือนแล้ว ยังมีการผลิตกรดแอซีติกเป็นสารตั้งต้นของพอลีไวนิลแอซีเตด และเซลลูโลสแอซีเตด จัดเป็นกรดอ่อนเนื่องจากแตกตัวบางส่วนในสารละลาย แต่กรดแอซีติกเข้มข้นมีฤทธิ์กัดกร่อนและสามารถระคายเคืองผิวหนังได้

กรดน้ำส้ม
ชื่อตาม IUPAC กรดแอซีติก (Acetic acid)
ชื่อเรียกตามระบบ กรดเอทาโนอิก (Ethanoic acid)
ชื่ออื่น แอซิติลไฮดรอกไซด์ (AcOH)
ไฮโดรเจนแอซิเตต (HAc)
กรดเอทิลิก
กรดมีเทนคาร์บอกซิลิก
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [64-19-7][CAS]
PubChem 176
SMILES
InChI
ChemSpider ID 171
คุณสมบัติ
สูตรโมเลกุล C2H4O2
มวลโมเลกุล 60.05 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไม่มีสี
ความหนาแน่น 1.049 g/cm3 (l)
1.266 g/cm3 (s)
จุดหลอมเหลว

16.5 °C, 290 K, 62 °F

จุดเดือด

118.1 °C, 391 K, 245 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ ผสมเข้ากันได้ดี
pKa 4.76 at 25 °C
ความหนืด 1.22 mPa·s ที่ 25 °C
โครงสร้าง
Dipole moment 1.74 D (gas)
ความอันตราย
การจำแนกของ EU Corrosive (C)
Flammable (F)
NFPA 704
2
2
2
 
R-phrases R10, R35
S-phrases (S1/2), S23, S26, S45
จุดวาบไฟ 43 °C
LD50 3310 mg/kg, oral (rat)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

กรดแอซีติกเป็นกรดคาร์บ็อกซิลิกที่เรียบง่ายที่สุดเป็นอันดับสอง (รองจากกรดฟอร์มิก) ประกอบด้วยหมู่เมทิลต่อกับหมู่คาร์บ็อกซิล กรดแอซีติกเป็นสารเคมีสำคัญและสารเคมีอุตสาหกรรม ซึ่งใช้เป็นหลักในการผลิตเซลลูโลสแอซีเตดสำหรับภาพยนตร์ภาพถ่าย พอลีไวนิลแอซีเตดสำหรับกาวทาไม้ และใยและเส้นใยสังเคราะห์ ในครัวเรือน กรดแอซีติกเจือจางใช้เป็นสารขจัดตะกรัน

การตั้งชื่อ

ชื่อสามัญ กรดแอซีติก ถูกนิยมใช้โดยนักเคมีและสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) ในขณะที่ชื่อตามระบบคือกรดเอทาโนอิก ชื่อกรดแอซีติกมีรากศัพท์มาจากคำภาษาลาติน acetum ซึ่งแปลว่าน้ำส้มสายชู กรดแกลเชียลแอซีติก เป็นชื่อสำหรับกรดแอซีติกที่ปราศจากน้ำ (anhydrous) โดยชื่อนี้ (ซึ่งความหมายคล้ายกับคำภาษาเยอรมัน Eisessig แปลว่าน้ำแข็งน้ำส้มสายชู) มาจากโครงสร้างผลึกที่มีลักษณะคล้ายน้ำแข็ง ซึ่งก่อตัวเมื่อต่ำกว่าอุณภูมิห้องเล็กน้อยที่ 16.6 องศาเซลเซียส (61.9 องศาฟาเรนไฮต์) (น้ำ 0.1% ทำให้จุดหลอมเหลวชองสารลดลง 0.2 °C)เครื่องหมายสามัญของกรดแอซีติกคือ AcOH โดยที่ Ac เป็นสัญลักษณ์แทนหมู่แอซีทิล (acetyl group) CH3−C(=O)− ในขณะที่มีคู่เบสเป็นแอซิเตตไอออน CH3COO และแทนโดย AcO (ในที่นี้ Ac ไม่ใช่สัญลักษณ์ของธาตุแอกทิเนียม) กรดแอซีติกมักที่จะถูกเขียนในโครงสร้างดังนี้ CH3–C(O)OH CH3−C(=O)OH CH3COOH และ CH3CO2Hเมื่อกล่าวถึงปฏิกิริยายาระหว่างกรดและเบส สัญลักษณ์ HAc มักที่จะถูกใช้ โดยที่ Ac แทนเป็นแอซิเตตไอออน แอซิเตตคือไอออนที่เกิดจากการที่กรดแอซีติกเสีย H+ชื่อแอซิเตตอาจเป็นเกลือที่มีแอนไอออนหรือเอสเทอร์ของกรดแอซีติก

คุณสมบัติ

ความเป็นกรด

ไฮโดรเจนอตอมในกลุ่มคาร์บอกซิล (−COOH) ในกรดคาร์บอกซิลิกเช่น กรดแอซีติก สามารถแยกตัวออกจากโมเลกุลด้วยวิธีไอออไนเซชัน (ionization):

CH3CO2H ⇌ CH3CO2 + H+

กรดแอซีติกมีความเป็นกรดเพราะสามารถแตกตัวในน้ำและให้โปรตอน (H+) กรดแอซีติกเป็นกรดอ่อนที่สามารถให้โปรตอนได้เพียงตัวเดียว (monoprotic acid) กรดแอซีติกในสารละลายมี pKa = 4.76 (ค่าคงที่การแตกตัวของกรด) คู่เบสของกรดนี้คือแอซิเตตไอออน (CH3COO) สารละลายที่มีความเข้มข้น 1.0 M (เทียบเท่ากับความเข้มข้นของน้ำส้มสายชูทั่วไป) มี pH =2.4 ซึ่งบ่งบอกว่ามีเพียงแค่ 0.4% โมเลกุลของกรดแอซีติกที่แตกตัว แต่ทว่าถ้าสารละลายมีความเข้มข้นที่ต่ำมาก (< 10−6 M) ค่าการแตกตัวของโมเลกุลกรดแอซีติกเพิ่มขึ้นมากกว่า 90%

 

 
ไซคลิกไดเมอร์ (cyclic dimer) ของกรดแอซิติก; เส้นประ สีเขียว แทนพันธะไฮโดรเจน

โครงสร้างสาร

โมเลกุลของแข็งของกรดแอซีติกก่อตัวเป็นห่วงโซ่ โดยที่โมเลกุลแต่ล่ะอันต่อกันด้วยพันธะไฮโดรเจน โมเลกุลแก๊สกรดแอซีติกจะเชื่อมและสร้างโครงสร้างไดเมอร์เมื่อมีอุณภูมิถึง 120 องศาเซลเซียส (248 องศาฟาเรนไฮต์) โครงสร้างไดเมอร์ของกรดแอซีติกเกิดขึ้นในสถานะของเหลวเช่นกันเมื่อสารละลายมีความเข้มข้นของกรดน้อยและตัวทำละลายที่ไม่สร้างพันธะไฮโดรเจน เกิดขึ้นในกรดแอซีติกบริสุทธิ์เล็กน้อยแต่โครงสร้างมักจะถูกรบกวนโดยตัวทำละลายที่สร้างพันธะไฮโดรเจน เอนทาลปีการแยกตัวของโครงสร้างไดเมอร์มีค่าประมาณ 65.0–66.0 kJ/mol เอนโทรปีการแยกตัวมีค่าประมาณ 154–157 J mol−1 K−1 กรดคาร์บอกซิลิกชนิดอื่นมีพฤติกรรมการสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลคล้ายคลึงกับกรดแอซีติก

คุณสมบัติของตัวทำละลาย

กรดแอซิติกในสถานะของเหลวเป็นตัวทำละลายที่ละลายในน้ำได้ดี (เนื่องจากมีขั้ว) และสามารถให้โปรตอนได้ เช่นเดียวกับเอทานอลและน้ำ เนื่องจากกรดแอซิติกมีค่าคงที่ไดอิเล็กทริก (dielectric constant) ในระดับปานกลางเท่ากับ 6.2 ทำให้กรดแอซิติกสามารถละลายได้ทั้งในสารที่มีขั้วเช่น เกลืออนินทรีย์และน้ำตาล และสารที่ไม่มีขั้วเช่น น้ำมัน สารละลายที่ได้จากการผสมของกรดแอซิติกและตัวทำละลายที่มีขั้วและไม่มีเช่น น้ำ คลอโรฟอร์ม และเฮกเซน เป็นสารเนื้อเดียว แต่ทว่าเมื่อผสมกรดแอซิติกกับตัวทำลายที่มีความเป็นด่างสูงเช่น ออกเทน (octane) สารละลายที่ได้จะเป็นสารเนื้อผสม นอกจากนี้ความสามารถในการสร้างสารเนื้อเดียวเมื่อผสมกรดแอซิติกกับตัวทำละลายจะน้อยลงเมื่อตัวทำละลายมีโครงแอลเคนที่ยาว คุณสมบัติตัวทำละลายและการทำให้เป็นเนื้อเดียวของกรดแอซิติกสร้างประโยชน์ให้กับทางอุตสาหกรรมทางเคมีเช่น การนำกรดแอซิติกเป็นตัวทำละลายในการผลิตไดเมธิลเทเรฟธาเลต (Dimethyl terephthalate)

ชีวเคมี

ณ pH ในร่างกาย กรดแอซิติกมักที่จะแยกตัวเป็นโปรตอนและแอซิเตตอย่างสมบูรณ์ หมู่แอซีทิลซึ่งได้มากจากกรดแอซิติกเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับสิ่งมีชีวิตทุกรูปแบบ แอซิติลโคเอนไซม์ เอ มีความสำคัญในการย่อยสลายอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรตและไขมัน กรดแอซิติกไม่เหมือนกับกรดคาร์บอกซิลิกที่มีโมเลกุลที่ยาว (กรดไขมัน) ตรงที่ว่ากรดแอซิติกไม่มีอยู่ในไตรกลีเซอไรด์ตามธรรมชาติ แต่ทว่าไตรกลีเซอไรด์ แอซีตินเป็นไตรกลีเซอไรด์เทียมที่มักจะถูกใช้เป็นสารเจือปนอาหาร ประทิ่น และยาทา แบคที่เรียโดยเฉพาะสกุลแอซีโตแบคเตอร์ (Acetobacter) และเชื้อจุลินทรีย์ Clostridium acetobutylicum สามารถผลิตและหลั่งกรดแอซิติกได้ แบคทีเรียเหล่านี้มักจะถูกพบเจอทั่วโลกในอาหาร น้ำ และ ดิน นอกจากนี้กรดแอวิติกสามารถถูกผลิตโดยผลไม้และอาหารอื่น ๆ เมื่อเสีย กรดแอซิติกยังเป็นวัถุดิบสำคัญในการผลิตสารหล่อลื่นช่องคลอดของมนุษย์และสัตว์อันดับวานรอื่น ๆ โดยกรดแอซิติกมีหน้าที่เป็นยาปฏิชีวนะเพื่อช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย

การผลิตสาร

ในอุตสาหกรรม การผลิตกรดแอซิติกใช้ทั้งการสังเคราะห์โดยตรงและการหมักโดยแบคทีเรีย ร้อยละ 75 ของกรดแอซิติกที่ใช้ในอุตสาหกรรมเคมีมาจากการทำคาร์บอนิลเลชันของเมทานอล อีกเพียงร้อยละ 10 มาจากกระบวนการทางชีววิทยา แต่ส่วนนี้มีความสำคัญเนื่องจากกฎหมายควบคุมอาหารในบางสถานที่ บังคับให้น้ำส้มสายชูในอาหารต้องมาจากธรรมชาติ

เมทานอลคาร์บอนิลเลชัน

กรดแอซิติกส่วนใหญ่มาจากการทำปฏิกิริยาคาร์บอนิลเลชันของเมทานอล โดยเมทานอลทำปฏิกิริยากับคาร์บอนมอนอกไซด์เกิดเป็นกรดแอซิติกตามสมการ

 

โดยใช้โลหะคาร์บอนิลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

แอเซตาลดีไฮด์ออกซิเดชัน

เอทิลีนออกซิเดชัน

การหมักให้เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน

การหมักโดยไม่ใช้ออกซิเจน

การใช้งาน

ไวนิลแอซีเตตโมโนเมอร์

กรดแอซิติกถูกใช้ในการผลิตไวนิล แอซีเตตโมโนเมอร์ (vinyl acetate monomer) ในปี 2008 การผลิตสารชนิดนี้ถูกคาดการว่าบริโภคกรดแอซิติกจำนวนหนึ่งส่วนสามของการผลิตกรดแอซิติกของโลก ปฏิกิริยานี้เริ่มจากการนำสารในสถานะแก๊ส เอทิลีน ออกซิเจน และกรดแอซีติก มาผ่านด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาแพลเลเดียม The reaction consists of ethylene and acetic acid with oxygen over a palladium catalyst, conducted in the gas phase.

2 H3C−COOH + 2 C2H4 + O2 → 2 H3C−CO−O−CH=CH2 + 2 H2O

ไวนิล แอซีเตดสามารถรวมตัวเป็นลูกโซ่และกลายเป็นพอลิไวนิล แอซีเตตหรือพอลิเมอร์อื่น ๆ ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตสีและกาว

การผลิตเอสเตอร์

เอสเทอร์หลักของกรดแอซิติกเช่น เอทิลแอซิเตต (ethyl acetate) เอ็น-บิวทิลแอซิเตต (n-butyl acetate) ไอโซบิวทิลแอซีเตต (isobutyl acetate) โพรพิวแอซีเตต (propyl acetate) ถูกใช้เป็นตัวทำละลายสำหรับหมึก สี และน้ำยาเคลือบ โดยทั่วไปแอซิติกเอสเทอร์เหล่านี้จะถูกผลิตด้วยปฏิกิริยาเร่งระหว่างกรดแอซิติกและแอลกอฮอล์:

H3C−COOH + HO−R → H3C−CO−O−R + H2O, (R = หมู่แอลคิล (alkyl group) ทั่วไป)

แต่ทว่าเอสเทอร์ส่วนมากถูกผลิตด้วยปฏิกิริยา Tishchenko โดยใช้แอซีทาลดีไฮด์ (acetaldehyde) นอกจากนี้เอสเทอร์แอซิเตตถูกใช้เป็นตัวทำละลายสำหรับไนโตรเซลลูโลส (nitrocellulose) สีพ่นอะคริลิคแลคเกอร์ น้ำยาล้างเคลือบผิวไม้ และสีทาไม้ ไกลคอลโมโนอีเธอร์ (glycol monoethers) ถูกผลิตโดยใช้เอทิลีนออกไซด์ (ethylene oxide) หรือโพรพิวลีนออกไซด์ (propylene oxide) กับแอลกอฮอล์ และเพื่อมาทำปฏิกิริยากับกรดแอซิติก สามผลิตภัณฑ์หลักจากปฏิกิริยานี้คือ เอทิลีนไกลคอลโมโนเอทิลอีเธอร์แอซิเตต (glycol monoethyl ether acetate, EEA) เอทิลีนไกลคอลโมโนบิวทิลอีเธอร์แอซิเตต (thylene glycol monobutyl ether acetate, EBA) และโพรไพลีนไกลคอลโมโนเมททิลอีเธอร์แอซิเตต (propylene glycol monomethyl ether, PMA, หรือ PGMEA เป็นชื่อที่นิยมใช้ในกระบวนการผลิตสารกึ่งตัวนำ โดยมีสารนี้เป็นตัวทำละลาย) ร้อยละ 15 ถึง 20 ของกรดแอซิเตกทั้งหมดถูกใช้เพื่อการผลิตสารนี้ อีเธอร์แอซิเตต เช่น EEA ถูกพบว่ามีผลอันตรายต่อการสืบพันธุ์ของมนุษย์

แอซิติกแอนไฮดรายด์

แอซิติกแอนไฮดรายด์ (acetic anhydride) เกิดจากการควบแน่นของสองโมเลกุลของกรดแอซิติก เนื่องจากสารชนิดนี้มีการใช้งานที่หลากหลาย ร้อยละ 25 ถึง 30 ของกรดแอซิติกทั้งหมดถูกใช้เพื่อการผลิตสารชนิดนี้ โดยขั้นตอนในการผลิตแอซิติกแอนไฮดรายด์มีการดึงโมเลกุลน้ำออกจากกรดแอซิติกในอุณภูมิ 700- ถึง 750 °C เพื่อให้โมเลกุลมีโครงสร้างเป็นคีทีน (ketene) หลังจากนั้นคีทีนจะทำปฏิกิริยากรดแอซิติกเพื่อผลิตแอนไฮดรายด์:

CH3CO2H → CH2=C=O + H2O
CH3CO2H + CH2=C=O → (CH3CO)2O

แอซิติกแอนไฮดรายด์สามารถทำหน้าที่เป็นสารเพิ่มกลุ่มแอเซทิล (acetylation agent) เพราะฉะนั้นแล้วแอซิติกแอนไฮดรายด์ถูกใช้ในการผลิตเส้นใยแอซีเตต (cellulose acetate) ซึ่งเป็นเส้นใยสังเคราะห์ที่ใช้สำหรับผลิตแผ่นถ่ายรูป แอซิติกแอนไฮดรายด์ยังถูกใช้สำหรับผลิตเฮโรอีนและสารประกอบอื่น ๆ

การใช้เป็นตัวทำละลาย

ประโยชน์ทางการแพทย์

อาหาร

ปฏิกิริยาทางเคมี

สารอินทรีย์

กรดแอซิติกสามารถทำปฏิกิริยาทั่วไปของกรดคาร์บอกซิลิก เมื่อทำปฏิกิริยากับสารละลายเบสทั่วไปจะให้เกลือแอซิเตตกับน้ำ (เช่น CH3COOH + NaOH → CH3COONa + H2O) หากใช้เบสที่แก่มาก (เช่นพวกออร์กาโนลิเทียม) อาจเกิดการเสียโปรตอนที่ตำแหน่งอัลฟาคาร์บอนด้วย (เช่น CH3COOH + 2CH3Li → LiCH2COOLi + 2CH4) การทำปฏิกิริยารีดักชันกรดแอซิติกให้แอเซตาลดีไฮด์และเอทานอลตามลำดับ กรดแอซิติกสามารถเกิดเป็นอนุพันธ์กรดคาร์บอกซิลิก เช่นแอซิติลคลอไรด์และแอซิติกแอนไฮดรายด์ รวมถึงการเกิดเอสเทอร์กับเอไมด์ เมื่อกรดแอซิติกถูกให้ความร้อนสูงกว่า 440 °C จะสลายตัวให้คาร์บอนไดออกไซด์กับมีเทน หรือคีทีนกับน้ำ:

CH3COOH → CH4 + CO2

CH3COOH → CH2=C=O + H2O

ปฏิกิริยาทางเคมีกับสารอนินทรีย์

กรดแอซิติกมีฤทธิ์กัดกร่อนพอประมาณต่อโลหะ เช่นแมกนีเซียม สังกะสี และเหล็ก เกิดเป็นแก๊สไฮโดรเจนกับเกลือแอซิเตต:

Mg + 2 CH3COOH → (CH3COO)2Mg + H2

สำหรับโลหะอะลูมิเนียม สามารถสร้างชั้นของอะลูมิเนียมออกไซด์ซึ่งทนกรดเคลือบผิวเอาไว้ ในการขนส่งกรดแอซิติกจึงมักบรรจุในภาชนะอะลูมิเนียม

เกลือแอซิเตตสามารถเตรียมได้อีกวิธี โดยการทำปฏิกิริยาระหว่างกรดแอซิติกกับเบสที่เหมาะสม เช่นปฏิกิริยาระหว่างน้ำส้มสายชูกับผงฟู:

NaHCO3 + CH3COOH → CH3COONa + CO2 + H2O

เกลือแอซิเตตทดสอบได้โดยการทำปฏิกิริยากับสารละลายไอเอิร์น(III)คลอไรด์ ให้สารเชิงซ้อนสีแดงเข้ม ซึ่งจะจางหายไปเมื่อทำให้สารละลายเป็นกรด อีกวิธีการทดสอบที่ว่องไวกว่า คือการใช้แลนทานัมไนเตรต ไอโอดีน และแอมโมเนีย ซึ่งจะให้สารละลายสีฟ้า นอกจากนี้การให้ความร้อนแก่เกลือแอซิเตตกับอาร์เซนิกไตรออกไซด์จะให้คาโคดิลออกไซด์ ซึ่งมีกลิ่นเหม็น

สารอนุพันธ์อื่น

เกลือแอซิเตตที่มีความสำคัญทางพาณิชย์เช่น

  • โซเดียมแอซิเตต ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอและเป็นสารกันบูด (E262)
  • คอปเปอร์(I)แอซิเตต ใช้เป็นผงสีและสารฆ่าเชื้อรา
  • อะลูมิเนียมแอซิเตต และไอเอิร์น(II)แอซิเตต ใช้เป็นมอร์แดนต์
  • แพลเลเดียม(II)แอซิเตต ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเคมีอินทรีย์ เช่น ปฏิกิริยาเฮค

กรดแอซิติกที่ถูกเติมแฮโลเจนที่มีความสำคัญทางพาณิชย์เช่น

  • กรดคลอโรแอซิติก ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมคราม
  • กรดโบรโมแอซิติก นำไปทำปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันได้เอทิลโบรโมแอซิเตต ซึ่งเป็นรีเอเจนต์
  • กรดไตรฟลูออโรแอซิติก เป็นรีเอเจนต์ในเคมีอินทรีย์

กรดแอซิติกประมาณร้อยละ 5 - 10 ของกำลังผลิตทั่วโลกใช้ในการสังเคราะห์อนุพันธ์เหล่านี้

ประวัติศาตร์

มวลสารระหว่างดาว

ผลกระทบต่อสุขภาพและความปลอดภัย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี, สสวท. (สืบค้น "acetic")
  2. IUPAC Provisional Recommendations 2004 Chapter P-12.1; page 4
  3. Armarego, W.L.F.; Chai, Christina (2009). Purification of Laboratory Chemicals, 6th edition. Butterworth-Heinemann. ISBN 978-1-85617-567-8.
  4. Cooper, Caroline (9 August 2010). Organic Chemist's Desk Reference (2 ed.). CRC Press. pp. 102–104. ISBN 978-1-4398-1166-5.
  5. DeSousa, Luís R. (1995). Common Medical Abbreviations. Cengage Learning. p. 97. ISBN 978-0-8273-6643-5.
  6. Hendrickson, James B.; Cram, Donald J.; Hammond, George S. (1970). Organic Chemistry (3 ed.). Tokyo: McGraw Hill Kogakusha. p. 135.
  7. Goldberg, R.; Kishore, N.; Lennen, R. (2002). (PDF). Journal of Physical and Chemical Reference Data. 31 (2): 231–370. Bibcode:1999JPCRD..31..231G. doi:10.1063/1.1416902. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 6 October 2008. Unknown parameter |dead-url= ignored (help)
  8. [H3O+] = 10−2.4 = 0.4%
  9. Jones, R. E.; Templeton, D.H. (1958). "The crystal structure of acetic acid". Acta Crystallographica. 11 (7): 484–487. doi:10.1107/S0365110X58001341.
  10. Briggs, James M.; Toan B. Nguyen; William L. Jorgensen (1991). "Monte Carlo simulations of liquid acetic acid and methyl acetate with the OPLS potential functions". Journal of Physical Chemistry. 95 (8): 3315–3322. doi:10.1021/j100161a065.
  11. Togeas, James B. (2005). "Acetic Acid Vapor: 2. A Statistical Mechanical Critique of Vapor Density Experiments". Journal of Physical Chemistry A. 109 (24): 5438–5444. Bibcode:2005JPCA..109.5438T. doi:10.1021/jp058004j. PMID 16839071.
  12. McMurry, John (2000). Organic Chemistry (5 ed.). Brooks/Cole. p. 818. ISBN 978-0-534-37366-5.
  13. Zieborak, K.; Olszewski, K. (1958). Bulletin de l'Academie Polonaise des Sciences-Serie des Sciences Chimiques Geologiques et Geographiques. 6 (2): 3315–3322.CS1 maint: untitled periodical (link)
  14. Cheung, Hosea; Tanke, Robin S.; Torrence, G. Paul, "Acetic Acid", Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, Weinheim: Wiley-VCH, doi:10.1002/14356007.a01_045.pub2
  15. Fiume, M. Z.; Cosmetic Ingredients Review Expert Panel (June 2003). "Final report on the safety assessment of triacetin". International Journal of Toxicology. 22 (Suppl 2): 1–10. doi:10.1080/747398359. PMID 14555416.
  16. Buckingham, J., บ.ก. (1996). Dictionary of Organic Compounds. 1 (6th ed.). London: Chapman & Hall. ISBN 978-0-412-54090-5.
  17. Cheung, Hosea; Tanke, Robin S.; Torrence, G. Paul, "Acetic Acid", Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, Weinheim: Wiley-VCH, doi:10.1002/14356007.a01_045.pub2
  18. Roscher, Günter, "VInyl Esters", Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, Weinheim: Wiley-VCH, doi:10.1002/14356007.a27_419
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ suresh
  20. Held, Heimo; Rengstl, Alfred; Mayer, Dieter, "Acetic Anhydride and Mixed Fatty Acid Anhydrides", Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, Weinheim: Wiley-VCH, doi:10.1002/14356007.a01_065
  21. Charlot, G.; Murray, R. G. (1954). Qualitative Inorganic Analysis (4 ed.). CUP Archive. p. 110.
  22. Neelakantam, K.; Row, L Ramachangra (1940). "The Lanthanum Nitrate Test for Acetatein Inorganic Qualitative Analysis" (PDF). สืบค้นเมื่อ 5 June 2013.
  23. Brantley, L. R.; Cromwell, T. M.; Mead, J. F. (1947). "Detection of acetate ion by the reaction with arsenious oxide to form cacodyl oxide". Journal of Chemical Education. 24 (7): 353. Bibcode:1947JChEd..24..353B. doi:10.1021/ed024p353. ISSN 0021-9584.
  24. Malveda, Michael; Funada, Chiyo (2003). . Chemicals Economic Handbook. SRI International. p. 602.5000. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 14 October 2011. Unknown parameter |dead-url= ignored (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

กรดน, ำส, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, กรดแอซ, งกฤษ, acetic, a. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir krdnasm hrux krdaexsitik 1 xngkvs acetic acid hruxmichuxtamrabbwa krdexthaonxik epnsarprakxbxinthriyinsthanakhxngehlwirsi misutrekhmiwa CH3COOH bangekhiynepn CH3CO2H hrux C2H4O2 nasmsaychumikrdaexsitiktngaet 4 txprimatrkhunip thaihkrdaexsitikepnswnprakxbhlkkhxngnasmsaychunxkcakna krdaexsitikyngmirsepriywaelaklinchunechphaatw nxkcaknasmsaychuinkhrweruxnaelw yngmikarphlitkrdaexsitikepnsartngtnkhxngphxliiwnilaexsietd aelaeslluolsaexsietd cdepnkrdxxnenuxngcakaetktwbangswninsarlalay aetkrdaexsitikekhmkhnmivththikdkrxnaelasamarthrakhayekhuxngphiwhnngidkrdnasmchuxtam IUPAC krdaexsitik Acetic acid chuxeriyktamrabb krdexthaonxik Ethanoic acid chuxxun aexsitilihdrxkisd AcOH ihodrecnaexsiett HAc krdexthilikkrdmiethnkharbxksilikelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 64 19 7 CAS PubChem 176SMILES CC O OInChI 1 C2H4O2 c1 2 3 4 h1H3 H 3 4 f h3HChemSpider ID 171khunsmbtisutromelkul C2H4O2mwlomelkul 60 05 g mol 1lksnathangkayphaph khxngehlwimmisikhwamhnaaenn 1 049 g cm3 l 1 266 g cm3 s cudhlxmehlw 16 5 C 290 K 62 Fcudeduxd 118 1 C 391 K 245 Fkhwamsamarthlalayid in na phsmekhakniddipKa 4 76 at 25 Ckhwamhnud 1 22 mPa s thi 25 CokhrngsrangDipole moment 1 74 D gas khwamxntraykarcaaenkkhxng EU Corrosive C Flammable F NFPA 704 2 2 2 R phrases R10 R35S phrases S1 2 S23 S26 S45cudwabif 43 CLD50 3310 mg kg oral rat sarprakxbxunthiekiywkhxngknhakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmikrdaexsitikepnkrdkharbxksilikthieriybngaythisudepnxndbsxng rxngcakkrdfxrmik prakxbdwyhmuemthiltxkbhmukharbxksil krdaexsitikepnsarekhmisakhyaelasarekhmixutsahkrrm sungichepnhlkinkarphliteslluolsaexsietdsahrbphaphyntrphaphthay phxliiwnilaexsietdsahrbkawthaim aelaiyaelaesniysngekhraah inkhrweruxn krdaexsitikecuxcangichepnsarkhcdtakrn enuxha 1 kartngchux 2 khunsmbti 2 1 khwamepnkrd 2 2 okhrngsrangsar 2 3 khunsmbtikhxngtwthalalay 2 4 chiwekhmi 3 karphlitsar 3 1 emthanxlkharbxnilelchn 3 2 aexestaldiihdxxksiedchn 3 3 exthilinxxksiedchn 3 4 karhmkihekidptikiriyaxxksiedchn 3 5 karhmkodyimichxxksiecn 4 karichngan 4 1 iwnilaexsiettomonemxr 4 2 karphlitexsetxr 4 3 aexsitikaexnihdrayd 4 4 karichepntwthalalay 4 5 praoychnthangkaraephthy 4 6 xahar 5 ptikiriyathangekhmi 5 1 sarxinthriy 5 2 ptikiriyathangekhmikbsarxninthriy 5 3 sarxnuphnthxun 6 prawtisatr 6 1 mwlsarrahwangdaw 7 phlkrathbtxsukhphaphaelakhwamplxdphy 8 duephim 9 xangxing 10 aehlngkhxmulxunkartngchux aekikhchuxsamy krdaexsitik thukniymichodynkekhmiaelashphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths IUPAC inkhnathichuxtamrabbkhuxkrdexthaonxik 2 chuxkrdaexsitikmiraksphthmacakkhaphasalatin acetum sungaeplwanasmsaychu krdaeklechiylaexsitik epnchuxsahrbkrdaexsitikthiprascakna anhydrous odychuxni sungkhwamhmaykhlaykbkhaphasaeyxrmn Eisessig aeplwanaaekhngnasmsaychu macakokhrngsrangphlukthimilksnakhlaynaaekhng sungkxtwemuxtakwaxunphumihxngelknxythi 16 6 xngsaeslesiys 61 9 xngsafaerniht na 0 1 thaihcudhlxmehlwchxngsarldlng 0 2 C 3 ekhruxnghmaysamykhxngkrdaexsitikkhux AcOH odythi Ac epnsylksnaethnhmuaexsithil acetyl group CH3 C O inkhnathimikhuebsepnaexsiettixxxn CH3COO aelaaethnody AcO 4 inthini Ac imichsylksnkhxngthatuaexkthieniym krdaexsitikmkthicathukekhiyninokhrngsrangdngni CH3 C O OH CH3 C O OH CH3 COOH aela CH3CO2H emuxklawthungptikiriyayarahwangkrdaelaebs sylksn HAc mkthicathukich 5 odythi Ac aethnepnaexsiettixxxn aexsiettkhuxixxxnthiekidcakkarthikrdaexsitikesiy H chuxaexsiettxacepnekluxthimiaexnixxxnhruxexsethxrkhxngkrdaexsitik 6 khunsmbti aekikhkhwamepnkrd aekikh ihodrecnxtxminklumkharbxksil COOH inkrdkharbxksilikechn krdaexsitik samarthaeyktwxxkcakomelkuldwywithiixxxineschn ionization CH3CO2H CH3CO2 H krdaexsitikmikhwamepnkrdephraasamarthaetktwinnaaelaihoprtxn H krdaexsitikepnkrdxxnthisamarthihoprtxnidephiyngtwediyw monoprotic acid krdaexsitikinsarlalaymi pKa 4 76 khakhngthikaraetktwkhxngkrd 7 khuebskhxngkrdnikhuxaexsiettixxxn CH3COO sarlalaythimikhwamekhmkhn 1 0 M ethiybethakbkhwamekhmkhnkhxngnasmsaychuthwip mi pH 2 4 sungbngbxkwamiephiyngaekh 0 4 omelkulkhxngkrdaexsitikthiaetktw 8 aetthwathasarlalaymikhwamekhmkhnthitamak lt 10 6 M khakaraetktwkhxngomelkulkrdaexsitikephimkhunmakkwa 90 iskhlikidemxr cyclic dimer khxngkrdaexsitik esnpra siekhiyw aethnphnthaihodrecn okhrngsrangsar aekikh omelkulkhxngaekhngkhxngkrdaexsitikkxtwepnhwngos odythiomelkulaetlaxntxkndwyphnthaihodrecn 9 omelkulaekskrdaexsitikcaechuxmaelasrangokhrngsrangidemxremuxmixunphumithung 120 xngsaeslesiys 248 xngsafaerniht okhrngsrangidemxrkhxngkrdaexsitikekidkhuninsthanakhxngehlwechnknemuxsarlalaymikhwamekhmkhnkhxngkrdnxyaelatwthalalaythiimsrangphnthaihodrecn ekidkhuninkrdaexsitikbrisuththielknxy 10 aetokhrngsrangmkcathukrbkwnodytwthalalaythisrangphnthaihodrecn exnthalpikaraeyktwkhxngokhrngsrangidemxrmikhapraman 65 0 66 0 kJ mol exnothrpikaraeyktwmikhapraman 154 157 J mol 1 K 1 11 krdkharbxksilikchnidxunmiphvtikrrmkarsrangphnthaihodrecnrahwangomelkulkhlaykhlungkbkrdaexsitik 12 khunsmbtikhxngtwthalalay aekikh krdaexsitikinsthanakhxngehlwepntwthalalaythilalayinnaiddi enuxngcakmikhw aelasamarthihoprtxnid echnediywkbexthanxlaelana enuxngcakkrdaexsitikmikhakhngthiidxielkthrik dielectric constant inradbpanklangethakb 6 2 thaihkrdaexsitiksamarthlalayidthnginsarthimikhwechn ekluxxninthriyaelanatal aelasarthiimmikhwechn namn sarlalaythiidcakkarphsmkhxngkrdaexsitikaelatwthalalaythimikhwaelaimmiechn na khlxorfxrm aelaehkesn epnsarenuxediyw aetthwaemuxphsmkrdaexsitikkbtwthalaythimikhwamepndangsungechn xxkethn octane sarlalaythiidcaepnsarenuxphsm nxkcaknikhwamsamarthinkarsrangsarenuxediywemuxphsmkrdaexsitikkbtwthalalaycanxylngemuxtwthalalaymiokhrngaexlekhnthiyaw 13 khunsmbtitwthalalayaelakarthaihepnenuxediywkhxngkrdaexsitiksrangpraoychnihkbthangxutsahkrrmthangekhmiechn karnakrdaexsitikepntwthalalayinkarphlitidemthiletherfthaelt Dimethyl terephthalate 14 chiwekhmi aekikh n pH inrangkay krdaexsitikmkthicaaeyktwepnoprtxnaelaaexsiettxyangsmburn hmuaexsithilsungidmakcakkrdaexsitikepnphunthansakhysahrbsingmichiwitthukrupaebb aexsitilokhexnism ex mikhwamsakhyinkaryxyslayxaharcaphwkkharobihedrtaelaikhmn krdaexsitikimehmuxnkbkrdkharbxksilikthimiomelkulthiyaw krdikhmn trngthiwakrdaexsitikimmixyuinitrkliesxirdtamthrrmchati aetthwaitrkliesxird aexsitinepnitrkliesxirdethiymthimkcathukichepnsarecuxpnxahar prathin aelayatha 15 aebkhthieriyodyechphaaskulaexsiotaebkhetxr Acetobacter aelaechuxculinthriy Clostridium acetobutylicum samarthphlitaelahlngkrdaexsitikid aebkhthieriyehlanimkcathukphbecxthwolkinxahar na aela din nxkcaknikrdaexwitiksamarththukphlitodyphlimaelaxaharxun emuxesiy krdaexsitikyngepnwthudibsakhyinkarphlitsarhlxlunchxngkhlxdkhxngmnusyaelastwxndbwanrxun odykrdaexsitikmihnathiepnyaptichiwnaephuxchwyybyngkarecriyetibotkhxngaebkhthieriy 16 karphlitsar aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidinxutsahkrrm karphlitkrdaexsitikichthngkarsngekhraahodytrngaelakarhmkodyaebkhthieriy rxyla 75 khxngkrdaexsitikthiichinxutsahkrrmekhmimacakkarthakharbxnilelchnkhxngemthanxl 17 xikephiyngrxyla 10 macakkrabwnkarthangchiwwithya aetswnnimikhwamsakhyenuxngcakkdhmaykhwbkhumxaharinbangsthanthi bngkhbihnasmsaychuinxahartxngmacakthrrmchati emthanxlkharbxnilelchn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkrdaexsitikswnihymacakkarthaptikiriyakharbxnilelchnkhxngemthanxl odyemthanxlthaptikiriyakbkharbxnmxnxkisdekidepnkrdaexsitiktamsmkar odyicholhakharbxnilepntwerngptikiriya aexestaldiihdxxksiedchn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidexthilinxxksiedchn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarhmkihekidptikiriyaxxksiedchn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarhmkodyimichxxksiecn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarichngan aekikhiwnilaexsiettomonemxr aekikh krdaexsitikthukichinkarphlitiwnil aexsiettomonemxr vinyl acetate monomer inpi 2008 karphlitsarchnidnithukkhadkarwabriophkhkrdaexsitikcanwnhnungswnsamkhxngkarphlitkrdaexsitikkhxngolk ptikiriyanierimcakkarnasarinsthanaaeks exthilin xxksiecn aelakrdaexsitik maphandwytwerngptikiriyaaephlelediym 14 The reaction consists of ethylene and acetic acid with oxygen over a palladium catalyst conducted in the gas phase 18 2 H3C COOH 2 C2H4 O2 2 H3C CO O CH CH2 2 H2Oiwnil aexsietdsamarthrwmtwepnlukosaelaklayepnphxliiwnil aexsietthruxphxliemxrxun sungepnwtthudibinkarphlitsiaelakaw 18 karphlitexsetxr aekikh exsethxrhlkkhxngkrdaexsitikechn exthilaexsiett ethyl acetate exn biwthilaexsiett n butyl acetate ixosbiwthilaexsiett isobutyl acetate ophrphiwaexsiett propyl acetate thukichepntwthalalaysahrbhmuk si aelanayaekhluxb odythwipaexsitikexsethxrehlanicathukphlitdwyptikiriyaerngrahwangkrdaexsitikaelaaexlkxhxl H3C COOH HO R H3C CO O R H2O R hmuaexlkhil alkyl group thwip aetthwaexsethxrswnmakthukphlitdwyptikiriya Tishchenko odyichaexsithaldiihd acetaldehyde nxkcakniexsethxraexsiettthukichepntwthalalaysahrbinotreslluols nitrocellulose siphnxakhrilikhaelkhekxr nayalangekhluxbphiwim aelasithaim iklkhxlomonxiethxr glycol monoethers thukphlitodyichexthilinxxkisd ethylene oxide hruxophrphiwlinxxkisd propylene oxide kbaexlkxhxl aelaephuxmathaptikiriyakbkrdaexsitik samphlitphnthhlkcakptikiriyanikhux exthiliniklkhxlomonexthilxiethxraexsiett glycol monoethyl ether acetate EEA exthiliniklkhxlomonbiwthilxiethxraexsiett thylene glycol monobutyl ether acetate EBA aelaophriphliniklkhxlomonemththilxiethxraexsiett propylene glycol monomethyl ether PMA hrux PGMEA epnchuxthiniymichinkrabwnkarphlitsarkungtwna odymisarniepntwthalalay rxyla 15 thung 20 khxngkrdaexsietkthnghmdthukichephuxkarphlitsarni xiethxraexsiett echn EEA thukphbwamiphlxntraytxkarsubphnthukhxngmnusy 19 aexsitikaexnihdrayd aekikh aexsitikaexnihdrayd acetic anhydride ekidcakkarkhwbaennkhxngsxngomelkulkhxngkrdaexsitik enuxngcaksarchnidnimikarichnganthihlakhlay rxyla 25 thung 30 khxngkrdaexsitikthnghmdthukichephuxkarphlitsarchnidni odykhntxninkarphlitaexsitikaexnihdraydmikardungomelkulnaxxkcakkrdaexsitikinxunphumi 700 thung 750 C ephuxihomelkulmiokhrngsrangepnkhithin ketene hlngcaknnkhithincathaptikiriyakrdaexsitikephuxphlitaexnihdrayd 20 CH3CO2H CH2 C O H2O CH3CO2H CH2 C O CH3CO 2Oaexsitikaexnihdraydsamarththahnathiepnsarephimklumaexesthil acetylation agent ephraachannaelwaexsitikaexnihdraydthukichinkarphlitesniyaexsiett cellulose acetate sungepnesniysngekhraahthiichsahrbphlitaephnthayrup aexsitikaexnihdraydyngthukichsahrbphlitehorxinaelasarprakxbxun 20 karichepntwthalalay aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidpraoychnthangkaraephthy aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxahar aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidptikiriyathangekhmi aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsarxinthriy aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkrdaexsitiksamarththaptikiriyathwipkhxngkrdkharbxksilik emuxthaptikiriyakbsarlalayebsthwipcaihekluxaexsiettkbna echn CH3COOH NaOH CH3COONa H2O hakichebsthiaekmak echnphwkxxrkaonliethiym xacekidkaresiyoprtxnthitaaehnngxlfakharbxndwy echn CH3COOH 2CH3Li LiCH2COOLi 2CH4 karthaptikiriyaridkchnkrdaexsitikihaexestaldiihdaelaexthanxltamladb krdaexsitiksamarthekidepnxnuphnthkrdkharbxksilik echnaexsitilkhlxirdaelaaexsitikaexnihdrayd rwmthungkarekidexsethxrkbeximd emuxkrdaexsitikthukihkhwamrxnsungkwa 440 C caslaytwihkharbxnidxxkisdkbmiethn hruxkhithinkbna CH3COOH CH4 CO2CH3COOH CH2 C O H2O ptikiriyathangekhmikbsarxninthriy aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkrdaexsitikmivththikdkrxnphxpramantxolha echnaemkniesiym sngkasi aelaehlk ekidepnaeksihodrecnkbekluxaexsiett Mg 2 CH3COOH CH3COO 2Mg H2sahrbolhaxalumieniym samarthsrangchnkhxngxalumieniymxxkisdsungthnkrdekhluxbphiwexaiw inkarkhnsngkrdaexsitikcungmkbrrcuinphachnaxalumieniymekluxaexsiettsamarthetriymidxikwithi odykarthaptikiriyarahwangkrdaexsitikkbebsthiehmaasm echnptikiriyarahwangnasmsaychukbphngfu NaHCO3 CH3COOH CH3COONa CO2 H2Oekluxaexsiettthdsxbidodykarthaptikiriyakbsarlalayixexirn III khlxird ihsarechingsxnsiaedngekhm sungcacanghayipemuxthaihsarlalayepnkrd 21 xikwithikarthdsxbthiwxngiwkwa khuxkarichaelnthanminetrt ixoxdin aelaaexmomeniy sungcaihsarlalaysifa 22 nxkcaknikarihkhwamrxnaekekluxaexsiettkbxaresnikitrxxkisdcaihkhaokhdilxxkisd sungmiklinehmn 23 sarxnuphnthxun aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidekluxaexsiettthimikhwamsakhythangphanichyechn osediymaexsiett ichinxutsahkrrmsingthxaelaepnsarknbud E262 khxpepxr I aexsiett ichepnphngsiaelasarkhaechuxra xalumieniymaexsiett aelaixexirn II aexsiett ichepnmxraednt aephlelediym II aexsiett ichepntwerngptikiriyainekhmixinthriy echn ptikiriyaehkhkrdaexsitikthithuketimaeholecnthimikhwamsakhythangphanichyechn krdkhlxoraexsitik ichinkarsngekhraahsiyxmkhram krdobromaexsitik naipthaptikiriyaexsethxrifiekhchnidexthilobromaexsiett sungepnriexecnt krditrfluxxoraexsitik epnriexecntinekhmixinthriykrdaexsitikpramanrxyla 5 10 khxngkalngphlitthwolkichinkarsngekhraahxnuphnthehlani 24 prawtisatr aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidmwlsarrahwangdaw aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphlkrathbtxsukhphaphaelakhwamplxdphy aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephim aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxing aekikh phcnanukrmsphthwithyasastr khnitsastr aelaethkhonolyi sswth subkhn acetic IUPAC Provisional Recommendations 2004 Chapter P 12 1 page 4 Armarego W L F Chai Christina 2009 Purification of Laboratory Chemicals 6th edition Butterworth Heinemann ISBN 978 1 85617 567 8 Cooper Caroline 9 August 2010 Organic Chemist s Desk Reference 2 ed CRC Press pp 102 104 ISBN 978 1 4398 1166 5 DeSousa Luis R 1995 Common Medical Abbreviations Cengage Learning p 97 ISBN 978 0 8273 6643 5 Hendrickson James B Cram Donald J Hammond George S 1970 Organic Chemistry 3 ed Tokyo McGraw Hill Kogakusha p 135 Goldberg R Kishore N Lennen R 2002 Thermodynamic Quantities for the Ionization Reactions of Buffers PDF Journal of Physical and Chemical Reference Data 31 2 231 370 Bibcode 1999JPCRD 31 231G doi 10 1063 1 1416902 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 6 October 2008 Unknown parameter dead url ignored help H3O 10 2 4 0 4 Jones R E Templeton D H 1958 The crystal structure of acetic acid Acta Crystallographica 11 7 484 487 doi 10 1107 S0365110X58001341 Briggs James M Toan B Nguyen William L Jorgensen 1991 Monte Carlo simulations of liquid acetic acid and methyl acetate with the OPLS potential functions Journal of Physical Chemistry 95 8 3315 3322 doi 10 1021 j100161a065 Togeas James B 2005 Acetic Acid Vapor 2 A Statistical Mechanical Critique of Vapor Density Experiments Journal of Physical Chemistry A 109 24 5438 5444 Bibcode 2005JPCA 109 5438T doi 10 1021 jp058004j PMID 16839071 McMurry John 2000 Organic Chemistry 5 ed Brooks Cole p 818 ISBN 978 0 534 37366 5 Zieborak K Olszewski K 1958 Bulletin de l Academie Polonaise des Sciences Serie des Sciences Chimiques Geologiques et Geographiques 6 2 3315 3322 CS1 maint untitled periodical link 14 0 14 1 Cheung Hosea Tanke Robin S Torrence G Paul Acetic Acid Ullmann s Encyclopedia of Industrial Chemistry Weinheim Wiley VCH doi 10 1002 14356007 a01 045 pub2 Fiume M Z Cosmetic Ingredients Review Expert Panel June 2003 Final report on the safety assessment of triacetin International Journal of Toxicology 22 Suppl 2 1 10 doi 10 1080 747398359 PMID 14555416 Buckingham J b k 1996 Dictionary of Organic Compounds 1 6th ed London Chapman amp Hall ISBN 978 0 412 54090 5 Cheung Hosea Tanke Robin S Torrence G Paul Acetic Acid Ullmann s Encyclopedia of Industrial Chemistry Weinheim Wiley VCH doi 10 1002 14356007 a01 045 pub2 18 0 18 1 Roscher Gunter VInyl Esters Ullmann s Encyclopedia of Industrial Chemistry Weinheim Wiley VCH doi 10 1002 14356007 a27 419 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux suresh 20 0 20 1 Held Heimo Rengstl Alfred Mayer Dieter Acetic Anhydride and Mixed Fatty Acid Anhydrides Ullmann s Encyclopedia of Industrial Chemistry Weinheim Wiley VCH doi 10 1002 14356007 a01 065 Charlot G Murray R G 1954 Qualitative Inorganic Analysis 4 ed CUP Archive p 110 Neelakantam K Row L Ramachangra 1940 The Lanthanum Nitrate Test for Acetatein Inorganic Qualitative Analysis PDF subkhnemux 5 June 2013 Brantley L R Cromwell T M Mead J F 1947 Detection of acetate ion by the reaction with arsenious oxide to form cacodyl oxide Journal of Chemical Education 24 7 353 Bibcode 1947JChEd 24 353B doi 10 1021 ed024p353 ISSN 0021 9584 Malveda Michael Funada Chiyo 2003 Acetic Acid Chemicals Economic Handbook SRI International p 602 5000 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 14 October 2011 Unknown parameter dead url ignored help aehlngkhxmulxun aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title krdnasm amp oldid 8726823, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม