fbpx
วิกิพีเดีย

พันธะไฮโดรเจน

พันธะไฮโดรเจน (อังกฤษ: Hydrogen bond) เป็นอันตรากิริยานอนโคเวเลนต์ชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมที่มีสภาพลบหรือมีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงกับอะตอมของไฮโดรเจนที่สร้างพันธะโควาเลนต์กับอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงอีกอะตอมหนึ่ง พันธะไฮโดรเจนจัดเป็นแรงทางไฟฟ้าสถิตระหว่างสภาพขั้วบวกและสภาพขั้วลบ หรือเป็นอันตรกิริยาแบบขั้วคู่-ขั้วคู่ ทั้งนี้ พันธะไฮโดรเจนอาจเกิดขึ้นภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลก็ได้ พลังงานพันธะไฮโดรเจนอยู่ระหว่าง 5-30 kJ/mol ซึ่งมีความแข็งแรงมากกว่าแรงแวนเดอร์วาล์ว แต่อ่อนกว่าพันธะโคเวเลนต์และพันธะไอออนิก อนึ่ง ในโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน หรือ กรดนิวคลีอิก ก็อาจมีพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุลได้

พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของน้ำ ซึ่งในรูปแทนด้วยเส้นประสีดำ ส่วนเส้นขาวทึบเป็นพันธะโควาเลนต์ที่ยึดเกาะกันระหว่าง ออกซิเจน (สีแดง) และ ไฮโดรเจน (สีขาว)

นิยามโดย IUPAC

"พันธะไฮโดรเจนเป็นอันตรกิริยาแบบดึงดูดระหว่างอะตอมไฮโดรเจนจากโมเลกุลหรือส่วนของโมเลกุล X-H โดยที่ X มีสภาพลบหรืออิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าไฮโดรเจน กับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในโมเลกุลเดียวกันหรือโมเลกุลอื่นที่มีหลักฐานแสดงการเกิดพันธะ"

โดยทั่วไปแล้ว พันธะไฮโดรเจนจะถูกแสดงด้วยสัญลักษณ์ X-H…Y-X เมื่อจุดสามจุด (…) แทนพันธะไฮโดรเจน X-H แทนผู้ให้ (donor) พันธะไฮโดรเจน ตัวรับ (acceptor) อาจจะเป็นอะตอมหรือไอออนลบ Y หรือส่วนของโมเลกุล Y-Z เมื่อ Y สร้างพันธะกับ Z ในบางกรณี X และ Y อาจจะเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน และ ระยะ X-H และ Y-H เท่ากัน ทำให้เกิดพันธะไฮโดรเจนแบบสมมาตร (symmetric hydrogen bond) และในบางครั้งจะพบว่า ตัวรับพันธะไฮโดรเจนอาจจะเป็นอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของ Y หรือพันธะไพ (pi bond) ของ Y-Z

อ้างอิง

  • Nic, M.; Jirat, J.; Kosata, B., eds. (2006–). "hydrogen bond". IUPAC Compendium of Chemical Terminology (Online ed.). doi:10.1351/goldbook.H02899. ISBN 0-9678550-9-8
  • E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Definition of the hydrogen bond". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1637–1641. doi:10.1351/PAC-REC-10-01-02
  • E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Defining the hydrogen bond: An Account". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1619–1636. doi:10.1351/PAC-REP-10-01-01

ดูเพิ่ม

นธะไฮโดรเจน, งกฤษ, hydrogen, bond, เป, นอ, นตราก, ยานอนโคเวเลนต, ชน, ดหน, เก, ดข, นระหว, างอะตอมท, สภาพลบหร, อม, เล, กโทรเนกาท, งก, บอะตอมของไฮโดรเจนท, สร, างพ, นธะโควาเลนต, บอะตอมท, เล, กโทรเนกาท, งอ, กอะตอมหน, ดเป, นแรงทางไฟฟ, าสถ, ตระหว, างสภาพข, วบวกและสภา. phnthaihodrecn xngkvs Hydrogen bond epnxntrakiriyanxnokhewelntchnidhnung thiekidkhunrahwangxatxmthimisphaphlbhruxmixielkothrenkathiwitisungkbxatxmkhxngihodrecnthisrangphnthaokhwaelntkbxatxmthimixielkothrenkathiwitisungxikxatxmhnung phnthaihodrecncdepnaerngthangiffasthitrahwangsphaphkhwbwkaelasphaphkhwlb hruxepnxntrkiriyaaebbkhwkhu khwkhu thngni phnthaihodrecnxacekidkhunphayinomelkulhruxrahwangomelkulkid phlngnganphnthaihodrecnxyurahwang 5 30 kJ mol sungmikhwamaekhngaerngmakkwaaerngaewnedxrwalw aetxxnkwaphnthaokhewelntaelaphnthaixxxnik xnung inomelkulkhnadihy echn oprtin hrux krdniwkhlixik kxacmiphnthaihodrecnphayinomelkulidphnthaihodrecnrahwangomelkulkhxngna sunginrupaethndwyesnprasida swnesnkhawthubepnphnthaokhwaelntthiyudekaaknrahwang xxksiecn siaedng aela ihodrecn sikhaw niyamody IUPAC phnthaihodrecnepnxntrkiriyaaebbdungdudrahwangxatxmihodrecncakomelkulhruxswnkhxngomelkul X H odythi X misphaphlbhruxxielkothrenkatiwitisungkwaihodrecn kbxatxmhruxklumkhxngxatxminomelkulediywknhruxomelkulxunthimihlkthanaesdngkarekidphntha odythwipaelw phnthaihodrecncathukaesdngdwysylksn X H Y X emuxcudsamcud aethnphnthaihodrecn X H aethnphuih donor phnthaihodrecn twrb acceptor xaccaepnxatxmhruxixxxnlb Y hruxswnkhxngomelkul Y Z emux Y srangphnthakb Z inbangkrni X aela Y xaccaepnxatxmchnidediywkn aela raya X H aela Y H ethakn thaihekidphnthaihodrecnaebbsmmatr symmetric hydrogen bond aelainbangkhrngcaphbwa twrbphnthaihodrecnxaccaepnxielktrxnkhuoddediywkhxng Y hruxphnthaiph pi bond khxng Y Zxangxing aekikhNic M Jirat J Kosata B eds 2006 hydrogen bond IUPAC Compendium of Chemical Terminology Online ed doi 10 1351 goldbook H02899 ISBN 0 9678550 9 8E Arunan G R Desiraju R A Klein J Sadlej S Scheiner I Alkorta D C Clary R H Crabtree J J Dannenberg P Hobza H G Kjaergaard A C Legon B Mennucci and D J Nesbitt 2011 Definition of the hydrogen bond Pure Appl Chem 83 8 1637 1641 doi 10 1351 PAC REC 10 01 02E Arunan G R Desiraju R A Klein J Sadlej S Scheiner I Alkorta D C Clary R H Crabtree J J Dannenberg P Hobza H G Kjaergaard A C Legon B Mennucci and D J Nesbitt 2011 Defining the hydrogen bond An Account Pure Appl Chem 83 8 1619 1636 doi 10 1351 PAC REP 10 01 01duephim aekikhphnthaekhmi phnthaokhewelnt phnthaixxxnik phnthaolha phnthaaeholecn xntrkiriyanxnokhewelntekhathungcak https th wikipedia org w index php title phnthaihodrecn amp oldid 8964252, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม