fbpx
วิกิพีเดีย

กรด

กรด (อังกฤษ: acid, มาจากภาษาละติน acidus/acēre หมายถึง "เปรี้ยว") เป็นสสารซึ่งทำปฏิกิริยากับเบส โดยทั่วไป กรดสามารถระบุได้ด้วยรสเปรี้ยว, สมบัติทำปฏิกิริยากับโลหะอย่างแคลเซียม และเบสอย่างโซเดียมคาร์บอเนต กรดที่ละลายน้ำมี pH น้อยกว่า 7 โดยที่กรดจะแรงขึ้นตามค่า pH ที่ลดลง และเปลี่ยนกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเป็นแดง

ตัวอย่างทั่วไปของกรด รวมไปถึง กรดน้ำส้ม (น้ำส้มสายชู), กรดซัลฟิวริก (ในแบตเตอรีรถยนต์), และกรดทาร์ทาริก (ในการทำขนม) ดังสามตัวอย่างข้างต้น กรดสามารถเป็นได้ทั้งสารละลาย ของเหลวหรือของแข็ง สำหรับแก๊ส อย่างเช่น ไฮโดรเจนคลอไรด์ ก็เป็นกรดได้เช่นกัน กรดแรงและกรดอ่อนเข้มข้นบางตัวมีฤทธิ์กัดกร่อน แต่มีข้อยกเว้น เช่น คาร์บอรีนและกรดบอริก

นิยามกรดโดยทั่วไปมีสามนิยาม ได้แก่ นิยามอาร์เรเนียส นิยามเบรินสเตด-ลาวรี และนิยามลิวอิส นิยามอาร์เรเนียสกล่าววว่า กรดคือ สสารที่เพิ่มความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) ในสารละลาย นิยามเบรินสเตด-ลาวรีเป็นการขยายขึ้น คือ กรดเป็นสสารซึ่งสามารถทำหน้าที่ให้โปรตอน กรดส่วนมากที่พบในชีวิตประจำวันเป็นสารละลายในน้ำ หรือสามารถละลายได้ในน้ำ และสองนิยามนี้เกี่ยวเนื่องที่สุด สาเหตุที่ pH ของกรดน้อยกว่า 7 นั้น เป็นเพราะความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่า 10-7 โมลต่อลิตร เนื่องจาก pH นิยามเป็นลอการิทึมลบของความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไออน ดังนั้น กรดจึงมี pH น้อยกว่า 7 ตามนิยามเบรินสเตด-ลาวรี สารประกอบใดซึ่งสามารถให้โปรตอนง่ายสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นกรด ตัวอย่างมีแอลกอฮอล์และเอมีน ซึ่งมีหมู่ O-H หรือ N-H

ในทางเคมี นิยามกรดลิวอิสเป็นนิยามที่พบมากที่สุด กรดลิวอิสเป็นตัวรับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว ตัวอย่างกรดลิวอิส รวมไปถึงไอออนลบโลหะทั้งหมด และโมเลกุลอิเล็กตรอนน้อย เช่น โบรอนฟลูออไรด์ และอะลูมิเนียมไตรคลอไรด์ ไฮโดรเนียมไอออนเป็นกรดตามทั้งสามนิยามข้างต้น ที่น่าสนใจคือ แม้แอลกอฮอล์และเอมีนสามารถเป็นกรดเบรินเสตด-ลาวรีได้ตามที่อธิบายข้างต้น ทั้งสองยังทำหน้าที่เป็นเบสลิวอิสได้ เนื่องจากอะตอมออกซิเจนและไนโตรเจนมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว

สมบัติของกรด

การแตกตัวของไอออน

ในสารละลายกรดทุกชนิด จะมีไอออนที่เหมือนกันอยู่ส่วนหนึ่งคือไฮโดรเจนไอออน H+ เมื่อรวมกับน้ำจะได้เป็นไฮโดรเนียมไอออน H3O+ ตัวอย่างเช่น กรดไฮโดรคลอริก (HCl) ซึ่งเกิดจากสารประกอบไฮโดรเจนคลอไรด์ HCl ละลายในน้ำ โมเลกุลของ HCl และน้ำต่างก็เป็นโมเลกุลมีขั้ว จึงเกิดแรงดึงดูดระหว่างขั้วของ HCl กับน้ำ โดยที่โปรตอน (H) ของ HCl ถูกดึงดูดโดยโมเลกุลของน้ำเกิดเป็นไฮโดรเนียมไอออน H+ + H2O → H3O+ ในบางครั้งเขียนแทน H3O+ ด้วย H+ โดยเป็นที่เข้าใจว่า H+ นั้นจะอยู่รวมกับโมเลกุลของน้ำในรูป H3O+ เสมอ

ไฮโดรเนียมไอออนในน้ำไม่ได้อยู่เป็นไอออนเดียว แต่จะมีน้ำหลายโมเลกุลมาล้อมรอบด้วย อาจอยู่ในรูปของ H5O2+, H7O3+, H9O4+ เป็นต้น ส่วนไอออนลบที่เหลือจากการแตกตัวก็จะมีน้ำมาล้อมรอบเช่นกัน หรืออาจทำปฏิกิริยากับสารอื่นที่ละลายปนอยู่ด้วยกัน

ตัวอย่าง สมการเคมีแสดงการแตกตัวของไอออนของกรดในน้ำ

 

ประเภทของกรด

กรดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

  1. กรดอินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากธรรมชาติ เกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิต เช่น กรดน้ำส้ม (กรดน้ำส้ม) กรดซิตริก (กรดมะนาว) กรดแอสคอร์บิก (วิตามินซี) กรดอะมิโน ฯลฯ
  2. กรดอนินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากแร่ธาตุ บางครั้งเรียกว่ากรดแร่ เช่น กรดซัลฟิวริก (กรดกำมะถัน) กรดไฮโดรคลอริก (กรดเกลือ) กรดไนตริก (กรดดินประสิว) ฯลฯ

หรืออาจแบ่งตามความสามารถในการแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน มี 2 ชนิดคือ กรดแก่และกรดอ่อน

  1. กรดแก่ กรดกลุ่มนี้มีค่า pKa น้อยกว่า 1.74 เช่น กรดไฮโดรคลอริก กรดไนตริก กรดซัลฟิวริก ฯลฯ
    • กรดแก่ยิ่งยวด เป็นกรดแก่เช่นกัน แต่สามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออนมากกว่ากรดซัลฟิวริกเข้มข้น 100% จึงมีค่า pH น้อยกว่า 0 เช่น กรดฟลูออโรแอนติมอนิก
  2. กรดอ่อน กรดกลุ่มนี้มีค่า pKa ไม่น้อยกว่า 1.74 แต่ก็ไม่ถึงกับเป็นกลาง เช่น กรดน้ำส้ม กรดคาร์บอนิก กรดไฮโดรซัลฟิวริก ฯลฯ

การทดสอบกรด

ดูเพิ่มเติมที่: สารชี้บอกพีเอช

ทฤษฎีกรด-เบส

ดูบทความหลักที่: ทฤษฎีกรด–เบส

คำว่า ‘กรด’ ในภาษาอังกฤษ (acid) มาจากภาษาละตินว่า แอซิดัส (acidus) ซึ่งแปลว่าเปรี้ยว แต่ในวิชาเคมีมีความหมายแตกต่างออกไป โดยมีทฤษฎีกรด-เบส เป็นตัวขยายความ

  • ทฤษฎีกรด-เบส อาร์เรเนียส (สวันเต อาร์เรเนียส) ระบุว่า กรด เมื่อละลายในน้ำแล้วจะเพิ่มความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออน ส่วนเบสเมื่อละลายน้ำจะเพิ่มความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน
    หมายเหตุ : นิยามดังกล่าวจำกัดอยู่เฉพาะกรดและเบสที่ละลายได้ในน้ำเท่านั้น
  • ทฤษฎีกรด-เบส เบรินสเตต-ลาวรี (โยฮันเนส เบรินสเตต และทอมัส ลาวรี) ระบุว่า กรด เป็นตัวให้โปรตอน และเบส เป็นตัวรับโปรตอน ซึ่งกรดและเบสที่สอดคล้องกันจะอยู่ในรูปคู่กรด-เบส
    หมายเหตุ : นิยามนี้สามารถใช้อธิบายความเป็นกรด-เบสของสาร โดยไม่จำเป็นต้องละลายน้ำก็ได้
  • ทฤษฎีกรด-เบส ลิวอิส (กิลเบิร์ต ลิวอิส) ระบุว่า กรดเป็นตัวรับคู่อิเล็กตรอน และเบสเป็นตัวให้คู่อิเล็กตรอน (บางทีอาจเรียกกรดและเบสในทฤษฎีนี้ว่า กรดลิวอิส และเบสลิวอิส)
    หมายเหตุ : ทฤษฎีนี้สามารถใช้อธิบายสารที่แตกตัวแล้วไม่ได้โปรตอน เช่น ไอร์ออน (III) คลอไรด์

กรด, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, acid, มาจากภาษาละต, acidus. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir krd xngkvs acid macakphasalatin acidus acere hmaythung epriyw epnssarsungthaptikiriyakbebs odythwip krdsamarthrabuiddwyrsepriyw smbtithaptikiriyakbolhaxyangaekhlesiym aelaebsxyangosediymkharbxent krdthilalaynami pH nxykwa 7 odythikrdcaaerngkhuntamkha pH thildlng aelaepliynkradaslitmssinaenginepnaedngtwxyangthwipkhxngkrd rwmipthung krdnasm nasmsaychu krdslfiwrik inaebtetxrirthynt aelakrdthartharik inkarthakhnm dngsamtwxyangkhangtn krdsamarthepnidthngsarlalay khxngehlwhruxkhxngaekhng sahrbaeks xyangechn ihodrecnkhlxird kepnkrdidechnkn krdaerngaelakrdxxnekhmkhnbangtwmivththikdkrxn aetmikhxykewn echn kharbxrinaelakrdbxrikniyamkrdodythwipmisamniyam idaek niyamxarereniys niyamebrinsetd lawri aelaniyamliwxis niyamxarereniysklawwwa krdkhux ssarthiephimkhwamekhmkhnkhxngihodreniymixxxn H3O insarlalay niyamebrinsetd lawriepnkarkhyaykhun khux krdepnssarsungsamarththahnathiihoprtxn krdswnmakthiphbinchiwitpracawnepnsarlalayinna hruxsamarthlalayidinna aelasxngniyamniekiywenuxngthisud saehtuthi pH khxngkrdnxykwa 7 nn epnephraakhwamekhmkhnkhxngihodreniymixxxnmakkwa 10 7 omltxlitr enuxngcak pH niyamepnlxkarithumlbkhxngkhwamekhmkhnkhxngihodreniymixxn dngnn krdcungmi pH nxykwa 7 tamniyamebrinsetd lawri sarprakxbidsungsamarthihoprtxnngaysamarthphicarnaidwaepnkrd twxyangmiaexlkxhxlaelaexmin sungmihmu O H hrux N Hinthangekhmi niyamkrdliwxisepnniyamthiphbmakthisud krdliwxisepntwrbxielktrxnkhuoddediyw twxyangkrdliwxis rwmipthungixxxnlbolhathnghmd aelaomelkulxielktrxnnxy echn obrxnfluxxird aelaxalumieniymitrkhlxird ihodreniymixxxnepnkrdtamthngsamniyamkhangtn thinasnickhux aemaexlkxhxlaelaexminsamarthepnkrdebrinestd lawriidtamthixthibaykhangtn thngsxngyngthahnathiepnebsliwxisid enuxngcakxatxmxxksiecnaelainotrecnmixielktrxnkhuoddediyw enuxha 1 smbtikhxngkrd 1 1 karaetktwkhxngixxxn 2 praephthkhxngkrd 3 karthdsxbkrd 4 thvsdikrd ebssmbtikhxngkrd aekikhkrdmismbtikdkrxnolha hinpun hruxenuxeyuxkhxngrangkay krdthukchnidnaiffaiddi krdhlaychnidmirsepriyw aetbangchnidkimmirsepriyw echn krdkharbxnik osda krdthaptikiriyakbebs casaethinaelaidnakbekluxkaraetktwkhxngixxxn aekikh insarlalaykrdthukchnid camiixxxnthiehmuxnknxyuswnhnungkhuxihodrecnixxxn H emuxrwmkbnacaidepnihodreniymixxxn H3O twxyangechn krdihodrkhlxrik HCl sungekidcaksarprakxbihodrecnkhlxird HCl lalayinna omelkulkhxng HCl aelanatangkepnomelkulmikhw cungekidaerngdungdudrahwangkhwkhxng HCl kbna odythioprtxn H khxng HCl thukdungdudodyomelkulkhxngnaekidepnihodreniymixxxn H H2O H3O inbangkhrngekhiynaethn H3O dwy H odyepnthiekhaicwa H nncaxyurwmkbomelkulkhxngnainrup H3O esmxihodreniymixxxninnaimidxyuepnixxxnediyw aetcaminahlayomelkulmalxmrxbdwy xacxyuinrupkhxng H5O2 H7O3 H9O4 epntn swnixxxnlbthiehluxcakkaraetktwkcaminamalxmrxbechnkn hruxxacthaptikiriyakbsarxunthilalaypnxyudwykntwxyang smkarekhmiaesdngkaraetktwkhxngixxxnkhxngkrdinna H N O 3 l H 2 O i H 3 O a q N O 3 a q H 2 S O 4 l H 2 O i H 3 O a q S O 4 2 a q C H 3 C O O H l H 2 O i H 3 O a q C H 3 C O O a q H C l O 4 l H 2 O i H 3 O a q C l O 4 a q displaystyle begin aligned mathrm HNO 3 l mathrm H 2 O i amp rightarrow mathrm H 3 O aq mathrm NO 3 aq mathrm H 2 SO 4 l mathrm H 2 O i amp rightarrow mathrm H 3 O aq mathrm SO 4 2 aq mathrm CH 3 COOH l mathrm H 2 O i amp rightarrow mathrm H 3 O aq mathrm CH 3 COO aq mathrm HClO 4 l mathrm H 2 O i amp rightarrow mathrm H 3 O aq mathrm ClO 4 aq end aligned dd praephthkhxngkrd aekikhkrdaebngepn 2 praephth khux krdxinthriy epnkrdthiidcakthrrmchati ekidkhuncaksingmichiwit echn krdnasm krdnasm krdsitrik krdmanaw krdaexskhxrbik witaminsi krdxamion l krdxninthriy epnkrdthiidcakaerthatu bangkhrngeriykwakrdaer echn krdslfiwrik krdkamathn krdihodrkhlxrik krdeklux krdintrik krddinprasiw lhruxxacaebngtamkhwamsamarthinkaraetktwihihodrecnixxxn mi 2 chnidkhux krdaekaelakrdxxn krdaek krdklumnimikha pKa nxykwa 1 74 echn krdihodrkhlxrik krdintrik krdslfiwrik l krdaekyingywd epnkrdaekechnkn aetsamarthaetktwihihodrecnixxxnmakkwakrdslfiwrikekhmkhn 100 cungmikha pH nxykwa 0 echn krdfluxxoraexntimxnik krdxxn krdklumnimikha pKa imnxykwa 1 74 aetkimthungkbepnklang echn krdnasm krdkharbxnik krdihodrslfiwrik lkarthdsxbkrd aekikhduephimetimthi sarchibxkphiexch ichkradaslitms krdcaepliynkradascaksinaenginhruxsimwng epnsiaednghruxsism ichecnechiyniwoxelt hruxemthiliwoxelt thaepnkrdxninthriy sikhxngecnechiyniwoxeltcaepliynepnsiekhiyw swnkrdxinthriycaepliynepnsinaenginhruxsimwngthvsdikrd ebs aekikhdubthkhwamhlkthi thvsdikrd ebs khawa krd inphasaxngkvs acid macakphasalatinwa aexsids acidus sungaeplwaepriyw aetinwichaekhmimikhwamhmayaetktangxxkip odymithvsdikrd ebs epntwkhyaykhwam thvsdikrd ebs xarereniys swnet xarereniys rabuwa krd emuxlalayinnaaelwcaephimkhwamekhmkhnkhxngihodreniymixxxn swnebsemuxlalaynacaephimkhwamekhmkhnkhxngihdrxkisdixxxnhmayehtu niyamdngklawcakdxyuechphaakrdaelaebsthilalayidinnaethann thvsdikrd ebs ebrinsett lawri oyhnens ebrinsett aelathxms lawri rabuwa krd epntwihoprtxn aelaebs epntwrboprtxn sungkrdaelaebsthisxdkhlxngkncaxyuinrupkhukrd ebs hmayehtu niyamnisamarthichxthibaykhwamepnkrd ebskhxngsar odyimcaepntxnglalaynakid thvsdikrd ebs liwxis kilebirt liwxis rabuwa krdepntwrbkhuxielktrxn aelaebsepntwihkhuxielktrxn bangthixaceriykkrdaelaebsinthvsdiniwa krdliwxis aelaebsliwxis hmayehtu thvsdinisamarthichxthibaysarthiaetktwaelwimidoprtxn echn ixrxxn III khlxird bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title krd amp oldid 9515214, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม