fbpx
วิกิพีเดีย

เนบิวลาสะท้อนแสง

เนบิวลาสะท้อนแสง (อังกฤษ: Reflection nebula) คือกลุ่มเมฆฝุ่นที่สะท้อนแสงของดาวฤกษ์หรือกลุ่มดาวฤกษ์ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง พลังงานจากดาวฤกษ์ใกล้เคียงมีไม่เพียงพอจะสร้างประจุให้แก๊สในเนบิวลาเพื่อสร้างเนบิวลาแบบเรืองแสง แต่มากพอจะช่วยให้เกิดการกระเจิงแสงกับอนุภาคฝุ่นทำให้สามารถมองเห็นได้ ดังนั้น ความถี่สเปกตรัมของเนบิวลาสะท้อนแสงจึงคล้ายคลึงกับดาวฤกษ์ที่ส่องแสงสว่างมาให้ อนุภาคขนาดเล็กที่ทำให้เกิดการกระเจิงแสงได้แก่ อนุภาคองค์ประกอบคาร์บอน (เช่นฝุ่นของเพชร) และองค์ประกอบธาตุอื่นๆ เช่นเหล็ก และนิเกิล สองอย่างหลังนี้มักพบในแนวสนามแม่เหล็กของดาราจักรและทำให้เกิดการกระเจิงของแสงในทิศทางขั้วแม่เหล็ก เอ็ดวิน ฮับเบิล เป็นผู้แรกที่สามารถแยกแยะเนบิวลาสะท้อนแสงกับเนบิวลาแบบเรืองแสงได้ในปี ค.ศ. 1922

เนบิวลาสะท้อนแสง IC2118 หรือเนบิวลาหัวแม่มด

เนบิวลาสะท้อนแสงมักเห็นเป็นสีน้ำเงิน เนื่องมาจากการกระเจิงของแสงเกิดในช่วงแสงสีน้ำเงินได้ดีกว่าช่วงแสงสีแดง (เป็นกระบวนการเดียวกันกับที่ทำให้เรามองเห็นท้องฟ้าเป็นสีน้ำเงิน และเห็นอาทิตย์อัสดงเป็นสีแดง)

เรามักพบเห็นเนบิวลาสะท้อนแสงกับเนบิวลาเรืองแสงอยู่ด้วยกัน บางครั้งก็เรียกรวมกันว่า เนบิวลาสว่าง (Diffuse nebula) ตัวอย่างหนึ่งของเนบิวลาลักษณะนี้คือ เนบิวลานายพราน

อ้างอิง

  • James B. Kaler (1998). Kosmische Wolken. Materie-Kreisläufe in der Milchstraße. Spektrum Akademischer Verlag.

แหล่งข้อมูลอื่น

เนบ, วลาสะท, อนแสง, งกฤษ, reflection, nebula, อกล, มเมฆฝ, นท, สะท, อนแสงของดาวฤกษ, หร, อกล, มดาวฤกษ, อย, ในบร, เวณใกล, เค, ยง, พล, งงานจากดาวฤกษ, ใกล, เค, ยงม, ไม, เพ, ยงพอจะสร, างประจ, ให, แก, สในเนบ, วลาเพ, อสร, างเนบ, วลาแบบเร, องแสง, แต, มากพอจะช, วยให, เก. enbiwlasathxnaesng xngkvs Reflection nebula khuxklumemkhfunthisathxnaesngkhxngdawvkshruxklumdawvksthixyuinbriewniklekhiyng phlngngancakdawvksiklekhiyngmiimephiyngphxcasrangpracuihaeksinenbiwlaephuxsrangenbiwlaaebberuxngaesng aetmakphxcachwyihekidkarkraecingaesngkbxnuphakhfunthaihsamarthmxngehnid dngnn khwamthisepktrmkhxngenbiwlasathxnaesngcungkhlaykhlungkbdawvksthisxngaesngswangmaih xnuphakhkhnadelkthithaihekidkarkraecingaesngidaek xnuphakhxngkhprakxbkharbxn echnfunkhxngephchr aelaxngkhprakxbthatuxun echnehlk aelaniekil sxngxyanghlngnimkphbinaenwsnamaemehlkkhxngdarackraelathaihekidkarkraecingkhxngaesnginthisthangkhwaemehlk exdwin hbebil epnphuaerkthisamarthaeykaeyaenbiwlasathxnaesngkbenbiwlaaebberuxngaesngidinpi kh s 1922enbiwlasathxnaesng IC2118 hruxenbiwlahwaemmd enbiwlasathxnaesngmkehnepnsinaengin enuxngmacakkarkraecingkhxngaesngekidinchwngaesngsinaenginiddikwachwngaesngsiaedng epnkrabwnkarediywknkbthithaiheramxngehnthxngfaepnsinaengin aelaehnxathityxsdngepnsiaedng eramkphbehnenbiwlasathxnaesngkbenbiwlaeruxngaesngxyudwykn bangkhrngkeriykrwmknwa enbiwlaswang Diffuse nebula twxyanghnungkhxngenbiwlalksnanikhux enbiwlanayphranxangxing aekikhJames B Kaler 1998 Kosmische Wolken Materie Kreislaufe in der Milchstrasse Spektrum Akademischer Verlag aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb enbiwlasathxnaesng bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title enbiwlasathxnaesng amp oldid 4736793, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม