fbpx
วิกิพีเดีย

เพลโต

เพลโต (Πλάτων)
เกิดc. พ.ศ. 116-พ.ศ. 117, เอเธนส์
เสียชีวิตc. พ.ศ. 196-พ.ศ. 197, เอเธนส์
ยุคปรัชญาโบราณ
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักพลาโตนิซึม
ความสนใจหลัก
Rhetoric, ศิลปะ, วรรณกรรม, ญาณวิทยา, ความยุติธรรม, Virtue, การเมือง, การศึกษา, ครอบครัว, การทหาร
แนวคิดเด่น
ความเป็นจริงของพลาโต
"แนวคิดหลักทางปรัชญาของยุโรป ล้วนแต่เป็นเชิงอรรถของเพลโต" -- อัลเฟรด นอร์ท ไวท์เฮด, Process and Reality, ค.ศ. 1929

เพลโต (ในภาษากรีก: Πλάτων Plátōn, อังกฤษ: Plato) (427 - 347 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นนักปรัชญาชาวกรีกโบราณที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของโสกราตีส เป็นอาจารย์ของอริสโตเติล เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้งอาคาเดมีซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุงเอเธนส์

เพลโตใช้เวลาส่วนใหญ่สอนอยู่ที่อาคาเดมี แต่เขาก็ได้เขียนเกี่ยวกับปัญหาทางปรัชญาไว้เป็นจำนวนมาก โลกปัจจุบันรู้จักเขาผ่านทางงานเขียนที่หลงเหลืออยู่ ที่ถูกนำขึ้นมาแปลและจัดพิมพ์เป็นในช่วงการเคลื่อนไหวด้านมนุษยนิยม งานเขียนของเพลโตนั้นส่วนมากแล้วเป็นบทสนทนา คำคม และจดหมาย ผลงานที่เป็นที่รู้จักของเพลโตนั้นหลงเหลืออยู่ทั้งหมด อย่างไรก็ตามชุดรวมงานแปลปัจจุบันของเพลโตมักมีบางบทสนทนาที่นักวิชาการจัดว่าน่าสงสัย หรือคิดว่ายังขาดหลักฐานที่จะยอมรับว่าเป็นของแท้ได้

ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มีโสกราตีสเป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโต

ประวัติ

ผลงาน

ประเด็นหลัก

ในงานเขียนของเพลโต เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับรูปแบบของการปกครองทั้งแบบเจ้าขุนมูลนาย และแบบประชาธิปไตย เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับผลของสิ่งแวดล้อมกับผลของพันธุกรรม ต่อสติปัญญาและอุปนิสัยของมนุษย์ ซึ่งการโต้เถียงนี้เกิดขึ้นมานานก่อนการโต้เถียงเรื่อง "ธรรมชาติหรือการเลี้ยงดู" ที่มีขึ้นในช่วงเวลาของฮอบบส์ และล็อก และยังมีผลต่อเนื่องมาถึงงานเขียนที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งเช่นหนังสือ The Mismeasure of Man และ The Bell Curve เรายังจะพบข้อคิดเห็นที่สนับสนุนอัตวิสัยและปรวิสัยของความรู้ของมนุษย์ ที่มีผลมาถึงการโต้เถียงสมัยใหม่ระหว่างฮูม และคานท์ หรือระหว่างนักหลังสมัยใหม่นิยมและผู้ที่ไม่เห็นด้วย กระทั่งเรื่องราวของเมืองหรือทวีปที่สาบสูญเช่นแอตแลนติส ก็ยังถูกยกมาเป็นตัวอย่างในงานของเพลโต เช่น Timaeus หรือ Critias

รูปแบบ

เพลโตเขียนงานแทบทั้งหมดในรูปของบทสนทนา ในงานชิ้นแรก ๆ ตัวละครสนทนาโดยการถามคำถามกันไปมา อย่างมีชีวิตชีวา ตัวละครที่โดดเด่นคือโสกราตีสที่ใช้รูปแบบของวิภาษวิธีที่ยังไม่ถูกจัดเป็นระบบ กลุ่มของผลงานนี้รวมเรียกว่าบทสนทนาโสกราตีส

แต่คุณภาพของบทสนทนาได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากตลอดช่วงชีวิตของเพลโต เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่างานชิ้นแรก ๆ ของเพลโตนั้น วางรากฐานอยู่บนความคิดของโสกราตีส ในขณะที่ในงานเขียนชิ้นถัด ๆ มา เขาได้ค่อย ๆ ฉีกตัวเองออกจากแนวคิดของอาจารย์ของเขา ในงานชิ้นกลาง ๆ โสกราตีสได้กลายเป็นผู้พูดของปรัชญาของเพลโต และรูปแบบของการถาม-ตอบ ได้เปลี่ยนเป็นแบบ "เหมือนท่องจำ" มากขึ้น: ตัวละครหลักนั้นเป็นตัวแทนของเพลโต ในขณะที่ตัวละครรอง ๆ ไป แทบไม่มีอะไรจะกล่าวนอกจาก "ใช่" "แน่นอน" และ "จริงอย่างยิ่ง" งานชิ้นหลัง ๆ แทบจะมีลักษณะเหมือนเรียงความ และโสกราตีสมักไม่ปรากฏหรือเงียบไป เป็นที่คาดการณ์กันว่างานชิ้นหลัง ๆ นั้นเขียนโดยเพลโตเอง ส่วนงานชิ้นแรก ๆ นั้นเป็นบันทึกของบทสนทนาของโสกราตีสเอง ปัญหาว่าบทสนทนาใดเป็นบทสนทนาของโสกราตีสอย่างแท้จริง เรียกว่าปัญหาโสกราตีส

ลักษณะการสร้างฉากที่มองเห็นได้ของบทสนทนา สร้างระยะห่างระหว่างเพลโตและผู้อ่าน กับปรัชญาที่กำลังถูกถกเถียงในนั้น ผู้อ่านสามารถเลือกรูปแบบการรับรู้ได้อย่างน้อยสองแบบ: อาจจะเข้าไปมีส่วนร่วมในบทสนทนาเกี่ยวกับแนวคิดที่กำลังพูดคุยกันอยู่, หรือเลือกที่จะมองเนื้อหาว่าเป็นการแสดงออกถึงอุปนิสัยที่อยู่ในผลงานนั้น ๆ

รูปแบบการสนทนาทำให้เพลโตสามารถถ่ายทอดความเห็นที่ไม่เป็นที่นิยมผ่านทางตัวละครที่พูดจาไม่น่าคล้อยตาม เช่น Thrasymachus ใน สาธารณรัฐ

อภิปรัชญาของเพลโต: ลัทธิเพลโต หรือ สัจนิยม

ผลงานที่เป็นที่จดจำที่สุด หรืออาจเป็นผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเพลโต ก็คืออภิปรัชญาแบบทวิภาค ที่มักเรียกกันว่า (ในอภิปรัชญา) ลัทธิเพลโต หรือ (ถ้าเรียกให้เกินจริง) สัจนิยม    อภิปรัชญาของเพลโตได้แบ่งโลกออกเป็นสองมุม คือ โลกของรูปแบบ (form) และโลกที่รับรู้ได้ เขามองว่าโลกที่รับรู้ได้ รวมถึงสิ่งของต่าง  ๆ ในนั้น คือ สำเนาที่ไม่สมบูรณ์แบบจาก รูปแบบ ที่คิดคำนึงได้ หรือ แนวความคิด   โดยที่รูปแบบเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง และอยู่ในสภาวะสมบูรณ์แบบเสมอ   การทำความเข้าใจกับรูปแบบเหล่านี้จะต้องใช้สติปัญญา หรือความเข้าใจเท่านั้น อย่างไรก็ตามแนวคิดของการแบ่งแยกนี้ได้มีการค้นพบมาก่อนหน้าเพลโนในปรัชญาของโซโรแอสเตอร์ โดยเรียกว่าโลกมินู (ปัญญา) และ โลกกีติ (สัมผัส) รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับรัฐอุดมคติ ที่โซโรแอสเตอร์เรียกว่า ชาห์ริวาร์ (เมืองอุดมคติ)

ประวัติของสาขาวิชาที่ศึกษาเพลโต

เพลโต, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, Πλάτων, เก, ดc, เอเธนส, เส, ยช. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ephlot Platwn ekidc ph s 116 ph s 117 exethnsesiychiwitc ph s 196 ph s 197 exethnsyukhprchyaobranaenwthangprchyatawntksankphlaotnisumkhwamsnichlkRhetoric silpa wrrnkrrm yanwithya khwamyutithrrm Virtue karemuxng karsuksa khrxbkhrw karthharaenwkhidednkhwamepncringkhxngphlaotidrbxiththiphlcak oskratis ohemxr ehsxy Aristophanes Aesop Protagoras Parmenides Pythagoras Heraclitus Orphismepnxiththiphltx xrisotetil Neoplatonism kiaekor Plutarch Stoicism Anselm Descartes Hobbes Leibniz Mill Schopenhauer Nietzsche Heidegger Arendt Gadamer and countless other western philosophers and theologians aenwkhidhlkthangprchyakhxngyuorp lwnaetepnechingxrrthkhxngephlot xlefrd nxrth iwthehd Process and Reality kh s 1929 ephlot inphasakrik Platwn Platōn xngkvs Plato 427 347 pikxn kh s epnnkprchyachawkrikobranthimixiththiphlxyangsungtxaenwkhidtawntk ekhaepnluksisykhxngoskratis epnxacarykhxngxrisotetil epnnkekhiyn aelaepnphukxtngxakhaedmisungepnsankwichainkrungexethnsephlotichewlaswnihysxnxyuthixakhaedmi aetekhakidekhiynekiywkbpyhathangprchyaiwepncanwnmak olkpccubnruckekhaphanthangnganekhiynthihlngehluxxyu thithuknakhunmaaeplaelacdphimphepninchwngkarekhluxnihwdanmnusyniym nganekhiynkhxngephlotnnswnmakaelwepnbthsnthna khakhm aelacdhmay phlnganthiepnthiruckkhxngephlotnnhlngehluxxyuthnghmd xyangirktamchudrwmnganaeplpccubnkhxngephlotmkmibangbthsnthnathinkwichakarcdwanasngsy hruxkhidwayngkhadhlkthanthicayxmrbwaepnkhxngaethidinbthsnthnakhxngephlolnn bxykhrngthimioskratisepntwlakhrhlk sungepnsingthisrangkhwamsbsnwakhwamehnswnidepnkhxngoskratis aelaswnidepnkhxngephlot enuxha 1 prawti 2 phlngan 2 1 praednhlk 2 2 rupaebb 3 xphiprchyakhxngephlot lththiephlot hrux scniym 4 prawtikhxngsakhawichathisuksaephlotprawti aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphlngan aekikhpraednhlk aekikh innganekhiynkhxngephlot eracaphbkarotethiyngekiywkbrupaebbkhxngkarpkkhrxngthngaebbecakhunmulnay aelaaebbprachathipity eracaphbkarotethiyngekiywkbphlkhxngsingaewdlxmkbphlkhxngphnthukrrm txstipyyaaelaxupnisykhxngmnusy sungkarotethiyngniekidkhunmanankxnkarotethiyngeruxng thrrmchatihruxkareliyngdu thimikhuninchwngewlakhxnghxbbs aelalxk aelayngmiphltxenuxngmathungnganekhiynthikxihekidkarotaeyngechnhnngsux The Mismeasure of Man aela The Bell Curve erayngcaphbkhxkhidehnthisnbsnunxtwisyaelaprwisykhxngkhwamrukhxngmnusy thimiphlmathungkarotethiyngsmyihmrahwanghum aelakhanth hruxrahwangnkhlngsmyihmniymaelaphuthiimehndwy krathngeruxngrawkhxngemuxnghruxthwipthisabsuyechnaextaelntis kyngthukykmaepntwxyanginngankhxngephlot echn Timaeus hrux Critias rupaebb aekikh ephlotekhiynnganaethbthnghmdinrupkhxngbthsnthna innganchinaerk twlakhrsnthnaodykarthamkhathamknipma xyangmichiwitchiwa twlakhrthioddednkhuxoskratisthiichrupaebbkhxngwiphaswithithiyngimthukcdepnrabb klumkhxngphlngannirwmeriykwabthsnthnaoskratisaetkhunphaphkhxngbthsnthnaidepliynaeplngipxyangmaktlxdchwngchiwitkhxngephlot epnthiyxmrbknthwipwanganchinaerk khxngephlotnn wangrakthanxyubnkhwamkhidkhxngoskratis inkhnathiinnganekhiynchinthd ma ekhaidkhxy chiktwexngxxkcakaenwkhidkhxngxacarykhxngekha innganchinklang oskratisidklayepnphuphudkhxngprchyakhxngephlot aelarupaebbkhxngkartham txb idepliynepnaebb ehmuxnthxngca makkhun twlakhrhlknnepntwaethnkhxngephlot inkhnathitwlakhrrxng ip aethbimmixaircaklawnxkcak ich aennxn aela cringxyangying nganchinhlng aethbcamilksnaehmuxneriyngkhwam aelaoskratismkimprakthruxengiybip epnthikhadkarnknwanganchinhlng nnekhiynodyephlotexng swnnganchinaerk nnepnbnthukkhxngbthsnthnakhxngoskratisexng pyhawabthsnthnaidepnbthsnthnakhxngoskratisxyangaethcring eriykwapyhaoskratislksnakarsrangchakthimxngehnidkhxngbthsnthna srangrayahangrahwangephlotaelaphuxan kbprchyathikalngthukthkethiynginnn phuxansamartheluxkrupaebbkarrbruidxyangnxysxngaebb xaccaekhaipmiswnrwminbthsnthnaekiywkbaenwkhidthikalngphudkhuyknxyu hruxeluxkthicamxngenuxhawaepnkaraesdngxxkthungxupnisythixyuinphlngannn rupaebbkarsnthnathaihephlotsamarththaythxdkhwamehnthiimepnthiniymphanthangtwlakhrthiphudcaimnakhlxytam echn Thrasymachus in satharnrthxphiprchyakhxngephlot lththiephlot hrux scniym aekikhphlnganthiepnthicdcathisud hruxxacepnphlnganthiyingihythisudkhxngephlot kkhuxxphiprchyaaebbthwiphakh thimkeriykknwa inxphiprchya lththiephlot hrux thaeriykihekincring scniym xphiprchyakhxngephlotidaebngolkxxkepnsxngmum khux olkkhxngrupaebb form aelaolkthirbruid ekhamxngwaolkthirbruid rwmthungsingkhxngtang innn khux saenathiimsmburnaebbcak rupaebb thikhidkhanungid hrux aenwkhwamkhid odythirupaebbehlanicaimepliynaeplng aelaxyuinsphawasmburnaebbesmx karthakhwamekhaickbrupaebbehlanicatxngichstipyya hruxkhwamekhaicethann xyangirktamaenwkhidkhxngkaraebngaeykniidmikarkhnphbmakxnhnaephloninprchyakhxngosoraexsetxr odyeriykwaolkminu pyya aela olkkiti smphs rwmthungaenwkhidekiywkbrthxudmkhti thiosoraexsetxreriykwa chahriwar emuxngxudmkhti swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprawtikhxngsakhawichathisuksaephlot aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidekhathungcak https th wikipedia org w index php title ephlot amp oldid 8188097, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม