fbpx
วิกิพีเดีย

เวสาลี

เวสาลี หรือ ไวศาลี (อังกฤษ: Vaishali) คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาล มีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวี ที่มีปกครองแคว้นวัชชีด้วยระบอบคณาธิปไตยแห่งแรก ๆ ของโลก (บ้างก็ว่าด้วยระบอบประชาธิปไตย) เมืองนี้เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยพุทธกาล เป็นเมืองที่มั่นแห่งสำคัญของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้น โดยพระพุทธเจ้าเคยเสด็จเยี่ยมเมืองแห่งนี้ในปีที่ 5 หลังการตรัสรู้ ตามการกราบบังคมทูลเชิญจากเจ้าผู้ครองแคว้น และในช่วงหลังพุทธกาล เมืองแห่งนี้ได้ตกเป็นของแคว้นมคธโดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรูพระราชาแห่งเมืองราชคฤห์ และหลังการล่มสลายของราชวงศ์พิมพิสารในเมืองราชคฤห์ พระราชาองค์ต่อมาจึงได้ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธมายังเมืองเวสาลี ทำให้เมืองแห่งนี้เจริญถึงขีดสุด และโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองนี้ได้เป็นสถานที่ทำทุติยสังคายนาของพระพุทธศาสนา ก่อนที่จะเสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างลงเมื่อมีการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองปาฏลีบุตรหรือเมืองปัตนะอันเป็นเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบัน

เวสาลี

वैशाली
นคร
เสาพระเจ้าอโศกและบรรยากาศโบราณสถานเมืองเวสาลีในปัจจุบัน
เวสาลี
Location in Bihar, India
พิกัดภูมิศาสตร์: 25°59′N 85°08′E / 25.99°N 85.13°E / 25.99; 85.13พิกัดภูมิศาสตร์: 25°59′N 85°08′E / 25.99°N 85.13°E / 25.99; 85.13
ประเทศ อินเดีย
รัฐพิหาร
เขตเขตเวสาลี
ภาษา
 • ทางการภาษาไมถิลี ภาษาฮินดี
เขตเวลาUTC+5:30 (เวลามาตรฐานอินเดีย)
จุดหมายแสวงบุญใน
แดนพุทธภูมิ
พุทธสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล
ลุมพินีวันพุทธคยา
สารนาถกุสินารา
เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล
สาวัตถีราชคฤห์
สังกัสสะ • เวสาลี
ปาฏลีบุตรคยา
โกสัมพีกบิลพัสดุ์
เทวทหะเกสเรียสถูป
ปาวาพาราณสี
นาลันทา
อารามสำคัญในสมัยพุทธกาล
วัดเวฬุวันมหาวิหาร
วัดเชตวันมหาวิหาร
สถานที่สำคัญหลังพุทธกาล
สาญจิ • มถุรา
ถ้ำเอลโลราถ้ำอชันตา
มหาวิทยาลัยนาลันทา

ปัจจุบันเมืองเวสาลีเป็นซากโบราณสถานอยู่ที่ตำบลบสาร์ท หรือเบสาร์ท (Basarh-Besarh) ในจังหวัดไวศาลี ที่เขตติดต่อของอำเภอสดาร์ (Sadar) กับ (Hajipur) ซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัด เมืองเวสาลีห่างจากหซิปูร์ 35 กิโลเมตร ห่างจากมุซัฟฟาร์ปูร์ 37 กิโลเมตร โดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาร์ปูร์

ความสำคัญ

เวสาลีมีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล โดยเป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากแคว้นหนึ่งในบรรดา 16 แคว้นของชมพูทวีป มีการปกครองด้วยระบบสามัคคีธรรมหรือคณาธิปไตย ที่สามารถเรียกได้ว่าเป็นการปกครองแบบประชาธิปไตยระบบหนึ่ง คือไม่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขทรงอำนาจสิทธิ์ขาด มีแต่ผู้เป็นประมุขแห่งรัฐซึ่งบริหารงานโดยความเห็นชอบจากรัฐสภา ซึ่งจะประกอบไปด้วยเหล่าสมาชิกจากเจ้าวงศ์ต่าง ๆ วึ่งรวมเป็นคณะผู้ครองแคว้น ในคัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่าเจ้าวงศ์ต่าง ๆ มีถึง 8 วงศ์ และในจำนวนนี้วงศ์เจ้าลิจฉวีแห่งเวสาลีและวงศ์เจ้าวิเทหะแห่งเมืองมิถิลาเป็นวงศ์ที่มีอิทธิพลที่สุดในสมัยพุทธกาล

ในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาที่เวสาลีหลายครั้ง แต่ละครั้งจะทรงประทับที่กูฏาคารศาลาป่ามหาวันเป็นส่วนใหญ่ พระสูตรหลายพระสูตรเกิดขึ้นที่เมืองแห่งนี้ และที่กูฏาคารศาลานี่เอง ที่เป็นที่ ๆ พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระน้านางของพระพุทธองค์ พร้อมกับบริวาร สามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้เป็นครั้งแรกในโลก และในการเสด็จครั้งสุดท้ายของพระพุทธองค์ พระองค์ได้ทรงรับสวนมะม่วงของนางอัมพปาลี นางคณิกาประจำเมืองเวสาลี ซึ่งนางได้อุทิศถวายเป็นอารามในพระพุทธศาสนา

พระพุทธองค์ได้ทรงจำพรรษาสุดท้ายที่เวฬุวคาม และได้ทรงปลงอายุสังขารที่ปาวาลเจดีย์ และเมื่อหลังพุทธปรินิพพานแล้วได้ 100 ปี ได้มีการทำสังคายาครั้งที่ 2 ณ วาลิการาม ซึ่งทั้งหมดล้วนอยู่ในเมืองเวสาลี

ในช่วงไม่นานหลังพุทธปรินิพพานของพระพุทธเจ้า เมืองเวสาลีได้ตกไปอยู่ในอำนาจของแคว้นมคธ โดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรู กษัตริย์แห่งราชคฤห์ คัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่า สาเหตุของการเสียเมืองแก่แคว้นมคธเพราะความแตกสามัคคีของเจ้าวัชชี เพราะการยุยงของวัสสการพราหมณ์ พราหมณ์ที่พระเจ้าอชาตศัตรูส่งเป็นไส้สึกเพื่อบ่อนทำลายภายใน เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูยกกองทัพมายึดเมืองจึงสามารถยึดได้โดยง่าย เพราะไม่มีเจ้าวัชชีองค์ใดต่อสู้ เพราะขัดแย้งกันเอง ทำให้แคว้นวัชชีล่มสลายและเมืองเวสาลีหมดฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นและตกไปอยู่ในอำนาจของแคว้นมคธ แต่จากเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธหลายครั้งในช่วง พ.ศ. 70 ที่เริ่มจากอำมาตย์และราษฎรพร้อมใจกันถอดกษัตริย์นาคทัสสก์แห่งราชวงศ์ของพระเจ้าพิมพิสารแห่งราชคฤห์ออกจากพระราชบัลลังก์ และยกสุสูนาคอำมาตย์ซึ่งมีเชื้อสายเจ้าลิจฉวีในกรุงเวสาลีแห่งแคว้นวัชชีเก่า ให้เป็นกษัตริย์ตั้งราชวงศ์ใหม่แล้ว พระเจ้าสุสูนาคจึงได้ทำการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองเวสาลีอันเป็นเมืองเดิมของตน ทำให้เมืองเวสาลีมีความสำคัญในฐานะเมืองหลวงอีกครั้ง แต่ทว่าก็เป็นเมืองหลวงได้ไม่นาน เพราะกษัตริย์พระองค์ต่อมาคือพระเจ้ากาลาโศกราช ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุสูนาค ได้ย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอีก จากเมืองเวสาลีไปยังเมืองปาตลีบุตร ทำให้เมืองเวสาลีถูกลดความสำคัญลงและถูกทิ้งร้าง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เมืองแห่งนี้ถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิงในช่วงพันปีถัดมา

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[1]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  2. สุนนท์ ปัทมาคม, รศ. . สมุดภาพแดนพุทธภูมิ ฉลองชนมายุ ๘๐ ปี พระสุเมธาธิบดี วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
  3. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต วัสสการสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[2]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  4. ทรงแนะวัสสการพราหมณ์ ให้โจมตีเมืองเวสาลีจริงหรือ . เว็บไซต์ธรรมะไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก <[3]>. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  5. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).พุทธสถานในอินเดีย - เวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เวสาลี สมัยพุทธกาล - จากความเจริญรุ่งเรือง สู่ ความเสื่อมในที่สุด. เว็บไซต์ลานธรรมเสวนา. เข้าถึงเมื่อ 4-6-52
  • เวสาลีหลังพุทธกาล-ประวัติศาสตร์ของเวสาลี. ห้องสมุดเว็บคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เรียกข้อมูลเมื่อ 3-6-52
  • maps.google

เวสาล, หร, ไวศาล, งกฤษ, vaishali, อเม, องโบราณในสม, ยพ, ทธกาล, ความสำค, ญในฐานะท, เป, นเม, องหลวงของคณะเจ, าล, จฉว, ปกครองแคว, นว, ชช, วยระบอบคณาธ, ปไตยแห, งแรก, ของโลก, างก, าด, วยระบอบประชาธ, ปไตย, เม, องน, เป, นเม, องท, เจร, ญร, งเร, องอย, างย, งในสม, ยพ, ท. ewsali hrux iwsali xngkvs Vaishali khuxemuxngobraninsmyphuththkal mikhwamsakhyinthanathiepnemuxnghlwngkhxngkhnaecalicchwi thimipkkhrxngaekhwnwchchidwyrabxbkhnathipityaehngaerk khxngolk bangkwadwyrabxbprachathipity emuxngniepnemuxngthiecriyrungeruxngxyangyinginsmyphuththkal epnemuxngthimnaehngsakhykhxngphraphuththsasnainsmynn odyphraphuththecaekhyesdceyiymemuxngaehngniinpithi 5 hlngkartrsru tamkarkrabbngkhmthulechiycakecaphukhrxngaekhwn aelainchwnghlngphuththkal emuxngaehngniidtkepnkhxngaekhwnmkhthodykarnakhxngphraecaxchatstruphrarachaaehngemuxngrachkhvh aelahlngkarlmslaykhxngrachwngsphimphisarinemuxngrachkhvh phrarachaxngkhtxmacungidyayemuxnghlwngaehngaekhwnmkhthmayngemuxngewsali thaihemuxngaehngniecriythungkhidsud aelaodyechphaaxyangyingemuxngniidepnsthanthithathutiysngkhaynakhxngphraphuththsasna kxnthicaesuxmkhwamsakhyaelathukthingranglngemuxmikaryayemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhthipyngemuxngpatlibutrhruxemuxngptnaxnepnemuxnghlwngkhxngrthphiharinpccubnewsaliव श ल nkhresaphraecaxoskaelabrryakasobransthanemuxngewsaliinpccubnewsaliLocation in Bihar Indiaphikdphumisastr 25 59 N 85 08 E 25 99 N 85 13 E 25 99 85 13 phikdphumisastr 25 59 N 85 08 E 25 99 N 85 13 E 25 99 85 13praeths xinediyrthphiharekhtekhtewsaliphasa thangkarphasaimthili phasahindiekhtewlaUTC 5 30 ewlamatrthanxinediy cudhmayaeswngbuyinaednphuththphumiphuththsngewchniysthan 4 tabllumphiniwn phuththkhyasarnath kusinaraemuxngsakhyinsmyphuththkalsawtthi rachkhvhsngkssa ewsalipatlibutr khyaoksmphi kbilphsduethwthha ekseriysthuppawa pharansinalnthaxaramsakhyinsmyphuththkalwdewluwnmhawiharwdechtwnmhawiharsthanthisakhyhlngphuththkalsayci mthurathaexlolra thaxchntamhawithyalynalnthadukhuyaekpccubnemuxngewsaliepnsakobransthanxyuthitablbsarth hruxebsarth Basarh Besarh incnghwdiwsali thiekhttidtxkhxngxaephxsdar Sadar kb Hajipur sungepnthitngthithakarcnghwd emuxngewsalihangcakhsipur 35 kiolemtr hangcakmusffarpur 37 kiolemtr odyxyuthangtawntkechiyngitkhxngmusffarpur enuxha 1 khwamsakhy 2 duephim 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunkhwamsakhy aekikhewsalimikhwamsakhymatngaetsmykxnphuththkal odyepnemuxnghlwngaehngaekhwnthimikhwamecriyrungeruxngmakaekhwnhnunginbrrda 16 aekhwnkhxngchmphuthwip mikarpkkhrxngdwyrabbsamkhkhithrrmhruxkhnathipity thisamartheriykidwaepnkarpkkhrxngaebbprachathipityrabbhnung khuximmiphramhakstriyepnpramukhthrngxanacsiththikhad miaetphuepnpramukhaehngrthsungbriharnganodykhwamehnchxbcakrthspha sungcaprakxbipdwyehlasmachikcakecawngstang wungrwmepnkhnaphukhrxngaekhwn inkhmphirphraphuththsasnaklawwaecawngstang mithung 8 wngs aelaincanwnniwngsecalicchwiaehngewsaliaelawngsecawiethhaaehngemuxngmithilaepnwngsthimixiththiphlthisudinsmyphuththkalinsmyphuththkal phraphuththecaekhyesdcmathiewsalihlaykhrng aetlakhrngcathrngprathbthikutakharsalapamhawnepnswnihy phrasutrhlayphrasutrekidkhunthiemuxngaehngni aelathikutakharsalaniexng thiepnthi phraphuththxngkhthrngxnuyatihphranangmhapchabdiokhtmiethri phrananangkhxngphraphuththxngkh phrxmkbbriwar samarthxupsmbthepnphiksuniidepnkhrngaerkinolk aelainkaresdckhrngsudthaykhxngphraphuththxngkh phraxngkhidthrngrbswnmamwngkhxngnangxmphpali nangkhnikapracaemuxngewsali sungnangidxuthisthwayepnxaraminphraphuththsasna 1 phraphuththxngkhidthrngcaphrrsasudthaythiewluwkham aelaidthrngplngxayusngkharthipawalecdiy aelaemuxhlngphuththpriniphphanaelwid 100 pi idmikarthasngkhayakhrngthi 2 n walikaram sungthnghmdlwnxyuinemuxngewsali 2 inchwngimnanhlngphuththpriniphphankhxngphraphuththeca emuxngewsaliidtkipxyuinxanackhxngaekhwnmkhth odykarnakhxngphraecaxchatstru kstriyaehngrachkhvh khmphirphraphuththsasnaklawwa saehtukhxngkaresiyemuxngaekaekhwnmkhthephraakhwamaetksamkhkhikhxngecawchchi 3 ephraakaryuyngkhxngwsskarphrahmn 4 phrahmnthiphraecaxchatstrusngepnissukephuxbxnthalayphayin emuxphraecaxchatstruykkxngthphmayudemuxngcungsamarthyudidodyngay ephraaimmiecawchchixngkhidtxsu ephraakhdaeyngknexng thaihaekhwnwchchilmslayaelaemuxngewsalihmdthanaemuxnghlwngaehngaekhwnaelatkipxyuinxanackhxngaekhwnmkhth aetcakehtukarnyayemuxnghlwngaehngaekhwnmkhthhlaykhrnginchwng ph s 70 thierimcakxamatyaelarasdrphrxmicknthxdkstriynakhthsskaehngrachwngskhxngphraecaphimphisaraehngrachkhvhxxkcakphrarachbllngk aelayksusunakhxamatysungmiechuxsayecalicchwiinkrungewsaliaehngaekhwnwchchieka ihepnkstriytngrachwngsihmaelw phraecasusunakhcungidthakaryayemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhthipyngemuxngewsalixnepnemuxngedimkhxngtn thaihemuxngewsalimikhwamsakhyinthanaemuxnghlwngxikkhrng aetthwakepnemuxnghlwngidimnan ephraakstriyphraxngkhtxmakhuxphraecakalaoskrach phuepnphrarachoxrskhxngphraecasusunakh idyayemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhthxik cakemuxngewsaliipyngemuxngpatlibutr thaihemuxngewsalithukldkhwamsakhylngaelathukthingrang sungepnsaehtusakhythithaihemuxngaehngnithukthingrangxyangsinechinginchwngphnpithdma 5 duephim aekikhkaraeswngbuykhxngchawphuththindinaednphuththphumixangxing aekikh phraitrpidk elmthi 10 phrasuttntpidk elmthi 2 thikhnikay mhawrrkh mhapriniphphansutr phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak lt 1 gt ekhathungemux 4 6 52 sunnth pthmakhm rs smudphaphaednphuththphumi chlxngchnmayu 80 pi phrasuemthathibdi wdmhathatuyuwrachrngsvsdi krungethphmhankhr sankphimphmhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly 2541 phraitrpidk elmthi 23 phrasuttntpidk elmthi 15 xngkhuttrnikay sttk xtthk nwknibat wsskarsutr phraitrpidkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak lt 2 gt ekhathungemux 4 6 52 thrngaenawsskarphrahmn ihocmtiemuxngewsalicringhrux ewbistthrrmaithy xxniln ekhathungidcak lt 3 gt ekhathungemux 4 6 52 phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot phuththsthaninxinediy ewluwnmhawihar emuxngrachkhvh krungethph orngphimphmhaculalngkrnrachwithyaly 2541 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ewsaliewsali smyphuththkal cakkhwamecriyrungeruxng su khwamesuxminthisud ewbistlanthrrmeswna ekhathungemux 4 6 52 ewsalihlngphuththkal prawtisastrkhxngewsali hxngsmudewbkhnaephschsastr culalngkrnmhawithyaly eriykkhxmulemux 3 6 52 maps googleekhathungcak https th wikipedia org w index php title ewsali amp oldid 8577916, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม