fbpx
วิกิพีเดีย

วัดเวฬุวัน

วัดเวฬุวันมหาวิหาร หรือ พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน เป็นอาราม (วัด) แห่งแรกในพระพุทธศาสนา ตั้งอยู่ใกล้เชิงเขาเวภารบรรพต บนริมฝั่งแม่น้ำสรัสวดีซึ่งมีตโปธาราม (บ่อน้ำร้อนโบราณ) คั่นอยู่ระหว่างกลาง นอกเขตกำแพงเมืองเก่าราชคฤห์ (อดีตเมืองหลวงของแคว้นมคธ) รัฐพิหาร ประเทศอินเดียในปัจจุบัน (หรือ แคว้นมคธ ชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล)

วัดเวฬุวันมหาวิหาร
เนินดินที่เชื่อว่าเป็นที่ตั้งของพระมูลคันธกุฎี
ชื่อสามัญพระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน
ที่ตั้งราชคฤห์ รัฐพิหารประเทศอินเดีย
ประเภทอาราม
ความพิเศษวัด​แห่งแรกในพระพุทธศาสนา
จุดสนใจพระมูลคันธกุฎี, กลุ่มป่าไผ่
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา
จุดหมายแสวงบุญใน
แดนพุทธภูมิ
พุทธสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล
ลุมพินีวันพุทธคยา
สารนาถกุสินารา
เมืองสำคัญในสมัยพุทธกาล
สาวัตถีราชคฤห์
สังกัสสะเวสาลี
ปาฏลีบุตรคยา
โกสัมพีกบิลพัสดุ์
เทวทหะเกสเรียสถูป
ปาวาพาราณสี
นาลันทา
อารามสำคัญในสมัยพุทธกาล
วัดเวฬุวันมหาวิหาร
วัดเชตวันมหาวิหาร
สถานที่สำคัญหลังพุทธกาล
สาญจิ • มถุรา
ถ้ำเอลโลราถ้ำอชันตา
มหาวิทยาลัยนาลันทา
กลุ่มป่าไผ่ร่มรื่น ในกลุ่มโบราณสถานวัดเวฬุวันมหาวิหาร

คำว่า เวฬุวัน แปลว่าสวนไผ่ เดิมอารามแห่งนี้เป็นพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์แคว้นมคธ ตั้งอยู่นอกเมืองราชคฤห์ เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จไปยังเมืองราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารเข้าไปเฝ้า หลังจากทรงสดับธรรมแล้วทรงเลื่อมใสจึงถวายสวนเวฬุวันเป็นพุทธบูชา ด้วยทรงเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่น เหมาะสำหรับอยู่บำเพ็ญธรรมของพระสงฆ์ ถือกันต่อมาว่าสถานที่นี้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา เรียกว่า วัดเวฬุวันมหาวิหาร นอกจากนี้วัดนี้ยังเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาติโมกข์แก่พระสงฆ์สาวกจำนวน 1,250 รูป แล้วส่งไปเป็นพระธรรมทูตประกาศพระศาสนา อันเป็นที่มาของวันมาฆบูชา

วัดเวฬุวันมหาวิหาร ปัจจุบันยังคงอยู่ เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่น มีสระน้ำขนาดใหญ่ภายใน มีรั้วรอบด้าน อยู่ในความดูแลของทางราชการอินเดีย

วัดเวฬุวันในสมัยพุทธกาล

เดิมวัดเวฬุวันเป็นพระราชอุทยานสำหรับเสด็จประพาสของพระเจ้าพิมพิสาร เป็นสวนป่าไผ่ร่มรื่นมีรั้วรอบและกำแพงเข้าออก เวฬุวันมีอีกชื่อหนึ่งปรากฏในพระสูตรว่า "พระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน" หรือ "เวฬุวันกลันทกนิวาป" (สวนป่าไผ่สถานที่สำหรับให้เหยื่อแก่กระแต) พระเจ้าพิมพิสารได้ถวายพระราชอุทยาน แห่งนี้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาหลังจากได้สดับพระธรรมเทศนาอนุปุพพิกถาและจตุราริยสัจจ์ ณ พระราชอุทยานลัฏฐิวัน (พระราชอุทยานสวนตาลหนุ่ม) โดยในครั้งนั้นพระองค์ได้บรรลุพระโสดาบัน เป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา และหลังจากการถวายกลันทกนิวาปสถานไม่นาน อารามแห่งนี้ก็ได้ใช้เป็นสถานที่สำหรับพระสงฆ์ประชุมจาตุรงคสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา อันเป็นเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา

วัดเวฬุวันหลังการปรินิพพาน

หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน วัดเวฬุวันได้รับการดูแลมาตลอด โดยเฉพาะมูลคันธกุฎีที่มีพระสงฆ์เฝ้าดูแลทำการปัดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะและปฏิบัติต่อสถานที่ ๆ พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ทุก ๆ แห่ง เหมือนสมัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนม์ชีพอยู่มิได้ขาด โดยมีการปฏิบัติเช่นนี้ติดต่อกันกว่าพันปี

แต่จากเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธหลายครั้งในช่วง พ.ศ. 70 ที่เริ่มจากอำมาตย์และราษฎรพร้อมใจกันถอดกษัตริย์นาคทัสสก์แห่งราชวงศ์ของพระเจ้าพิมพิสารออกจากพระราชบัลลังก์ และยกสุสูนาคอำมาตย์ซึ่งมีเชื้อสายเจ้าลิจฉวีในกรุงเวสาลีแห่งแคว้นวัชชีเก่า ให้เป็นกษัตริย์ตั้งราชวงศ์ใหม่แล้ว พระเจ้าสุสูนาคจึงได้ทำการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองเวสาลีอันเป็นเมืองเดิมของตน และกษัตริย์พระองค์ต่อมาคือพระเจ้ากาลาโศกราช ผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุสูนาค ได้ย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอีก จากเมืองเวสาลีไปยังเมืองปาตลีบุตร ทำให้เมืองราชคฤห์ถูกลดความสำคัญลงและถูกทิ้งร้าง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้วัดเวฬุวันขาดผู้อุปถัมภ์และถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิงในช่วงพันปีถัดมา

โดยปรากฏหลักฐานบันทึกของหลวงจีนฟาเหียน (Fa-hsien) ที่ได้เข้ามาสืบศาสนาในพุทธภูมิในช่วงปี พ.ศ. 942 - 947 ในช่วงรัชสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ ๒ (พระเจ้าวิกรมาทิตย์) แห่งราชวงศ์คุปตะ ซึ่งท่านได้บันทึกไว้ว่า เมืองราชคฤห์อยู่ในสภาพปรักหักพัง แต่ยังทันได้เห็นมูลคันธกุฎีวัดเวฬุวันปรากฏอยู่ และยังคงมีพระภิกษุหลายรูปช่วยกันดูแลรักษาปัดกวาดอยู่เป็นประจำ แต่ไม่ปรากฏว่ามีการบันทึกถึงสถานที่เกิดเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตแต่ประการใด

แต่หลังจากนั้นประมาณ 200 ปี วัดเวฬุวันก็ถูกทิ้งร้างไป ตามบันทึกของพระถังซำจั๋ง (Hiuen-Tsang) ​ซึ่งได้จาริกมาเมืองราชคฤห์ราวปี พ.ศ. 1300 ซึ่งท่านบันทึกไว้แต่เพียงว่า ท่านได้เห็นแต่เพียงซากมูลคันธกุฎีซึ่งมีกำแพงและอิฐล้อมรอบอยู่เท่านั้น (ในสมัยนั้นเมืองราชคฤห์โรยราถึงที่สุดแล้ว พระถังซำจั๋งได้แต่เพียงจดตำแหน่งที่ตั้งทิศทางระยะทางของสถูปและโบราณสถานเก่าแก่อื่น ๆ ในเมืองราชคฤห์ไว้มาก ทำให้เป็นประโยชน์แก่นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีในการค้นหาโบราณสถานต่าง ๆ ในเมืองราชคฤห์ในปัจจุบัน)

จุดแสวงบุญและสภาพของวัดเวฬุวันในปัจจุบัน

ปัจจุบันหลังถูกทอดทิ้งเป็นเวลากว่าพันปี และได้รับการบูรณะโดยกองโบราณคดีอินเดียในช่วงที่อินเดียยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ วัดเวฬุวัน ยังคงมีเนินดินโบราณสถานที่ยังไม่ได้ขุดค้นอีกมาก สถานที่สำคัญ ๆ ที่พุทธศาสนิกชนในปัจจุบันนิยมไปนมัสการคือ "พระมูลคันธกุฎี" ที่ปัจจุบันยังไม่ได้ทำการขุดค้น เนื่องจากมีกุโบร์ของชาวมุสลิมสร้างทับไว้ข้างบนเนินดิน, "สระกลันทกนิวาป" ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้ทำการบูรณะใหม่อย่างสวยงาม, และ "ลานจาตุรงคสันนิบาต" อันเป็นลานเล็ก ๆ มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางประทานพรอยู่กลางซุ้ม ลานนี้เป็นจุดสำคัญที่ชาวพุทธนิยมมาทำการเวียนเทียนสักการะ (ลานนี้เป็นลานที่กองโบราณคดีอินเดียสันนิษฐานว่าพระพุทธองค์ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในจุดนี้)

จุดที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในวันมาฆบูชา (ลานจาตุรงคสันนิบาต)

ไฟล์:จตุรงคสันนิบาต.jpg
ภาพพระพุทธเจ้าประชุมกับพระสาวก 1,250 รูป ในวันเพ็ญ 15 ค่ำ เดือน 3

ถึงแม้ว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตจะเป็นเหตุการณ์สำคัญยิ่งที่เกิดในบริเวณวัดเวฬุวันมหาวิหาร แต่ทว่าไม่ปรากฏรายละเอียดในบันทึกของสมณทูตชาวจีนและในพระไตรปิฎกแต่อย่างใดว่าเหตุการณ์ใหญ่นี้เกิดขึ้น ณ จุดใดของวัดเวฬุวัน รวมทั้งจากการขุดค้นทางโบราณคดีก็ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการทำเครื่องหมาย (เสาหิน) หรือสถูประบุสถานที่ประชุมจาตุรงคสันนิบาตไว้แต่อย่างใด (ตามปกติแล้วบริเวณที่เกิดเหตุการณ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา มักจะพบสถูปโบราณหรือเสาหินพระเจ้าอโศกมหาราชสร้างหรือปักไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายสำคัญสำหรับผู้แสวงบุญ) ทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถทราบโดยแน่ชัดว่าเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาตเกิดขึ้นในจุดใดของวัด

ในปัจจุบันกองโบราณคดีอินเดียได้แต่เพียงสันนิษฐานว่า "เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดในบริเวณลานด้านทิศตะวันตกของสระกลันทกนิวาป" (โดยสันนิษฐานเอาจากเอกสารหลักฐานว่าเหตุการณ์ดังกล่าวมีพระสงฆ์ประชุมกันมากถึงสองพันกว่ารูป และเกิดในช่วงที่พระพุทธองค์พึ่งได้ทรงรับถวายอารามแห่งนี้ การประชุมครั้งนั้นคงยังต้องนั่งประชุมกันตามลานในป่าไผ่ เนื่องจากเสนาสนะหรือโรงธรรมสภาขนาดใหญ่ยังคงไม่ได้สร้างขึ้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันลานด้านทิศตะวันตกของสระกลันทกนิวาป เป็นลานกว้างลานเดียวในบริเวณวัดที่ไม่มีโบราณสถานอื่นตั้งอยู่) โดยได้นำพระพุทธรูปยืนปางประทานพรไปประดิษฐานไว้บริเวณซุ้มเล็ก ๆ กลางลาน และเรียกว่า "ลานจาตุรงคสันนิบาต" ซึ่งในปัจจุบันก็ยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดว่าลานจาตุรงคสันนิบาตที่แท้จริงอยู่ในจุดใด และยังคงมีชาวพุทธบางกลุ่มสร้างซุ้มพระพุทธรูปไว้ในบริเวณอื่นของวัดโดยเชื่อว่าจุดที่ตนสร้างนั้นเป็นลานจาตุรงคสันนิบาตที่แท้จริง แต่พุทธศาสนิกชนชาวไทยส่วนใหญ่ก็เชื่อตามข้อสันนิษฐานของกองโบราณคดีอินเดียดังกล่าว โดยนิยมนับถือกันว่าซุ้มพระพุทธรูปกลางลานนี้เป็นจุดสักการะของชาวไทยผู้มาแสวงบุญจุดสำคัญ 1 ใน 2 แห่งของเมืองราชคฤห์ (อีกจุดหนึ่งคือพระมูลคันธกุฎีบนยอดเขาคิชฌกูฏ)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค วักกลิสูตร. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [1]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52
  2. Bagri, S.C. Buddhist Pilgrimages & Tours in India. Nodida : Trishul Publication, 1992
  3. พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
  4. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ ธนัญชานิสูตร
  5. อรรถกถาพระไตรปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ โอปัมมวรรค อรรถกถารถวินีตสูตร
  6. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ทรงรับพระเวฬุวันเป็นสังฆิกาวาส
  7. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑
  8. พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).พุทธสถานในอินเดีย - เวฬุวันมหาวิหาร เมืองราชคฤห์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2541.
  9. ไพโรจน์ คุ้มไพโรจน์.ตามรอยบาทพระศาสดา. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2539.
  10. อมตานันทะ,พระ และคณะ. เอกสารโครงการค้นคว้าพุทธสถานในแดนพุทธองค์ทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : เอกสารตีพิมพ์ถ่ายสำเนาจากต้นฉบับ, ม.ป.ป.

ดเวฬ, มหาว, หาร, หร, พระว, หารเวฬ, นกล, นทกน, วาปสถาน, เป, นอาราม, แห, งแรกในพระพ, ทธศาสนา, งอย, ใกล, เช, งเขาเวภารบรรพต, บนร, มฝ, งแม, ำสร, สวด, งม, ตโปธาราม, อน, ำร, อนโบราณ, นอย, ระหว, างกลาง, นอกเขตกำแพงเม, องเก, าราชคฤห, อด, ตเม, องหลวงของแคว, นมคธ, ฐพ, ห. wdewluwnmhawihar hrux phrawiharewluwnklnthkniwapsthan 1 epnxaram wd aehngaerkinphraphuththsasna tngxyuiklechingekhaewpharbrrpht bnrimfngaemnasrswdisungmitoptharam bxnarxnobran khnxyurahwangklang nxkekhtkaaephngemuxngekarachkhvh xditemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhth rthphihar praethsxinediyinpccubn hrux aekhwnmkhth chmphuthwip insmyphuththkal 2 wdewluwnmhawiharenindinthiechuxwaepnthitngkhxngphramulkhnthkudichuxsamyphrawiharewluwnklnthkniwapsthanthitngrachkhvh rthphihar praethsxinediy praephthxaramkhwamphiesswd aehngaerkinphraphuththsasna cudsnicphramulkhnthkudi klumpaiphswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnacudhmayaeswngbuyinaednphuththphumiphuththsngewchniysthan 4 tabllumphiniwn phuththkhyasarnath kusinaraemuxngsakhyinsmyphuththkalsawtthi rachkhvhsngkssa ewsalipatlibutr khyaoksmphi kbilphsduethwthha ekseriysthuppawa pharansinalnthaxaramsakhyinsmyphuththkalwdewluwnmhawiharwdechtwnmhawiharsthanthisakhyhlngphuththkalsayci mthurathaexlolra thaxchntamhawithyalynalnthadukhuyaekklumpaiphrmrun inklumobransthanwdewluwnmhawihar khawa ewluwn aeplwaswniph edimxaramaehngniepnphrarachxuthyankhxngphraecaphimphisar kstriyaekhwnmkhth tngxyunxkemuxngrachkhvh emuxphraphuththecatrsruaelwidesdcipyngemuxngrachkhvh phraecaphimphisarphrxmdwykharachbripharekhaipefa hlngcakthrngsdbthrrmaelwthrngeluxmiscungthwayswnewluwnepnphuththbucha dwythrngehnwaepnthisngbrmrun ehmaasahrbxyubaephythrrmkhxngphrasngkh thuxkntxmawasthanthiniepnwdaehngaerkinphraphuththsasna eriykwa wdewluwnmhawihar nxkcakniwdniyngepnsthanthiphraphuththecaaesdngoxwathpatiomkkhaekphrasngkhsawkcanwn 1 250 rup aelwsngipepnphrathrrmthutprakasphrasasna xnepnthimakhxngwnmakhbucha 3 wdewluwnmhawihar pccubnyngkhngxyu epnsakobransthaninswniphthirmrun misranakhnadihyphayin mirwrxbdan xyuinkhwamduaelkhxngthangrachkarxinediy enuxha 1 wdewluwninsmyphuththkal 2 wdewluwnhlngkarpriniphphan 2 1 cudaeswngbuyaelasphaphkhxngwdewluwninpccubn 3 cudthiekidehtukarnsakhyinwnmakhbucha lancaturngkhsnnibat 4 duephim 5 xangxingwdewluwninsmyphuththkal aekikhedimwdewluwnepnphrarachxuthyansahrbesdcpraphaskhxngphraecaphimphisar epnswnpaiphrmrunmirwrxbaelakaaephngekhaxxk ewluwnmixikchuxhnungpraktinphrasutrwa phrawiharewluwnklnthkniwapsthan 4 hrux ewluwnklnthkniwap swnpaiphsthanthisahrbihehyuxaekkraaet 5 phraecaphimphisaridthwayphrarachxuthyan 6 aehngniepnwdinphraphuththsasnahlngcakidsdbphrathrrmethsnaxnupuphphikthaaelacturariyscc 7 n phrarachxuthyanltthiwn phrarachxuthyanswntalhnum odyinkhrngnnphraxngkhidbrrluphraosdabn epnphraxriybukhkhlinphraphuththsasna aelahlngcakkarthwayklnthkniwapsthanimnan xaramaehngnikidichepnsthanthisahrbphrasngkhprachumcaturngkhsnnibatkhrngihyinphraphuththsasna xnepnehtukarnsakhyinwnmakhbuchawdewluwnhlngkarpriniphphan aekikhhlngphraphuththecaesdcpriniphphan wdewluwnidrbkarduaelmatlxd odyechphaamulkhnthkudithimiphrasngkhefaduaelthakarpdkwadechdthupuladxasnaaelaptibtitxsthanthi phraphuththecaekhyprathbxyuthuk aehng ehmuxnsmythiphraphuththxngkhthrngphrachnmchiphxyumiidkhad odymikarptibtiechnnitidtxknkwaphnpiaetcakehtukarnyayemuxnghlwngaehngaekhwnmkhthhlaykhrnginchwng ph s 70 thierimcakxamatyaelarasdrphrxmicknthxdkstriynakhthsskaehngrachwngskhxngphraecaphimphisarxxkcakphrarachbllngk aelayksusunakhxamatysungmiechuxsayecalicchwiinkrungewsaliaehngaekhwnwchchieka ihepnkstriytngrachwngsihmaelw phraecasusunakhcungidthakaryayemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhthipyngemuxngewsalixnepnemuxngedimkhxngtn aelakstriyphraxngkhtxmakhuxphraecakalaoskrach phuepnphrarachoxrskhxngphraecasusunakh idyayemuxnghlwngkhxngaekhwnmkhthxik cakemuxngewsaliipyngemuxngpatlibutr thaihemuxngrachkhvhthukldkhwamsakhylngaelathukthingrang sungepnsaehtusakhythithaihwdewluwnkhadphuxupthmphaelathukthingrangxyangsinechinginchwngphnpithdma 8 odyprakthlkthanbnthukkhxnghlwngcinfaehiyn Fa hsien thiidekhamasubsasnainphuththphumiinchwngpi ph s 942 947 inchwngrchsmykhxngphraecacnthrkhuptthi 2 phraecawikrmathity aehngrachwngskhupta sungthanidbnthukiwwa emuxngrachkhvhxyuinsphaphprkhkphng aetyngthnidehnmulkhnthkudiwdewluwnpraktxyu aelayngkhngmiphraphiksuhlayrupchwyknduaelrksapdkwadxyuepnpraca aetimpraktwamikarbnthukthungsthanthiekidehtukarncaturngkhsnnibataetprakaridaethlngcaknnpraman 200 pi wdewluwnkthukthingrangip tambnthukkhxngphrathngsacng Hiuen Tsang sungidcarikmaemuxngrachkhvhrawpi ph s 1300 sungthanbnthukiwaetephiyngwa thanidehnaetephiyngsakmulkhnthkudisungmikaaephngaelaxithlxmrxbxyuethann insmynnemuxngrachkhvhoryrathungthisudaelw phrathngsacngidaetephiyngcdtaaehnngthitngthisthangrayathangkhxngsthupaelaobransthanekaaekxun inemuxngrachkhvhiwmak thaihepnpraoychnaeknkprawtisastraelankobrankhdiinkarkhnhaobransthantang inemuxngrachkhvhinpccubn cudaeswngbuyaelasphaphkhxngwdewluwninpccubn aekikh pccubnhlngthukthxdthingepnewlakwaphnpi aelaidrbkarburnaodykxngobrankhdixinediyinchwngthixinediyyngepnxananikhmkhxngxngkvs wdewluwn yngkhngmienindinobransthanthiyngimidkhudkhnxikmak sthanthisakhy thiphuththsasnikchninpccubnniymipnmskarkhux phramulkhnthkudi thipccubnyngimidthakarkhudkhn enuxngcakmikuobrkhxngchawmuslimsrangthbiwkhangbnenindin sraklnthkniwap sungpccubnrthbalxinediyidthakarburnaihmxyangswyngam aela lancaturngkhsnnibat xnepnlanelk misumpradisthanphraphuththrupyunpangprathanphrxyuklangsum lanniepncudsakhythichawphuththniymmathakarewiynethiynskkara lanniepnlanthikxngobrankhdixinediysnnisthanwaphraphuththxngkhthrngaesdngoxwathpatiomkkhincudni 9 cudthiekidehtukarnsakhyinwnmakhbucha lancaturngkhsnnibat aekikhifl cturngkhsnnibat jpg phaphphraphuththecaprachumkbphrasawk 1 250 rup inwnephy 15 kha eduxn 3 thungaemwaehtukarncaturngkhsnnibatcaepnehtukarnsakhyyingthiekidinbriewnwdewluwnmhawihar aetthwaimpraktraylaexiydinbnthukkhxngsmnthutchawcinaelainphraitrpidkaetxyangidwaehtukarnihyniekidkhun n cudidkhxngwdewluwn rwmthngcakkarkhudkhnthangobrankhdikimprakthlkthanwamikarthaekhruxnghmay esahin hruxsthuprabusthanthiprachumcaturngkhsnnibatiwaetxyangid tampktiaelwbriewnthiekidehtukarnsakhythangphraphuththsasna mkcaphbsthupobranhruxesahinphraecaxoskmharachsranghruxpkiwephuxepnekhruxnghmaysakhysahrbphuaeswngbuy thaihinpccubnimsamarththrabodyaenchdwaehtukarncaturngkhsnnibatekidkhunincudidkhxngwdinpccubnkxngobrankhdixinediyidaetephiyngsnnisthanwa ehtukarndngklawekidinbriewnlandanthistawntkkhxngsraklnthkniwap odysnnisthanexacakexksarhlkthanwaehtukarndngklawmiphrasngkhprachumknmakthungsxngphnkwarup aelaekidinchwngthiphraphuththxngkhphungidthrngrbthwayxaramaehngni karprachumkhrngnnkhngyngtxngnngprachumkntamlaninpaiph enuxngcakesnasnahruxorngthrrmsphakhnadihyyngkhngimidsrangkhun aelaodyechphaaxyangyinginpccubnlandanthistawntkkhxngsraklnthkniwap epnlankwanglanediywinbriewnwdthiimmiobransthanxuntngxyu odyidnaphraphuththrupyunpangprathanphrippradisthaniwbriewnsumelk klanglan aelaeriykwa lancaturngkhsnnibat sunginpccubnkyngimmikhxsrupaenchdwalancaturngkhsnnibatthiaethcringxyuincudid aelayngkhngmichawphuththbangklumsrangsumphraphuththrupiwinbriewnxunkhxngwdodyechuxwacudthitnsrangnnepnlancaturngkhsnnibatthiaethcring aetphuththsasnikchnchawithyswnihykechuxtamkhxsnnisthankhxngkxngobrankhdixinediydngklaw odyniymnbthuxknwasumphraphuththrupklanglanniepncudskkarakhxngchawithyphumaaeswngbuycudsakhy 1 in 2 aehngkhxngemuxngrachkhvh xikcudhnungkhuxphramulkhnthkudibnyxdekhakhichchkut 10 phraphuththrupyunklangmnthlobransthanwdewluwnmhawihar emuxngrachkhvh rthphihar xinediy epnphraphuththrupsrangihm pccubnepnpuchniywtthusakhykhxngwdewluwn klumpaiphinwdewluwnmhawihar thimakhxngchuxewluwn wdpaiph hruxwdiphlxm sraobkkhrniklnthkniwap srana klangwdewluwnmhawihar phraphuththecaekhyaesdngphrasutrhlayphrasutrthini sumphraphuththrupphayinobransthanwdewluwnmhawiharduephim aekikhkaraeswngbuykhxngchawphuththindinaednphuththphumi wnmakhbucha ehtukarnsakhythiekidinwdewluwnmhawiharxangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb wdewluwn phraitrpidk elmthi 17 phrasuttntpidk elmthi 9 sngyuttnikay khnthwarwrrkh wkklisutr phraitrpitkchbbsyamrth xxniln ekhathungidcak 1 ekhathungemux 5 6 52 Bagri S C Buddhist Pilgrimages amp Tours in India Nodida Trishul Publication 1992 phrathrrmkittiwngs thxngdi suretoch p th 9 rachbnthit phcnanukrmephuxkarsuksaphuththsasn chud khawd wdrachoxrsaram krungethph ph s 2548 phraitrpidk elmthi 13 phrasuttntpidk elmthi 5 mchchimnikay mchchimpnnask thnychanisutr xrrthkthaphraitrpidk mchchimnikay mulpnnask oxpmmwrrkh xrrthktharthwinitsutr phraitrpidk elmthi 4 phrawinypidk elmthi 4 mhawrrkh phakh 1 thrngrbphraewluwnepnsngkhikawas phraitrpidk elmthi 4 phrawinypidk elmthi 4 mhawrrkh phakh 1 phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot phuththsthaninxinediy ewluwnmhawihar emuxngrachkhvh krungethph orngphimphmhaculalngkrnrachwithyaly 2541 iphorcn khumiphorcn tamrxybathphrasasda krungethph sankphimphthrrmspha 2539 xmtanntha phra aelakhna exksarokhrngkarkhnkhwaphuththsthaninaednphuththxngkhthangwichakar krungethphmhankhr exksartiphimphthaysaenacaktnchbb m p p ekhathungcak https th wikipedia org w index php title wdewluwn amp oldid 9435158, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม