fbpx
วิกิพีเดีย

เส้นใยรับความรู้สึกแบบ 1a

เส้นใยรับความรู้สึกแบบ 1a หรือ เส้นใยประสาทรับความรู้สึกแบบ 1a หรือ เส้นใยนำเข้าปฐมภูมิ หรือ เส้นใยประสาทนำเข้าปฐมภูมิ (อังกฤษ: type Ia sensory fiber, primary afferent fiber) เป็นเส้นใยประสาทนำเข้าชนิดหนึ่ง มีปลอกไมอีลิน มีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 12-20 ไมโครเมตร เป็นเส้นใยประสาทรับความรู้สึกของตัวรับการยืดในกล้ามเนื้อที่เรียกว่า muscle spindle (กระสวยกล้ามเนื้อ) ซึ่งสามารถรับรู้ความยาวและอัตราการเปลี่ยนความยาวของกล้ามเนื้อ

muscle spindle กับเส้นใยประสาทสั่งการแกมมาและเส้นใยประสาทรับความรู้สึกแบบ 1a


การทำงานของกระสวยกล้ามเนื้อ

ดูบทความหลักที่: muscle spindle

เพื่อให้ร่างกายสามารถขยับได้ดี ระบบประสาทต้องมีข้อมูลความรู้สึกอย่างต่อเนื่องที่ได้จากอวัยวะต่าง ๆ เช่น กล้ามเนื้อและข้อต่อ ร่างกายจึงได้พัฒนาตัวรับความรู้สึกพิเศษที่เรียกว่า ตัวรับรู้อากัปกิริยา (proprioceptor) กระสวยกล้ามเนื้อเป็นตัวรับรู้อากัปกิริยาประเภทหนึ่งซึ่งพบในกล้ามเนื้อเอง และทอดขนานไปกับเส้นใยกล้ามเนื้อธรรมดาที่เป็นตัวออกแรงกล้ามเนื้อจริง ๆ ซึ่งทำให้ร่างกายสามารถรับรู้ความยาวกล้ามเนื้อได้อย่างแม่นยำ

ประเภทใยประสาทรับความรู้สึก

ความยาวกล้ามเนื้อที่เปลี่ยนแปรไปจะถ่ายโอนเป็นศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) โดยใยประสาทนำเข้าสองชนิดซึ่งมีตัวเซลล์อยู่ที่ปมประสาทรากหลังอันอยู่ต่อจากไขสันหลัง สองชนิดนี้ส่งกระแสประสาทต่างกันตามตารางต่อไปนี้

ใยประสาทรับความรู้สึก
ประเภท ปฐมภูมิ/
ทุติยภูมิ
การตอบสนอง
แบบ 1a ปฐมภูมิ ตอบสนองต่ออัตราการเปลี่ยนแปลงความยาวขจองกล้ามเนื้อ และความเร่งการเปลี่ยนแปลง ปรับตัวอย่างรวดเร็ว (rapidly adapting)
แบบ 1b - อยู่ใน Golgi tendon organ ตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงความตึงของกล้ามเนื้อ
แบบ 2 ทุติยภูมิ ให้ข้อมูลตำแหน่งของกล้ามเนื้อแบบสถิต ปรับตัวอย่างช้า ๆ (slowly adapting)

ใยประสาทรับความรู้สึก 1a มัดเป็นขดรอบเส้นใยกล้ามเนื้อในกระสวย คือ intrafusal muscle fiber เป็นใยประสาทประเภทที่ใหญ่สุดและเร็วสุด และส่งกระแสประสาทเมื่อกล้ามเนื้อกำลังยืดออก จัดว่าปรับตัวเร็ว เพราะเมื่อกล้ามเนื้อเลิกเปลี่ยนความยาว มันก็หยุดส่งกระแสประสาทคือปรับตัวเข้ากับความยาวใหม่ เท่ากับส่งข้อมูลอากัปกิริยาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนความยาวของกล้ามเนื้อ เป็นข้อมูลอนุพันธ์ของความยาว/ตำหแน่งกล้ามเนื้อ

ใยประสาทรับความรู้สึก 1a เชื่อมกับเส้นใยกล้ามเนื้อในกระสวยทั้งแบบ nuclear bag fiber และ nuclear chain fiber โดยมีปลายมัดเป็นขดรอบ (annulospiral) เส้นใยกล้ามเนื้อ คำภาษาอังกฤษคือ annulospiral มาจากคำละตินว่า annulus ซึ่งแปลว่า บริเวณหรือโครงสร้างมีรูปวงแหวน

ปลายในระบบประสาทส่วนกลาง

เส้นประสาทรับความรู้สึกเกี่ยวกับอากัปกิริยา ส่งผ่าน dorsal root เข้าไปในไขสันหลัง โดยแยกส่งขึ้นลงและส่งสาขาไปยังปล้องไขสันหลังระดับต่าง ๆ สาขาบางส่วนไปไซแนปส์กับเซลล์ประสาทที่ dorsal horn ของไขสันหลังและบางส่วนที่ ventral horn (ซึ่งเป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทสั่งการ) สาขาเหล่านี้อำนวยการตอบสนองต่าง ๆ รวมทั้งรีเฟล็กซ์เข่า (stretch reflex) ส่วนวิถีประสาทที่ส่งขึ้นไปยังสมองแม้จะมีบางส่วนที่คล้ายกับวิถีประสาทส่งความรู้สึกทางผิวหนัง แต่ก็ต่างกันเพราะวิถีประสาทการรับรู้อากัปกิริยาต้องส่งข้อมูลไปยังสมองน้อยด้วย ซึ่งเป็นตัวควบคุมเวลาและลำดับการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเมื่อเคลื่อนไหวร่างกายใต้อำนาจจิตใจ

ดูเพิ่มที่ วิถีประสาทของการรับรู้อากัปกิริยา

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕ ให้ความหมายของคำเหล่านี้คือ
    • fibre, nerve = (แพทยศาสตร์) เส้นใยประสาท
    • fibre = (วิทยาศาสตร์) ๑. เส้นใย ๒. (พฤกษ.) เซลล์เส้นใย
    • sensory = (แพทยศาสตร์) -รับความรู้สึก
    • afferent = (แพทยศาสตร์, วิทยาศาสตร์) -นำเข้า
  2. Boyd, I. A. (1980). "The isolated mammalian muscle spindle". Trends in Neurosciences. 3 (11): 258–277. doi:10.1016/0166-2236(80)90096-X.
  3. Pearson, Keir G; Gordon, James E (2013). "35 - Spinal Reflexes". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. Table 35-1 Classification of Sensory Fibers from Muscle, p. 796. ISBN 978-0-07-139011-8.CS1 maint: ref=harv (link)
  4. Michael-Titus, Adina T (2007). Nervous System: Systems of the Body Series. Churchill Livingstone. ISBN 9780443071799.
  5. "annulus - Wiktionary". en.wiktionary.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-10-22. a ring-shaped area or structure
  6. Purves et al (2018), Central Pathways Conveying Proprioceptive Information from the Body, pp. 204-205

แหล่งข้อมูลอื่น

เส, นใยร, บความร, กแบบ, หร, เส, นใยประสาทร, บความร, กแบบ, หร, เส, นใยนำเข, าปฐมภ, หร, เส, นใยประสาทนำเข, าปฐมภ, งกฤษ, type, sensory, fiber, primary, afferent, fiber, เป, นเส, นใยประสาทนำเข, าชน, ดหน, ปลอกไมอ, เส, นผ, าศ, นย, กลางระหว, าง, ไมโครเมตร, เป, นเส, น. esniyrbkhwamrusukaebb 1a hrux esniyprasathrbkhwamrusukaebb 1a hrux esniynaekhapthmphumi hrux esniyprasathnaekhapthmphumi 1 xngkvs type Ia sensory fiber primary afferent fiber epnesniyprasathnaekhachnidhnung 2 miplxkimxilin miesnphasunyklangrahwang 12 20 imokhremtr epnesniyprasathrbkhwamrusukkhxngtwrbkaryudinklamenuxthieriykwa muscle spindle kraswyklamenux sungsamarthrbrukhwamyawaelaxtrakarepliynkhwamyawkhxngklamenux 3 muscle spindle kbesniyprasathsngkaraekmmaaelaesniyprasathrbkhwamrusukaebb 1a enuxha 1 karthangankhxngkraswyklamenux 2 praephthiyprasathrbkhwamrusuk 3 playinrabbprasathswnklang 4 duephim 5 echingxrrthaelaxangxing 6 aehlngkhxmulxunkarthangankhxngkraswyklamenux aekikhdubthkhwamhlkthi muscle spindle ephuxihrangkaysamarthkhybiddi rabbprasathtxngmikhxmulkhwamrusukxyangtxenuxngthiidcakxwywatang echn klamenuxaelakhxtx rangkaycungidphthnatwrbkhwamrusukphiessthieriykwa twrbruxakpkiriya proprioceptor kraswyklamenuxepntwrbruxakpkiriyapraephthhnungsungphbinklamenuxexng aelathxdkhnanipkbesniyklamenuxthrrmdathiepntwxxkaerngklamenuxcring sungthaihrangkaysamarthrbrukhwamyawklamenuxidxyangaemnyapraephthiyprasathrbkhwamrusuk aekikhkhwamyawklamenuxthiepliynaepripcathayoxnepnskyeyuxhumesll membrane potential odyiyprasathnaekhasxngchnidsungmitwesllxyuthipmprasathrakhlngxnxyutxcakikhsnhlng sxngchnidnisngkraaesprasathtangkntamtarangtxipni iyprasathrbkhwamrusuk 4 praephth pthmphumi thutiyphumi kartxbsnxngaebb 1a pthmphumi txbsnxngtxxtrakarepliynaeplngkhwamyawkhcxngklamenux aelakhwamerngkarepliynaeplng prbtwxyangrwderw rapidly adapting aebb 1b xyuin Golgi tendon organ txbsnxngtxkhwamepliynaeplngkhwamtungkhxngklamenuxaebb 2 thutiyphumi ihkhxmultaaehnngkhxngklamenuxaebbsthit prbtwxyangcha slowly adapting iyprasathrbkhwamrusuk 1a mdepnkhdrxbesniyklamenuxinkraswy khux intrafusal muscle fiber epniyprasathpraephththiihysudaelaerwsud aelasngkraaesprasathemuxklamenuxkalngyudxxk cdwaprbtwerw ephraaemuxklamenuxelikepliynkhwamyaw mnkhyudsngkraaesprasathkhuxprbtwekhakbkhwamyawihm ethakbsngkhxmulxakpkiriyaekiywkbxtrakarepliynkhwamyawkhxngklamenux epnkhxmulxnuphnthkhxngkhwamyaw tahaenngklamenuxiyprasathrbkhwamrusuk 1a echuxmkbesniyklamenuxinkraswythngaebb nuclear bag fiber aela nuclear chain fiber odymiplaymdepnkhdrxb annulospiral esniyklamenux khaphasaxngkvskhux annulospiral macakkhalatinwa annulus sungaeplwa briewnhruxokhrngsrangmirupwngaehwn 5 playinrabbprasathswnklang aekikhesnprasathrbkhwamrusukekiywkbxakpkiriya sngphan dorsal root ekhaipinikhsnhlng odyaeyksngkhunlngaelasngsakhaipyngplxngikhsnhlngradbtang sakhabangswnipisaenpskbesllprasaththi dorsal horn khxngikhsnhlng aelabangswnthi ventral horn sungepnthixyukhxngesllprasathsngkar sakhaehlanixanwykartxbsnxngtang rwmthngrieflksekha stretch reflex swnwithiprasaththisngkhunipyngsmxngaemcamibangswnthikhlaykbwithiprasathsngkhwamrusukthangphiwhnng aetktangknephraawithiprasathkarrbruxakpkiriyatxngsngkhxmulipyngsmxngnxydwy sungepntwkhwbkhumewlaaelaladbkarhdekrngkhxngklamenuxemuxekhluxnihwrangkayitxanaccitic 6 duephimthi withiprasathkhxngkarrbruxakpkiriyaduephim aekikhMuscle spindle Intrafusal muscle fiber esllprasathsngkaraekmma karrbruxakpkiriya rabbprasathsngkar klamenuxechingxrrthaelaxangxing aekikh sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 ihkhwamhmaykhxngkhaehlanikhux fibre nerve aephthysastr esniyprasath fibre withyasastr 1 esniy 2 phvks esllesniy sensory aephthysastr rbkhwamrusuk afferent aephthysastr withyasastr naekha Boyd I A 1980 The isolated mammalian muscle spindle Trends in Neurosciences 3 11 258 277 doi 10 1016 0166 2236 80 90096 X Pearson Keir G Gordon James E 2013 35 Spinal Reflexes in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill Table 35 1 Classification of Sensory Fibers from Muscle p 796 ISBN 978 0 07 139011 8 CS1 maint ref harv link Michael Titus Adina T 2007 Nervous System Systems of the Body Series Churchill Livingstone ISBN 9780443071799 annulus Wiktionary en wiktionary org phasaxngkvs subkhnemux 2018 10 22 a ring shaped area or structure Purves et al 2018 Central Pathways Conveying Proprioceptive Information from the Body pp 204 205aehlngkhxmulxun aekikhPurves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel Mooney Richard D Platt Michael L White Leonard E b k 2018 Chapter 9 The Somatosensory System Touch and Proprioception Neuroscience 6th ed Sinauer Associates ISBN 9781605353807 Lecture notes Archived 2006 12 07 thi ewyaebkaemchchin from John D C Lambert on neurophysiology http highered mcgraw hill com sites 0070272468 student view0 chapter9 chapter overview html ekhathungcak https th wikipedia org w index php title esniyrbkhwamrusukaebb 1a amp oldid 9686243, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม