fbpx
วิกิพีเดีย

เส้นใยประสาทนำเข้า

เส้นใยประสาทนำเข้า (อังกฤษ: afferent nerve fiber) หมายถึงแอกซอนที่ส่งเข้าไปยังบริเวณสมองบริเวณหนึ่ง ๆ เทียบกับเส้นใยประสาทนำออก (efferent nerve fiber) ซึ่งหมายถึงแแอกซอนที่ส่งออกจากบริเวณสมองบริเวณหนึ่ง ๆ คำเหล่านี้มีความหมายต่างกันเล็กน้อยสำหรับระบบประสาทนอกส่วนกลาง (PNS) และระบบประสาทกลาง (CNS)

เส้นใยประสาทนำเข้า
(Afferent nerve fiber)
เซลล์ประสาทนำเข้าและเซลล์ประสาทนำออก เซลล์ประสาทนำเข้ามีเส้นใยประสาทที่นำข้อมูลความรู้สึกจากผิวหนังไปยังไขสันหลัง
รายละเอียด
ระบบระบบประสาท
ตัวระบุ
ภาษาละตินneurofibrae afferentes
TA98A14.2.00.017
THH2.00.06.1.00015
FMA76570
ศัพท์กายวิภาคศาสตร์ของประสาทกายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

ใน PNS เส้นใยประสาทนำเข้าและเส้นใยประสาทนำออกจะมองจากไขสันหลัง (ดูรูป) เส้นใยประสาทนำเข้าก็คือแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ส่งข้อมูลความรู้สึกจากร่างกายเข้าไปยังไขสันหลัง ส่วนเส้นใยประสาทนำออกก็คือเซลล์ประสาทสั่งการที่ไขสันหลังซึ่งส่งกระแสประสาทสั่งการเคลื่อนไหวจากไขสันหลังไปยังกล้ามเนื้อ

ใน CNS เส้นใยประสาทนำเข้าและเส้นใยประสาทนำออกอาจมองจากบริเวณสมองส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ ซึ่งก็คือ สมองแต่ละเขตจะมีเส้นใยประสาทนำเข้าและเส้นใยประสาทนำออกเป็นของตน ๆ จะจำให้ง่ายก็คือ จากมุมมองของสมองส่วนใดส่วนหนึ่ง afferents เป็นเส้นใยประสาทที่เข้ามาถึง (arriving) และ efferents เป็นเป็นเส้นใยประสาทที่ออกไป (exiting)

โครงสร้าง

 
ระเบียบระบบประสาท ระบบสั่งการ (Motor) และระบบรับความรู้สึก (Sensory)

เซลล์ประสาทนำเข้าเป็นเซลลประสาทขั้วเดียวเทียม (pseudounipolar neuron) ซึ่งมีแอกซอนเดียวที่ออกจากตัวเซลล์แล้วแบ่งเป็น 2 สาขา สาขายาวส่งไปที่อวัยวะรับความรู้สึก และสาขาสั้นส่งไปทางระบบประสาทกลาง (เช่นไขสันหลัง) เซลล์เช่นนี้ไม่มีเดนไดรต์ มีตัวเซลล์ (soma) กลมเรียบอยู่ที่ปมประสาท (ganglion) ของระบบประสาทนอกส่วนกลางนอกไขสันหลังเล็กน้อย มีเซลล์ประสาทนำเข้าอยู่รวมกันเป็นพัน ๆ เป็นปมที่รากหลังของประสาทไขสันหลังซึ่งเรียกว่า ปมประสาทรากหลัง (dorsal root ganglion)

แอกซอนจากปมประสาทรากหลัง (dorsal root ganglion) ซึ่งเป็นเส้นใยประสาทนำเข้า ใช้ส่งข้อมูลความรู้สึกทางกาย รวมทั้งความเจ็บปวด สัมผัส อุณหภูมิ ความคัน และแรงยืด ยกตัวอย่างเช่น มีใยประสาทพิเศษชนิดหนึ่งเรียกว่า intrafusal muscle fiber เป็นเซลล์ประสาทนำเข้าที่อยู่ขนานกับ extrafusal muscle fibers และทำหน้าที่เป็นตัวรู้ความยืด (stretch receptor) โดยตรวจจับความยาวของกล้ามเนื้อ

ความรู้สึกทั้งหมดเหล่านี้ดำเนินไปทางวิถีประสาทต่าง ๆ กันไปยังสมอง เช่น วิถีประสาทหนึ่งที่เรียกว่า dorsal column-medial lemniscus pathway ส่งข้อมูลเกี่ยวกับสัมผัสละเอียดและอากัปกิริยาจากร่างกายรวมศีรษะครึ่งหลัง ผ่านเส้นใยประสาทนำเข้าของปมประสาทรากหลัง (เป็น first order neuron) ผ่านไขสันหลังไปยังทาลามัส แล้วต่อไปยังคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย โดย first order neuron ส่งแอกซอนขึ้นผ่าน dorsal column ในไขสันหลังซีกร่างกายเดียวกันไปยัง second order neuron ที่ dorsal column nuclei ในก้านสมองซีกกายเดียวกัน ซึ่งก็ส่งแอกซอนข้ามไขว้ทแยง (decussate) ที่ medulla (ในก้านสมองเช่นกัน) ผ่าน medial lemniscus ไปยัง third order neuron ในทาลามัสซึ่งก็จะส่งแอกซอนไปสุดที่คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortex/postcentral gyrus) ของสมองกลีบข้าง

ดูเพิ่มที่ วิถีประสาทของระบบรับความรู้สึกทางกาย

ประเภท

ประเภทของใยประสาทนำเข้ารวมทั้ง general somatic afferent fibers (GSA), general visceral afferent fibers (GVA), special somatic afferent fibers (SSA) และ special visceral afferent fibers (SVA)

อนึ่ง ในระบบรับความรู้สึก ใยประสาทนำเข้าจะมีขนาดต่าง ๆ โดยจัดเป็นหมวด ๆ ขึ้นอยู่ว่าเป็นใยประสาทจากกล้ามเนื้อหรือที่ผิวหนัง

ประเภทใยประสาทรับความรู้สึก (sensory fiber)
ปลอกไมอีลิน เส้นผ่าศูนย์กลาง (µm) ความเร็ว (m/s) จากกล้ามเนื้อ จากผิวหนัง ตัวรับความรู้สึก
หนา 12-20 72-120 I ตัวรับแรงกลเกี่ยวกับอากัปกิริยา (Muscle spindle, Golgi tendon organ)
กลาง 6-12 35-75 II Merkel, Meissner, Pacinian, Ruffini, Muscle spindle (secondary ending)
บาง 1-6 4-36 III ปลายประสาทอิสระ
ไม่มี 0.2-1.5 0.4-2.0 IV C ปลายประสาทอิสระ


หน้าที่

ระบบประสาทเป็นระบบ "วงจรปิด" ที่มีการรับความรู้สึก การตัดสินใจ และการตอบสนอง เป็นกระบวนการเนื่องกับการทำงานของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron), อินเตอร์นิวรอน และเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) ยกตัวอย่างเช่น สัมผัสหรือตัวกระตุ้นที่ทำให้เจ็บ สมองจะรู้สึกก็ต่อเมื่อได้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวกระตุ้นผ่านเส้นใยประสาทนำเข้า

วลีและคำช่วยจำ

คำว่า afferent มาจากรูปกิริยาขยาย (participle) ของคำละตินว่า afferentem (af- = ad- : to + ferre : แบก, ถือ) ซึ่งหมายความว่า แบก/ถือเข้าไปยัง คำอุปสรรค ad และ ex จึงสามารถใช้เป็นเครื่องช่วยจำแนกระหว่างคำ afferent กับ efferent คือ afferent = arrives (มาถึง) และ efferent = exits (ออก)

วลีช่วยจำอีกอย่างสำหรับเส้นใยประสาทนำเข้าและนำออกที่ออกมาจากรากสองรากที่ไขสันหลังก็คือ SAME DAVE ขยายว่า Sensory Afferent Motor Efferent (ใยประสาทนำเข้าเป็นใยรับความรู้สึก ใยประสาทนำออกเป็นใยประสาทสั่งการ), Dorsal Afferent Ventral Efferent (ใยประสาทนำเข้าเข้าไปที่รากหลัง ใยประสาทนำออกออกมาจากรากหน้า)

อนึ่ง afferent และ efferent ยังเชื่อมกับคำว่า affect (มีผล) และ effect (ทำให้เกิดผล) เพราะมีรากเดียวกัน ดังนั้น afferent nerves affect the subject (ใยประสาทนำเข้า เช่นความรู้สึก มีผลต่อบุคคล) เทียบกับ efferent nerves allow the subject to effect change (ประสาทสั่งการให้เคลื่อนไหวทำให้บุคคลสามารถทำผลให้เกิด)

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

    • "fibre, nerve", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) เส้นใยประสาท
    • "afferent", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) -นำเข้า
  1. Mader, SS (2000). Human biology. New York: McGraw-Hill. ISBN 0-07-290584-0.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  2. Hall, JE; Guyton, AC (2006). Textbook of medical physiology (11th ed.). St. Louis, Mo: Elsevier Saunders. ISBN 0-7216-0240-1.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  3. Warrell, DA; Cox, TM; Firth, JD (2010). The Oxford Textbook of Medicine (5th ed.). Oxford University Press.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  4. Carlson, Neil. Physiology of Behavior. Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc. ISBN 9780205239399.
  5. MacCallum, Don. . Histology and Virtual Microscopy Learning Resources. University of Michigan Medical School. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2014-07-07. สืบค้นเมื่อ 2014-06-24. Unknown parameter |dead-url= ignored (help)
  6. Gardner & Johnson (2013), pp. 488-495
  7. Gardner & Johnson (2013), p. 477
  8. Pearson, Keir G; Gordon, James E (2013). "35 - Spinal Reflexes". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. Table 35-1 Classification of Sensory Fibers from Muscle, p. 796. ISBN 978-0-07-139011-8.CS1 maint: ref=harv (link)
  9. Purves, Dale; Augustine, George J; Fitzpatrick, David; Hall, William C; Lamantia, Anthony Samuel; McNamara, James O; White, Leonard E, บ.ก. (2008a). "9 - The Somatic Sensory System: Touch and Proprioception". Neuroscience (4th ed.). Sinauer Associates. p. 210. ISBN 978-0-87893-697-7.
  10. MedicalMnemonics.com (วลึช่วยจำทางการแพทย์): 3502 3463 367 115

อ้างอิงอื่น ๆ

  • Gardner, Esther P; Johnson, Kenneth O (2013). "22 - The Somatosensory System: Receptors and Central Pathway". ใน Kandel, Eric R; Schwartz, James H; Jessell, Thomas M; Siegelbaum, Steven A; Hudspeth, AJ (บ.ก.). Principles of Neural Science (5th ed.). United State of America: McGraw-Hill. ISBN 978-0-07-139011-8.CS1 maint: ref=harv (link)

เส, นใยประสาทนำเข, งกฤษ, afferent, nerve, fiber, หมายถ, งแอกซอนท, งเข, าไปย, งบร, เวณสมองบร, เวณหน, เท, ยบก, บเส, นใยประสาทนำออก, efferent, nerve, fiber, งหมายถ, งแแอกซอนท, งออกจากบร, เวณสมองบร, เวณหน, คำเหล, าน, ความหมายต, างก, นเล, กน, อยสำหร, บระบบประสาทนอก. esniyprasathnaekha 1 xngkvs afferent nerve fiber hmaythungaexksxnthisngekhaipyngbriewnsmxngbriewnhnung ethiybkbesniyprasathnaxxk efferent nerve fiber sunghmaythungaeaexksxnthisngxxkcakbriewnsmxngbriewnhnung khaehlanimikhwamhmaytangknelknxysahrbrabbprasathnxkswnklang PNS aelarabbprasathklang CNS esniyprasathnaekha Afferent nerve fiber esllprasathnaekhaaelaesllprasathnaxxk esllprasathnaekhamiesniyprasaththinakhxmulkhwamrusukcakphiwhnngipyngikhsnhlngraylaexiydrabbrabbprasathtwrabuphasalatinneurofibrae afferentesTA98A14 2 00 017THH2 00 06 1 00015FMA76570sphthkaywiphakhsastrkhxngprasathkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths in PNS esniyprasathnaekhaaelaesniyprasathnaxxkcamxngcakikhsnhlng durup esniyprasathnaekhakkhuxaexksxnkhxngesllprasathrbkhwamrusukthisngkhxmulkhwamrusukcakrangkayekhaipyngikhsnhlng swnesniyprasathnaxxkkkhuxesllprasathsngkarthiikhsnhlngsungsngkraaesprasathsngkarekhluxnihwcakikhsnhlngipyngklamenux 2 3 4 in CNS esniyprasathnaekhaaelaesniyprasathnaxxkxacmxngcakbriewnsmxngswnidswnhnungkid sungkkhux smxngaetlaekhtcamiesniyprasathnaekhaaelaesniyprasathnaxxkepnkhxngtn cacaihngaykkhux cakmummxngkhxngsmxngswnidswnhnung afferents epnesniyprasaththiekhamathung arriving aela efferents epnepnesniyprasaththixxkip exiting enuxha 1 okhrngsrang 1 1 praephth 2 hnathi 3 wliaelakhachwyca 4 duephim 5 echingxrrthaelaxangxing 6 xangxingxun okhrngsrang aekikh raebiybrabbprasath rabbsngkar Motor aelarabbrbkhwamrusuk Sensory esllprasathnaekhaepnesllprasathkhwediywethiym pseudounipolar neuron sungmiaexksxnediywthixxkcaktwesllaelwaebngepn 2 sakha sakhayawsngipthixwywarbkhwamrusuk aelasakhasnsngipthangrabbprasathklang echnikhsnhlng 5 esllechnniimmiednidrt 6 mitwesll soma klmeriybxyuthipmprasath ganglion khxngrabbprasathnxkswnklangnxkikhsnhlngelknxy miesllprasathnaekhaxyurwmknepnphn epnpmthirakhlngkhxngprasathikhsnhlngsungeriykwa pmprasathrakhlng dorsal root ganglion 5 6 aexksxncakpmprasathrakhlng dorsal root ganglion sungepnesniyprasathnaekha ichsngkhxmulkhwamrusukthangkay rwmthngkhwamecbpwd smphs xunhphumi khwamkhn aelaaerngyud yktwxyangechn miiyprasathphiesschnidhnungeriykwa intrafusal muscle fiber epnesllprasathnaekhathixyukhnankb extrafusal muscle fibers aelathahnathiepntwrukhwamyud stretch receptor odytrwccbkhwamyawkhxngklamenux 5 khwamrusukthnghmdehlanidaeninipthangwithiprasathtang knipyngsmxng echn withiprasathhnungthieriykwa dorsal column medial lemniscus pathway sngkhxmulekiywkbsmphslaexiydaelaxakpkiriyacakrangkayrwmsirsakhrunghlng phanesniyprasathnaekhakhxngpmprasathrakhlng epn first order neuron phanikhsnhlngipyngthalams aelwtxipyngkhxrethksrbkhwamrusukthangkay ody first order neuron sngaexksxnkhunphan dorsal column inikhsnhlngsikrangkayediywknipyng second order neuron thi dorsal column nuclei inkansmxngsikkayediywkn sungksngaexksxnkhamikhwthaeyng decussate thi medulla inkansmxngechnkn phan medial lemniscus ipyng third order neuron inthalamssungkcasngaexksxnipsudthikhxrethksrbkhwamrusukthangkay somatosensory cortex postcentral gyrus khxngsmxngklibkhang 7 duephimthi withiprasathkhxngrabbrbkhwamrusukthangkaypraephth aekikh praephthkhxngiyprasathnaekharwmthng general somatic afferent fibers GSA general visceral afferent fibers GVA special somatic afferent fibers SSA aela special visceral afferent fibers SVA xnung inrabbrbkhwamrusuk iyprasathnaekhacamikhnadtang odycdepnhmwd khunxyuwaepniyprasathcakklamenuxhruxthiphiwhnng 8 9 10 praephthiyprasathrbkhwamrusuk sensory fiber plxkimxilin esnphasunyklang µm khwamerw m s cakklamenux cakphiwhnng twrbkhwamrusukhna 12 20 72 120 I Aa twrbaerngklekiywkbxakpkiriya Muscle spindle Golgi tendon organ klang 6 12 35 75 II Ab Merkel Meissner Pacinian Ruffini Muscle spindle secondary ending bang 1 6 4 36 III Ad playprasathxisraimmi 0 2 1 5 0 4 2 0 IV C playprasathxisrahnathi aekikhrabbprasathepnrabb wngcrpid thimikarrbkhwamrusuk kartdsinic aelakartxbsnxng epnkrabwnkarenuxngkbkarthangankhxngesllprasathrbkhwamrusuk sensory neuron xinetxrniwrxn aelaesllprasathsngkar motor neuron yktwxyangechn smphshruxtwkratunthithaihecb smxngcarusukktxemuxidkhxmulekiywkbtwkratunphanesniyprasathnaekhawliaelakhachwyca aekikhkhawa afferent macakrupkiriyakhyay participle khxngkhalatinwa afferentem af ad to ferre aebk thux sunghmaykhwamwa aebk thuxekhaipyng khaxupsrrkh ad aela ex cungsamarthichepnekhruxngchwycaaenkrahwangkha afferent kb efferent khux afferent arrives mathung aela efferent exits xxk 11 wlichwycaxikxyangsahrbesniyprasathnaekhaaelanaxxkthixxkmacakraksxngrakthiikhsnhlngkkhux SAME DAVE khyaywa Sensory Afferent Motor Efferent iyprasathnaekhaepniyrbkhwamrusuk iyprasathnaxxkepniyprasathsngkar Dorsal Afferent Ventral Efferent iyprasathnaekhaekhaipthirakhlng iyprasathnaxxkxxkmacakrakhna xnung afferent aela efferent yngechuxmkbkhawa affect miphl aela effect thaihekidphl ephraamirakediywkn dngnn afferent nerves affect the subject iyprasathnaekha echnkhwamrusuk miphltxbukhkhl ethiybkb efferent nerves allow the subject to effect change prasathsngkarihekhluxnihwthaihbukhkhlsamarththaphlihekid duephim aekikhrabbprasathxisraechingxrrthaelaxangxing aekikh fibre nerve sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr esniyprasath afferent sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr naekha Mader SS 2000 Human biology New York McGraw Hill ISBN 0 07 290584 0 CS1 maint uses authors parameter link Hall JE Guyton AC 2006 Textbook of medical physiology 11th ed St Louis Mo Elsevier Saunders ISBN 0 7216 0240 1 CS1 maint uses authors parameter link Warrell DA Cox TM Firth JD 2010 The Oxford Textbook of Medicine 5th ed Oxford University Press CS1 maint uses authors parameter link 5 0 5 1 5 2 Carlson Neil Physiology of Behavior Upper Saddle River New Jersey Pearson Education Inc ISBN 9780205239399 6 0 6 1 MacCallum Don Peripheral Nervous System Histology and Virtual Microscopy Learning Resources University of Michigan Medical School khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2014 07 07 subkhnemux 2014 06 24 Unknown parameter dead url ignored help Gardner amp Johnson 2013 pp 488 495 Gardner amp Johnson 2013 p 477 Pearson Keir G Gordon James E 2013 35 Spinal Reflexes in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill Table 35 1 Classification of Sensory Fibers from Muscle p 796 ISBN 978 0 07 139011 8 CS1 maint ref harv link Purves Dale Augustine George J Fitzpatrick David Hall William C Lamantia Anthony Samuel McNamara James O White Leonard E b k 2008a 9 The Somatic Sensory System Touch and Proprioception Neuroscience 4th ed Sinauer Associates p 210 ISBN 978 0 87893 697 7 MedicalMnemonics com wluchwycathangkaraephthy 3502 3463 367 115xangxingxun aekikhGardner Esther P Johnson Kenneth O 2013 22 The Somatosensory System Receptors and Central Pathway in Kandel Eric R Schwartz James H Jessell Thomas M Siegelbaum Steven A Hudspeth AJ b k Principles of Neural Science 5th ed United State of America McGraw Hill ISBN 978 0 07 139011 8 CS1 maint ref harv link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title esniyprasathnaekha amp oldid 8403774, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม