fbpx
วิกิพีเดีย

แอแนบอลิซึม

แอแนบอลิซึม (อังกฤษ: anabolism) เป็นกลุ่มวิถีเมแทบอลิซึมซึ่งสร้างโมเลกุลขึ้นจากหน่วยขนาดเล็ก ปฏิกิริยาเหล่านี้ต้องอาศัยพลังงาน ขบวนการเมแทบอลิซึม ทั้งในระดับเซลล์ อวัยวะและสิ่งมีชีวิต สามารถจำแนกได้เป็นแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม ที่มีลักษณะตรงข้ามกัน แอแนบอลิซึมได้รับพลังงานจากแคแทบอลิซึม โดยโมเลกุลขนาดใหญ่ถูกสลายลงเป็นส่วนที่เล็กกว่า และจะถูกใช้ไปในการหายใจระดับเซลล์ต่อไป ขบวนการแอแนบอลิซึมจำนวนมากใช้พลังงานจากอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (ATP)

แอแนบอลิซึมเป็นการสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่จากหน่วยขนาดเล็ก

ขบวนการแอแนบอลิซึมโน้มเอียงต่อ "การเสริมสร้าง" อวัยวะและเนื้อเยื่อ ขบวนการเหล่านี้ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ตลอดจนการเพิ่มขนาดลำตัว ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โมเลกุลที่ซับซ้อน ตัวอย่างขบวนการแอแนบอลิซึม ได้แก่ การเจริญเติบโตและการสะสมแร่ธาตุ (mineralization) ของกระดูกและการเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ นักวิทยาต่อมไร้ท่อเดิมจำแนกฮอร์โมนเป็นฮอร์โมนแอแนบอลิกหรือแคแทบอลิก ขึ้นอยู่กับส่วนของเมแทบอลิซึมที่มันไปกระตุ้น ฮอร์โมนแอแนบอลิกแบบดั้งเดิมเป็นแอแนบอลิกสเตอรอยด์ ซึ่งกระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีนและการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ สมดุลระหว่างแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึมยังถูกควบคุมโดยจังหวะเซอร์คาเดียน ด้วยขบวนการอย่างเมแทบอลิซึมของกลูโคสที่ผันแปรให้เข้ากับคาบกิจกรรมตามปกติตลอดทั้งวันของสัตว์

อ้างอิง

  1. Nicholls D.G. and Ferguson S.J. (2002) Bioenergetics Academic press 3rd edition ISBN 0-12-518121-3
  2. Ramsey KM, Marcheva B, Kohsaka A, Bass J (2007). "The clockwork of metabolism". Annu. Rev. Nutr. 27: 219–40. doi:10.1146/annurev.nutr.27.061406.093546. PMID 17430084.CS1 maint: multiple names: authors list (link)

แอแนบอล, งกฤษ, anabolism, เป, นกล, มว, เมแทบอล, มซ, งสร, างโมเลก, ลข, นจากหน, วยขนาดเล, ปฏ, ยาเหล, าน, องอาศ, ยพล, งงาน, ขบวนการเมแทบอล, งในระด, บเซลล, อว, ยวะและส, งม, สามารถจำแนกได, เป, นและแคแทบอล, กษณะตรงข, ามก, ได, บพล, งงานจากแคแทบอล, โดยโมเลก, ลขนาดใหญ,. aexaenbxlisum xngkvs anabolism epnklumwithiemaethbxlisumsungsrangomelkulkhuncakhnwykhnadelk ptikiriyaehlanitxngxasyphlngngan khbwnkaremaethbxlisum thnginradbesll xwywaaelasingmichiwit samarthcaaenkidepnaexaenbxlisumaelaaekhaethbxlisum thimilksnatrngkhamkn aexaenbxlisumidrbphlngngancakaekhaethbxlisum odyomelkulkhnadihythukslaylngepnswnthielkkwa aelacathukichipinkarhayicradbeslltxip khbwnkaraexaenbxlisumcanwnmakichphlngngancakxadionsinitrfxseft ATP 1 aexaenbxlisumepnkarsrangomelkulkhnadihycakhnwykhnadelk khbwnkaraexaenbxlisumonmexiyngtx karesrimsrang xwywaaelaenuxeyux khbwnkarehlanikxihekidkarecriyetibotaelakarepliynaeplngkhxngesll tlxdcnkarephimkhnadlatw sungepnkhbwnkarthiekiywkhxngkbkarsngekhraahomelkulthisbsxn twxyangkhbwnkaraexaenbxlisum idaek karecriyetibotaelakarsasmaerthatu mineralization khxngkradukaelakarephimmwlklamenux nkwithyatxmirthxedimcaaenkhxromnepnhxromnaexaenbxlikhruxaekhaethbxlik khunxyukbswnkhxngemaethbxlisumthimnipkratun hxromnaexaenbxlikaebbdngedimepnaexaenbxliksetxrxyd sungkratunkarsngekhraahoprtinaelakarecriyetibotkhxngklamenux smdulrahwangaexaenbxlisumaelaaekhaethbxlisumyngthukkhwbkhumodycnghwaesxrkhaediyn dwykhbwnkarxyangemaethbxlisumkhxngkluokhsthiphnaeprihekhakbkhabkickrrmtampktitlxdthngwnkhxngstw 2 xangxing aekikh Nicholls D G and Ferguson S J 2002 Bioenergetics Academic press 3rd edition ISBN 0 12 518121 3 Ramsey KM Marcheva B Kohsaka A Bass J 2007 The clockwork of metabolism Annu Rev Nutr 27 219 40 doi 10 1146 annurev nutr 27 061406 093546 PMID 17430084 CS1 maint multiple names authors list link ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aexaenbxlisum amp oldid 4711498, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม