fbpx
วิกิพีเดีย

โครงการแมนฮัตตัน

สำหรับเกาะแมนฮัตตัน ดูที่ นิวยอร์ก

โครงการแมนฮัตตัน (อังกฤษ: Manhattan Project หรือชื่อที่เป็นทางการ Manhattan Engineering District) เป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา

โครงการแมนฮัตตัน
Trinity shot color.jpg
ทรินิตีในโครงการแมนฮัตตัน เป็นการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ครั้งแรก.
ประเทศ
  •  United States
  •  United Kingdom
  •  Canada
กองบัญชาการ Oak Ridge, Tennessee, สหรัฐ
วันสถาปนา 13 สิงหาคม ค.ศ.1942
ปฏิบัติการ
สำคัญ
ผู้บังคับบัญชา
ผบ.สำคัญ
  • James C. Marshall
  • Kenneth Nichols
เครื่องหมายหน่วย
โครงการแมนฮัตตันที่เป็นตราบนไหล่
ตราโครงการแมนฮัตตัน (ไม่ทางการ)
เครื่องเร่งอนุภาค ที่ใช้ในโครงการแมนฮัตตัน เพื่อพัฒนาระเบิดปรมาณู. สร้างในปี ค.ศ. 1937 ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ กรุงลอนดอน

การวิจัยนำโดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ และอยู่ใต้การดูแลของนายพล Leslie R. Groves ที่ห้องปฏิบัติการในบริเวณลอสอาลาโมส รัฐนิวเม็กซิโก หลังสหรัฐค้นพบว่าพรรคนาซีเยอรมันกำลังสร้างอาวุธคล้าย ๆ กันอยู่

โครงการแมนฮัตตันได้ออกแบบและทดสอบระเบิดนิวเคลียร์ 3 ลูกใน ค.ศ. 1945 ลูกแรกอยู่ใน แผนปฏิบัติการทรินนิที (Trinity) ทดสอบเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม มีขึ้นในทะเลทรายใกล้เมืองอลามากอร์โด, รัฐนิวเม็กซิโก ลูกที่สองคือระเบิดนิวเคลียร์ ลิตเติลบอย (Little Boy) ระเบิดวันที่ 6 สิงหาคม ที่เมืองฮิโระชิมะ จักรวรรดิญี่ปุ่น และลูกสุดท้ายคือ แฟตแมน (Fat Man) ระเบิดวันที่ 9 สิงหาคม ที่เมืองนะงะซะกิ จักรวรรดิญี่ปุ่น การทิ้งระเบิดสองลูกสุดท้ายที่ญี่ปุ่นนั้น นำไปสู่การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองในภูมิภาคเอเชีย

โครงการแมนฮัตตันก่อให้เกิดการจ้างงานกว่า 130,000 คน และใช้เงินลงทุนไปในขณะนั้น 2 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งเทียบเป็นค่าของเงินใน ค.ศ. 2004 จะมีค่าประมาณ 2 หมื่นล้านดอลลาร์

ที่มาของโครงการ

โครงการแมนฮัตตันเป็นความพยายามในการพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่ห้องปฏิบัติการในบริเวณลอสอาลาโมส รัฐนิวเม็กซิโก โดยได้รับความช่วยเหลือจากสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา การวิจัยนำโดยนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน J. Robert Oppenheimer และอยู่ใต้การดูแลของนายพล Leslie R. Groves หลังสหรัฐค้นพบว่าพรรคนาซีเยอรมันกำลังสร้างอาวุธคล้าย ๆ กันอยู่

เลือกสถานที่

 
ลอสอาลาโมส รัฐนิวเม็กซิโก

นายพลโกรฟส์เสนอกับออพเพนไฮเมอร์ว่า "การศึกษาปัญหาทั้งหมดที่เกี่ยวกับการออกแบบ และการสร้างระเบิดปรมาณูจะต้องทำในสถานที่ซึ่งอยู่ห่างไกลออกไปจากเมืองหรือหมู่บ้านใด ๆ จะต้องลึกลับมากกว่าสถานที่สำหรับผลิตพลูโตเนียมและยูเรเนียม 235" โกรฟส์จึงได้เสนอสถานที่แห่งหนึ่งแก่ออพเพนไฮเมอร์ นั่นคือที่ดินทางตอนเหนือของรัฐนิวเม็กซิโก ซึ่งอยู่สูงเหนือระดับน้ำทะเลถึง 7200 ฟุต ในบริเวณนั้นมีโรงเรียนเล็กสำหรับเด็กโรงเรียนหนึ่ง บริเวณนี้อยู่บนที่สูงที่เรียกว่า “เมซา" (mesa) ซึ่งมีลักษณะคล้ายภูเขาที่สูงชันแต่มียอดราบป้านเป็นบริเวณกว้าง ที่นี่มีบ้านทำด้วยไม้บ้าง ด้วยหินบ้าง มีเพียงสิบกว่าหลังที่ครูใช้อาศัยอยู่ อาคารเรียนมีเพียง 2-3 หลังเท่านั้น ไกลออกไปทางทิศตะวันตกมีเนินเขาเจเมสซึ่งดูเขียวชอุ่มล้อมรอบเมซาอีกลูกหนึ่งทางทิศตะวันออก พื้นดินดูคล้ายกับหยุดอยู่แค่นั้นเพราะเป็นเขตปลายสุดของที่ราบเมซา ลึกลงไปเบื้องล่างเป็นทะเลทรายที่กว้างยาวเหยียดออกไปสุดลูกหูลูกตา ดูเป็นทิศทัศน์ที่ว่างเปล่าเต็มไปด้วยทราย มีหญ้าแห้งปกคลุมอยู่เป็นหย่อม ๆ มองไกลออกไปข้างหน้าจะเห็นแถบสีเขียวที่โค้งวกวนไปมาตามแนวแม่น้ำริโอ แกรนด์ นอกจากนี้ยังมีหมู่บ้านที่เก่าแก่อยู่เป็นหย่อม ๆ ในแถบสีเขียวนี้มีถนนแคบ ๆ ไต่ขึ้นไปตามขอบภูเขาเพื่อใช้เป็นเส้นทางติดต่อจากหมู่บ้านในหุบเขาริโอแกรนด์ไปยังโรงเรียนบนเมซา เมืองที่ใกล้ที่สุดคือ แซนตาเฟ (Santa Fe) อยู่ไกลออกไปประมาณ 40 ไมล์ ที่นี่ไกลจากทางรถไฟถึง 60 ไมล์ ดังนั้นโรงเรียนลอสอาลาโมส (Los Alamos) นี้อยู่เปล่าเปลี่ยวและโดดเดี่ยวเหมาะแก่การเลือกเป็นสถานที่สำหรับโครงการแมนฮัตตันที่สุด

เริ่มการก่อสร้าง

 
บ้านพักและห้องทดลองบริเวณ<br\>ลอสอาลาโมส โครงการแมนฮัตตัน

พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 โครงการเข้าซื้อที่ดินของโรงเรียนนี้ และให้ทหารช่างหน่วยก่อสร้างเริ่มสร้างบ้านพักและห้องทดลองในบริเวณนั้นทันที ในการสร้างห้องทดลอง ผู้ก่อสร้างได้ทำตามคำแนะนำของนักวิทยาศาสตร์ ด้วยเหตุนี้จึงมีบ่อยครั้งที่ไม่มีความกระจ่างชัดเพราะนักวิทยาศาสตร์ไม่กล้าให้เหตุผลว่าอาคารนั้น ๆ สร้างเพื่อวัตถุประสงค์อะไร เพราะจะต้องปกปิดเป็นความลับ เมื่อวิศวกรสร้างตึกแล้วเสร็จนักวิทยาศาสตร์ต้องการตึกใหม่อีก และนี่คือสาเหตุให้เมืองที่ลึกลับที่สุดของเมืองเริ่มขยายใหญ่ขึ้นอย่างรวดเร็ว

นักวิทยาศาสตร์จากเมืองของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้เดินทางไปอยู่ในเมืองใหม่นี้ และหายตัวไปจากโลกภายนอกเป็นเวลา 2 ปีครึ่งที่เมืองนี้โดยไม่ปรากฏในแผนที่ สถานที่นี้จึงดูคล้ายไม่ใช่เป็นส่วนหนึ่งของรัฐนิวเม็กซิโก และประชาชนที่อาศัยอยู่ไม่มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง สำหรับบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง เมืองนี้จะไม่มีอยู่ในโลกเลย แต่สำหรับบุคคลที่อาศัยอยู่ในสถานที่นี้รู้จักในนามของ "ลอสอาลาโมส" สำหรับเพื่อนและครอบครัวของนักวิทยาศาสตร์เขียนดหมายติดต่อมาได้ที่ตู้ ป.ณ. ที่ 1663 เมืองซานตาเฟ

ตึกทุกหลังในลอสอาลาโมสทาด้วยสีเขียวเพื่อให้กลมกลืนกับหญ้าและต้นไม้ในบริเวณนั้น ในเวลากลางคืนไม่มีแสงไฟตามถนน ดังนั้นเครื่องบินข้าศึกจะค้นหาเมืองลึกลับนี้ยากมาก

รั้วลวดหนามที่ล้อมบริเวณลอสอาลาโมสมีไว้เพื่อกั้นคนภายนอกไม่ให้เข้า และกั้นคนภายในไม่ให้ออก แต่เด็กส่วนมากทราบว่ามีรูโหว่ที่รั้วที่ใดบ้าง และบางครั้งก็บอกบิดามารดาให้เข้าออกทางนั้น นอกรั้วชั้นแรกมีรั้วชั้นที่สอง เท่าที่ทราบไม่มีรูโหว่เลย เมืองนี้มีประตูใหญ่ 2 ประตู ประตูทางตะวันตกมุ่งไปสู่เนินเขาเจเมส (Jemes) และประตูทางตะวันออกหันสู่ถนนที่เริ่มจากยอดที่ราบสูงคดเคี้ยวไปมาลงไปสู่ทะเลทรายและหุบเขาริโอแกรนด์ (Rio Grande) ประตูทั้งสองมียามเฝ้าอย่างแข็งแรง แม้แต่เด็กก็ไม่สามารถเข้าหรือออกจากลอสอาลาโมสได้โดยปราศจากการแสดงบัตรผ่านที่อนุญาตให้เข้าและออกบริเวณต่อยามเฝ้าประตูก่อน จึงนับเป็นการเล่นสำคัญอันหนึ่งของเด็กที่จะซ่อนตัวอยู่ต่ำ ๆ ในรถที่ผ่านประตูและพยายามเข้ามาอีกโดยไม่ต้องแสดงบัตรผ่าน

การคุ้มกันอย่างเข้มงวด

เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยผู้ซึ่งรับผิดชอบต่อการป้องกันความลับของลอสอาลาโมส จะเปิดไปรษณียภัณฑ์ทุกอย่างอ่านเพื่อให้แน่ใจว่าคนในลอสอาลาโมสจะไม่เขียนถึงสิ่งที่ลึกลับนี้ มีอยู่ครั้งหนึ่งที่นักฟิสิกส์ผู้หนึ่งซึ่งชอบเล่นตลกได้เขียนจดหมายโดยใช้รหัสพิเศษของเขาเกี่ยวกับการส่งข่าวความลับและก็ได้ส่งคำอธิบายรหัสแก่เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยด้วย มีเรื่องเล่าว่าบางครั้งนักฟิสิกส์คนนี้เขียนเป็นภาษาจีน ด้วยเหตุนี้ต่อมาเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยได้ประกาศว่าคนในลอสอาลาโมสจะต้องเขียนจดหมายด้วยภาษาที่รู้จักกันดี เช่น อังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส และอิตาลีเท่านั้น

เวลาทำงานที่นี่เริ่ม 8 โมงเช้า เมื่อทุกคนมาพร้อมกันที่ประตูทางเข้าแล้วแสดงบัตรผ่านต่อยามประตู ทุกคนจะติดบัตรผ่านที่เสื้อของเขา นักวิทยาศาสตร์ใช้บัตรสีขาว ส่วนคนงานอื่น ๆ ใช้บัตรสีน้ำเงิน บัตรผ่านสีน้ำเงินแสดงว่าผู้ที่ติดจะไม่ได้รับการบอกเล่าถึงสิ่งที่ลึกลับเลย

ในปลายฤดูร้อนปี ค.ศ. 1944 นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของสหรัฐอเมริกาและจากประเทศต่าง ๆ ได้มาอาศัยรวมกันในเมืองที่มีการเฝ้ายามกันอย่างแน่นหนา ภายใต้การปกครองที่เป็นระเบียบแบบแผน ภายหลังเมื่อสงครามสงบลงแล้ว มีรายงานเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าของงานวิทยาศาสตร์ว่าด้วยอะตอมระหว่างสงครามเขียนไว้ตอนหนึ่งว่า "ตอนปลายปี ค.ศ. 1944 เมืองลอสอาลาโมสเต็มไปด้วยดาราทางวิทยาศาสตร์"

ในกลุ่มดาราทางวิทยาศาสตร์เหล่านี้มีหลายคนที่ยังพูดภาษาอังกฤษไม่ชัด ทุกคนดูเหมือนจะอยู่ในสภาพที่ครุ่นคิดอยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้มีบุคคลที่ได้กล่าวถึงมาแล้ว เช่น เอนรีโก แฟร์มี, เอมิลิโอ เซอเกร, เฮอร์เบิร์ท แอนเดอร์สัน และโรเบิร์ท ออพเพนไฮเมอร์ เป็นต้น

เจ.โรเบิร์ท ออพเพนไฮเมอร์ หรือที่เพื่อน ๆ เรียกเขาว่าออพพี (Oppie) เป็นผู้อำนวยการการวิจัยที่ลอสอาลาโมส และเป็นผู้นำของการทำงานด้วย เขาจะเดินวนไปมาระหว่างนักวิทยาศาสตร์ และโดยวิธีการอันเงียบ ๆ นี้ เขามักชอบพูดในเชิงถามซึ่งดูคล้าย ๆ กับไม่ได้ตั้งปัญหาถาม พยายามเรียนรู้เกี่ยวกับงานทั้งหมด จากการทำความสนิทสนมกับทุกคนและจากความสนใจในความเป็นอยู่ทุกสิ่งทุกอย่างนี่เองที่ทำให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะทำดีที่สุด ความสำเร็จส่วนมากก็เพราะวิธีการของออพเพนไฮเมอร์นี้เอง

ทั้งแฟร์มีและออพพีมาถึงลอสอาลาโมสโดยมีผู้คุ้มกันส่วนตัวอย่างดี หลังจากที่นายพลโกรฟส์ได้รับคำสั่งให้เป็นหัวหน้าโครงการแมนแฮนตัน ดิสทริกส์เพียงไม่นาน เขาได้ส่งผู้คุ้มกันไปประจำตัวนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงประมาณ 6 คน ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในหลายวิธีที่เขาจะป้องกันนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำทางด้านพลังงานอะตอม ผู้คุ้มกันจะติดตามนักวิทยาศาสตร์ไปทุกหนทุกแห่งเมื่ออยู่นอกลอสอาลาโมส โดยเฉพาะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษที่จะไม่ให้นักวิทยาศาสตร์เดินทางคนเดียวหรือเดินคนเดียวในเวลากลางคืน ในลอสอาลาโมส เมืองที่มีการคุ้มกันอย่างแข็งแรง แฟร์มีและออพพีสามารถเดินไปไหนมาไหนได้โดยไม่ต้องมีผู้คุ้มกัน แต่เมื่อเขาเดินทางไปที่อื่นผู้คุ้มกันจะติดตามไปทุกหนทุกแห่ง

บุคคลในโครงการแมนฮัตตัน

 
เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ และทีมนักวิทยาศาสตร์ ค.ศ. 1946 ซึ่งประกอบไปด้วย Norris Bradbury, John Manley, Enrico Fermi, J.M.B. Kellogg, Richard Feynman, Oliver Haywood และ Edward Teller

ในขณะนั้นเมื่อมีใครเอ่ยถึงออพเพนไฮเมอร์ ทุกคนจะนึกถึงชายวัย 38 ปี ผู้เป็นหัวหน้าทีมวิทยาศาสตร์ในโครงการแมนฮัตตัน ที่ได้รวบรวมนักฟิสิกส์ นักเคมี และวิศวกรระดับสุดยอดนับ 6,000 คน มาสร้างระเบิดปรมาณู เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยให้มาทำงานร่วมกันที่ลอสอาลาโมสในรัฐนิวเม็กซิโก อย่างลับสุดยอด คือ ไม่ให้ฝ่ายเยอรมนีรู้อย่างเด็ดขาด ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรกำลังสร้างระเบิดมหาประลัย และให้กองทัพนักวิทยาศาสตร์ทำงานร่วมกับกองทัพทหารอย่างใกล้ชิด อย่างหนัก และอย่างรวดเร็ว และทุกคนก็ประจักษ์ว่าเขาคือ บุคคลเดียวเท่านั้นที่สามารถประคับประคองและประสานความแตกต่างระหว่างความคิดเห็น อย่างเสรีของบรรดานักการเมืองและนักวิชาการกับความลับของทหารได้ เช่น เวลา ฮันส์ เบเทอ ขัดแย้งกับเออร์เนสต์ ลอว์เรนซ์ และEdward Teller (บิดาของระเบิดไฮโดรเจน) เขาต้องเก่งพอที่จะตัดสินได้ว่า เทคนิคใดเหมาะสม และเป็นไปได้ หรือเวลาประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมนขัดแย้งกับ J. Edgar Hoover แห่งเอฟบีไอ และนายพล Leslie Groves ผู้เป็นหัวหน้าโครงการแมนฮัตตัน เขาต้องถูกมะรุมมะตุ้มด้วยกระสุนวาจาจากบุคคลเหล่านี้ตลอดเวลาทำงาน และเขาก็ตระหนักว่า ถึงจะเป็นนักวิชาการที่เก่ง แต่อำนาจทางการเมืองก็เหนือกว่า ฉะนั้นเมื่อใดที่ทั้งสองข้างปะทะกัน นักวิชาการก็ต้องถอย

การทดลองระเบิดปรมาณูครั้งแรก

 
การทดลองระเบิดปรมาณูที่ทะเลทรายในรัฐนิวเม็กซิโก วันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945

ในที่สุด เมื่อถึงวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 เวลา 05.30 น. ระเบิดปรมาณูลูกแรกของโลกก็ระเบิดที่กลางทะเลทรายในรัฐนิวเม็กซิโกห่างจากลอสอาลาโมสไปทางใต้เกือบ 200 ไมล์ เพื่อทดสอบว่าระเบิดปรมาณูจะระเบิดจริงตามทฤษฎีของนักวิทยาศาสตร์หรือไม่ และทันทีที่เห็นควันรูปดอกเห็ดขนาดใหญ่ปรากฏขึ้น พบว่าระเบิดมีพลังมากกว่าที่นักวิทยาศาสตร์หวังไว้มาก นอกจากนั้นมีแสงสว่างจ้าเกิดขึ้นด้วย สว่างจนเด็กหญิงตาบอดที่อยู่ห่างหลายไมล์เห็นแสงระเบิดได้ในลอสอาลาโมส ผู้ที่ยังไม่หลับรู้ว่ามีแสงสว่างอันแปลกประหลาดนี้เกิดขึ้น

หลังการทดลองนายทหารชั้นนายพลผู้หนึ่งได้เขียนรายงานถึงกระทรวงกลาโหม (War Department) อธิบายถึงการระเบิดโดยเริ่มว่า "เริ่มแรกของการระเบิดเมืองทั้งหมดสว่างจ้าด้วยแสงสว่างกว่าดวงอาทิตย์ตอนเที่ยงหลายเท่า แสงนี้มีสีทอง ม่วง และน้ำเงิน สอดส่องและแทรกไปทั่วทุกหุบเขาและซอกเขาต่าง ๆ จนดูสว่างไสวงดงามอย่างที่บรรยายออกมาเป็นคำพูดไม่ได้ ต่อจากนั้นประมาณ 30 วินาทีแรงอัดอากาศก็เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและทันทีทันใด ติดตามด้วยเสียงหนักแน่นติดต่อกัน ขณะเดียวกันนั้นกลุ่มเมฆใหญ่มหึมาก็ลอยขึ้นสู่เบื้องบน การระเบิดทำให้เกิดหลุมขนาดใหญ่ตรงจุดระเบิด เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณครึ่งไมล์ ทรายตามผิวหลุมหลอมละลาย และเมื่อทรายแข็งตัวอีกหลุมนั้นก็ถูกฉาบด้วยแผ่นแก้ว"

ออพเพนไฮเมอร์ผู้ชอบอ่านกวีนิพนธ์ภาษาสันสกฤตก็ได้เอ่ยคำอุทานจากวรรณคดีภควัทคีตาว่า “ I have become Death the shatterer off worlds.” จากนั้นไม่นาน James Frank (รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ค.ศ. 1925) และ Leo Szilard (ผู้ให้กำนิดความคิดเรื่อง fission) ได้เสนอให้เขาจัดงานแสดงการระเบิดของระเบิดปรมาณูให้โลกดูเพื่อขู่ให้ญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม แต่เขาตัดสินใจให้ทิ้งระเบิดปรมาณูลงที่เมืองในญี่ปุ่นแทน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เขายังทำงานกับสำนักงานพลังงานปรมาณูแห่งชาติ (Atomic Energy Commission : AEC) ในฐานะที่ปรึกษา และในปี ค.ศ. 1948 เขาได้รับการยกย่องขึ้นหน้าปกนิตยสาร Time อีกด้วย

การทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ

 
สภาพหลังจากทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโระชิมะ (ถ่ายโดยนักบิน) ค.ศ. 1945
 
ภาพการทิ้งระเบิดที่นะงะซะกิ ค.ศ. 1945
 
อนุสรณ์สันติภาพฮิโระชิมะ ซึ่งเป็นอนุสรณ์สถานเตือนใจถึงการทิ้งระเบิดปรมาณูในสงครามโลกครั้งที่ 2
 
โทะริอิในนะงะซะกิ ที่ได้รับความเสียหายจากทิ้งระเบิดปรมาณูในสงครามโลกครั้งที่ 2

หลังการทดลองระเบิดปรมาณูครั้งแรกไม่นาน ได้มีการใช้ระเบิดปรมาณูอย่างจริงจังในสงคราม ต้นเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1945 สงครามกับเยอรมันได้สิ้นสุดลง ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ถึงแก่กรรมในเดือนเมษายน และประธานาธิบดีแฮร์รี่ เอส. ทรูแมนดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีแทน โดยทรูแมนต้องการชัยชนะอย่างรวดเร็ว จึงตัดสินใจทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกลงที่เมืองฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น และในอีก 2-3 วันต่อมา ระเบิดปรมาณูลูกที่สองถูกทิ้งลงที่เมืองนะงะซะกิ ภายหลังการระเบิดของระเบิดปรมาณูลูกที่สอง ญี่ปุ่นได้ประกาศยอมแพ้สงครามอย่างเป็นทางการ สงครามโลกครั้งที่ 2 จึงสิ้นสุดลง สหรัฐอเมริกาและฝ่ายสัมพันธมิตรจึงเป็นฝ่ายชนะ

ข่าวญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้มาถึงลอสอาลาโมสในเวลาค่ำวันที่ 14 สิงหาคม ค.ศ. 1945 แม้จะดึกมากแล้ว แต่การฉลองชัยก็กระจายออกไปทั้งไซต์-วาย คิสเตียคาวสกีผู้เชี่ยวชาญวัตถุระเบิด กดปุ่มจุดระเบิดยิงปืนใหญ่ที่เรียงรายอยู่รอบลอสอาลาโมสที่เขาโยงสายชนวนมารวมกันไว้จุดเดียว พวกนักวิทยาศาสตร์ตะโกนเชียร์ให้กับพลุไฟของคิสเตียคาวสกีและดื่มให้กับสันติภาพ

เมื่อการฉลองผ่านไป เหล่านักวิทยาศาสตร์เริ่มหันกลับมาให้ความสนใจกับจำนวนผู้เสียชีวิตที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ สงสัยว่าพวกเขาทำถูกหรือไม่ที่สร้างลูกระเบิดอะตอมขึ้นมา ความเร่งด่วนของโครงการแมนแฮตตันหมดลงแล้ว นักวิทยาศาสตร์ค่อย ๆ ทยอยจากไปทีละคนสองคน เดือนตุลาคมปีนั้นเองเขาก็ออกไปอยู่ที่วอชิงตัน ส่วนแฟร์มีและเทลเลอร์กลับไปที่ชิคาโก ในที่สุดแม้แต่กองทัพก็ถอนตัวออกไป โกรฟส์ยกเลิกมณฑลทหารช่างแมนแฮตตันเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1947 กฎหมายฉบับใหม่แปลงโครงการนี้เป็นของพลเรือนในชื่อว่า คณะกรรมาธิการพลังงานปรมาณู (Atomic Energy Commission หรือ AEC)

บทสรุปของโครงการแมนแฮตตันจบลงที่คำแถลงบางตอนของแฮร์รี เอส. ทรูแมน ในวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ว่า “......เมื่อ 16 ชั่วโมงก่อน เครื่องบินของอเมริกันลำหนึ่งได้ทิ้งลูกระเบิดที่เมืองฮิโระชิมะซึ่งเป็นฐานทัพสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น ลูกระเบิดนี้มีพลังมากกว่า ทีเอ็นที 20,000 ตัน รุนแรงกว่าลูกระเบิดที่รุนแรงที่สุดที่ชื่อว่าแกรนด์สแลมของอังกฤษถึง 2,000 เท่า....มันคือลูกระเบิดอะตอม.....เราได้ใช้จ่ายไปเป็นเงิน 2 พันล้านดอลลาร์ในการเดินพันทางวิทยาศาสตร์ครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์และเราชนะพนัน”

อ้างอิง

  1. บทความเรื่อง J. Robert Oppenheimer : บิดาของระเบิดปรมาณูตอนแรกโดยสุทัศน์ ยกส้าน จากเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  2. บทความเรื่อง J. Robert Oppenheimer : บิดาของระเบิดปรมาณูตอนจบโดยสุทัศน์ ยกส้าน จากเว็บไซต์ผู้จัดการออนไลน์ สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  3. การทดลองระเบิดปรมาณูครั้งแรก จากเว็บไซต์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  4. บทสรุปของโครงการแมนแฮตตัน จากเว็บไซต์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สืบค้นวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557
  5. ข้อมูลสถานที่ตั้งโครงการแมนฮัตตันตามคำแนะนำของนายพลโกรฟส์ จากเว็บไซต์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สืบค้นวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2557
  6. ข้อมูลการก่อสร้างอาคารโครงการแมนฮัตตัน จากเว็บไซต์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สืบค้นวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557
  7. ข้อมูลการคุ้มกันโครงการแมนฮัตตัน จากเว็บไซต์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สืบค้นวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ โครงการแมนแฮตตัน

โครงการแมนฮ, ตต, สำหร, บเกาะแมนฮ, ตต, วยอร, งกฤษ, manhattan, project, หร, อช, อท, เป, นทางการ, manhattan, engineering, district, เป, นความพยายามในการพ, ฒนาอาว, ธน, วเคล, ยร, ของสหร, ฐอเมร, กา, ในช, วงสงครามโลกคร, งท, สอง, โดยได, บความช, วยเหล, อจากสหราชอาณาจ, . sahrbekaaaemnhttn duthi niwyxrk okhrngkaraemnhttn xngkvs Manhattan Project hruxchuxthiepnthangkar Manhattan Engineering District epnkhwamphyayaminkarphthnaxawuthniwekhliyrkhxngshrthxemrika inchwngsngkhramolkkhrngthisxng odyidrbkhwamchwyehluxcakshrachxanackraelapraethsaekhnadaokhrngkaraemnhttnTrinity shot color jpgthrinitiinokhrngkaraemnhttn epnkarthdlxngxawuthniwekhliyrkhrngaerk praeths United States United Kingdom Canadakxngbychakar Oak Ridge Tennessee shrthwnsthapna 13 singhakhm kh s 1942ptibtikarsakhy karbukkhrxngxitalikhxngfaysmphnthmitrptibtikaroxewxrlxrdkarbukkhrxngeyxrmnikhxngsmphnthmitrtawntkkarthingraebidniwekhliyrthihiorchimaaelanangasakikaryudkhrxngyipunphubngkhbbychaphb sakhy James C MarshallKenneth Nicholsekhruxnghmayhnwyokhrngkaraemnhttnthiepntrabnihltraokhrngkaraemnhttn imthangkar ekhruxngerngxnuphakh thiichinokhrngkaraemnhttn ephuxphthnaraebidprmanu sranginpi kh s 1937 pccubntngaesdngxyuthi phiphithphnthwithyasastraehngchati krunglxndxn karwicynaodynkfisikschawxemrikn ec orebirt xxphephnihemxr aelaxyuitkarduaelkhxngnayphl Leslie R Groves thihxngptibtikarinbriewnlxsxalaoms rthniwemksiok 1 hlngshrthkhnphbwaphrrkhnasieyxrmnkalngsrangxawuthkhlay knxyuokhrngkaraemnhttnidxxkaebbaelathdsxbraebidniwekhliyr 3 lukin kh s 1945 lukaerkxyuin aephnptibtikarthrinnithi Trinity thdsxbemuxwnthi 16 krkdakhm mikhuninthaelthrayiklemuxngxlamakxrod rthniwemksiok 2 lukthisxngkhuxraebidniwekhliyr litetilbxy Little Boy raebidwnthi 6 singhakhm thiemuxnghiorachima ckrwrrdiyipun aelaluksudthaykhux aeftaemn Fat Man raebidwnthi 9 singhakhm thiemuxngnangasaki ckrwrrdiyipun 3 karthingraebidsxngluksudthaythiyipunnn naipsukarsinsudkhxngsngkhramolkkhrngthisxnginphumiphakhexechiyokhrngkaraemnhttnkxihekidkarcangngankwa 130 000 khn aelaichenginlngthunipinkhnann 2 phnlandxllar sungethiybepnkhakhxngenginin kh s 2004 camikhapraman 2 hmunlandxllar 4 enuxha 1 thimakhxngokhrngkar 2 eluxksthanthi 3 erimkarkxsrang 4 karkhumknxyangekhmngwd 5 bukhkhlinokhrngkaraemnhttn 6 karthdlxngraebidprmanukhrngaerk 7 karthingraebidprmanuthihiorachimaaelanangasaki 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxunthimakhxngokhrngkar aekikhokhrngkaraemnhttnepnkhwamphyayaminkarphthnaxawuthniwekhliyrkhxngshrthxemrikainchwngsngkhramolkkhrngthisxngthihxngptibtikarinbriewnlxsxalaoms rthniwemksiok odyidrbkhwamchwyehluxcakshrachxanackraelapraethsaekhnada karwicynaodynkfisikschawxemrikn J Robert Oppenheimer aelaxyuitkarduaelkhxngnayphl Leslie R Groves 1 hlngshrthkhnphbwaphrrkhnasieyxrmnkalngsrangxawuthkhlay knxyueluxksthanthi aekikh lxsxalaoms rthniwemksiok nayphlokrfsesnxkbxxphephnihemxrwa karsuksapyhathnghmdthiekiywkbkarxxkaebb aelakarsrangraebidprmanucatxngthainsthanthisungxyuhangiklxxkipcakemuxnghruxhmubanid catxngluklbmakkwasthanthisahrbphlitphluoteniymaelayuereniym 235 okrfscungidesnxsthanthiaehnghnungaekxxphephnihemxr nnkhuxthidinthangtxnehnuxkhxngrthniwemksiok sungxyusungehnuxradbnathaelthung 7200 fut inbriewnnnmiorngeriynelksahrbedkorngeriynhnung briewnnixyubnthisungthieriykwa emsa mesa sungmilksnakhlayphuekhathisungchnaetmiyxdrabpanepnbriewnkwang thinimibanthadwyimbang dwyhinbang miephiyngsibkwahlngthikhruichxasyxyu xakhareriynmiephiyng 2 3 hlngethann iklxxkipthangthistawntkmieninekhaecemssungduekhiywchxumlxmrxbemsaxiklukhnungthangthistawnxxk phundindukhlaykbhyudxyuaekhnnephraaepnekhtplaysudkhxngthirabemsa luklngipebuxnglangepnthaelthraythikwangyawehyiydxxkipsudlukhulukta duepnthisthsnthiwangeplaetmipdwythray mihyaaehngpkkhlumxyuepnhyxm mxngiklxxkipkhanghnacaehnaethbsiekhiywthiokhngwkwnipmatamaenwaemnariox aekrnd nxkcakniyngmihmubanthiekaaekxyuepnhyxm inaethbsiekhiywnimithnnaekhb itkhuniptamkhxbphuekhaephuxichepnesnthangtidtxcakhmubaninhubekharioxaekrndipyngorngeriynbnemsa emuxngthiiklthisudkhux aesntaef Santa Fe xyuiklxxkippraman 40 iml thiniiklcakthangrthifthung 60 iml dngnnorngeriynlxsxalaoms Los Alamos nixyueplaepliywaelaoddediywehmaaaekkareluxkepnsthanthisahrbokhrngkaraemnhttnthisud 5 erimkarkxsrang aekikh banphkaelahxngthdlxngbriewn lt br gt lxsxalaoms okhrngkaraemnhttn phvscikayn kh s 1942 okhrngkarekhasuxthidinkhxngorngeriynni aelaihthharchanghnwykxsrangerimsrangbanphkaelahxngthdlxnginbriewnnnthnthi inkarsranghxngthdlxng phukxsrangidthatamkhaaenanakhxngnkwithyasastr dwyehtunicungmibxykhrngthiimmikhwamkracangchdephraankwithyasastrimklaihehtuphlwaxakharnn srangephuxwtthuprasngkhxair ephraacatxngpkpidepnkhwamlb emuxwiswkrsrangtukaelwesrcnkwithyasastrtxngkartukihmxik aelanikhuxsaehtuihemuxngthiluklbthisudkhxngemuxngerimkhyayihykhunxyangrwderwnkwithyasastrcakemuxngkhxngshrthxemrikaaelaxngkvsidedinthangipxyuinemuxngihmni aelahaytwipcakolkphaynxkepnewla 2 pikhrungthiemuxngniodyimpraktinaephnthi sthanthinicungdukhlayimichepnswnhnungkhxngrthniwemksiok aelaprachachnthixasyxyuimmisiththixxkesiyngeluxktng sahrbbukhkhlthiimekiywkhxng emuxngnicaimmixyuinolkely aetsahrbbukhkhlthixasyxyuinsthanthiniruckinnamkhxng lxsxalaoms sahrbephuxnaelakhrxbkhrwkhxngnkwithyasastrekhiyndhmaytidtxmaidthitu p n thi 1663 emuxngsantaeftukthukhlnginlxsxalaomsthadwysiekhiywephuxihklmklunkbhyaaelatniminbriewnnn inewlaklangkhunimmiaesngiftamthnn dngnnekhruxngbinkhasukcakhnhaemuxngluklbniyakmakrwlwdhnamthilxmbriewnlxsxalaomsmiiwephuxknkhnphaynxkimihekha aelaknkhnphayinimihxxk aetedkswnmakthrabwamiruohwthirwthiidbang aelabangkhrngkbxkbidamardaihekhaxxkthangnn nxkrwchnaerkmirwchnthisxng ethathithrabimmiruohwely emuxngnimipratuihy 2 pratu pratuthangtawntkmungipsueninekhaecems Jemes aelapratuthangtawnxxkhnsuthnnthierimcakyxdthirabsungkhdekhiywipmalngipsuthaelthrayaelahubekharioxaekrnd Rio Grande pratuthngsxngmiyamefaxyangaekhngaerng aemaetedkkimsamarthekhahruxxxkcaklxsxalaomsidodyprascakkaraesdngbtrphanthixnuyatihekhaaelaxxkbriewntxyamefapratukxn cungnbepnkarelnsakhyxnhnungkhxngedkthicasxntwxyuta inrththiphanpratuaelaphyayamekhamaxikodyimtxngaesdngbtrphan 6 karkhumknxyangekhmngwd aekikhecahnathirksakhwamplxdphyphusungrbphidchxbtxkarpxngknkhwamlbkhxnglxsxalaoms caepidiprsniyphnththukxyangxanephuxihaenicwakhninlxsxalaomscaimekhiynthungsingthiluklbni mixyukhrnghnungthinkfisiksphuhnungsungchxbelntlkidekhiyncdhmayodyichrhsphiesskhxngekhaekiywkbkarsngkhawkhwamlbaelakidsngkhaxthibayrhsaekecahnathirksakhwamplxdphydwy mieruxngelawabangkhrngnkfisikskhnniekhiynepnphasacin dwyehtunitxmaecahnathirksakhwamplxdphyidprakaswakhninlxsxalaomscatxngekhiyncdhmaydwyphasathiruckkndi echn xngkvs sepn frngess aelaxitaliethannewlathanganthinierim 8 omngecha emuxthukkhnmaphrxmknthipratuthangekhaaelwaesdngbtrphantxyampratu thukkhncatidbtrphanthiesuxkhxngekha nkwithyasastrichbtrsikhaw swnkhnnganxun ichbtrsinaengin btrphansinaenginaesdngwaphuthitidcaimidrbkarbxkelathungsingthiluklbelyinplayvdurxnpi kh s 1944 nkwithyasastrchnnakhxngshrthxemrikaaelacakpraethstang idmaxasyrwmkninemuxngthimikarefayamknxyangaennhna phayitkarpkkhrxngthiepnraebiybaebbaephn phayhlngemuxsngkhramsngblngaelw miraynganekiywkbkhwamecriykawhnakhxngnganwithyasastrwadwyxatxmrahwangsngkhramekhiyniwtxnhnungwa txnplaypi kh s 1944 emuxnglxsxalaomsetmipdwydarathangwithyasastr inklumdarathangwithyasastrehlanimihlaykhnthiyngphudphasaxngkvsimchd thukkhnduehmuxncaxyuinsphaphthikhrunkhidxyutlxdewla nkwithyasastrklumnimibukhkhlthiidklawthungmaaelw echn exnriok aefrmi exmiliox esxekr ehxrebirth aexnedxrsn aelaorebirth xxphephnihemxr epntnec orebirth xxphephnihemxr hruxthiephuxn eriykekhawaxxphphi Oppie epnphuxanwykarkarwicythilxsxalaoms aelaepnphunakhxngkarthangandwy ekhacaedinwnipmarahwangnkwithyasastr aelaodywithikarxnengiyb ni ekhamkchxbphudinechingthamsungdukhlay kbimidtngpyhatham phyayameriynruekiywkbnganthnghmd cakkarthakhwamsnithsnmkbthukkhnaelacakkhwamsnicinkhwamepnxyuthuksingthukxyangniexngthithaihthukkhnmikhwamprarthnathicathadithisud khwamsaercswnmakkephraawithikarkhxngxxphephnihemxrniexngthngaefrmiaelaxxphphimathunglxsxalaomsodymiphukhumknswntwxyangdi hlngcakthinayphlokrfsidrbkhasngihepnhwhnaokhrngkaraemnaehntn disthriksephiyngimnan ekhaidsngphukhumknippracatwnkwithyasastrthimichuxesiyngpraman 6 khn sungepnwithihnunginhlaywithithiekhacapxngknnkwithyasastrchnnathangdanphlngnganxatxm phukhumkncatidtamnkwithyasastripthukhnthukaehngemuxxyunxklxsxalaoms odyechphaatxngramdrawngepnphiessthicaimihnkwithyasastredinthangkhnediywhruxedinkhnediywinewlaklangkhun inlxsxalaoms emuxngthimikarkhumknxyangaekhngaerng aefrmiaelaxxphphisamarthedinipihnmaihnidodyimtxngmiphukhumkn aetemuxekhaedinthangipthixunphukhumkncatidtamipthukhnthukaehng 7 bukhkhlinokhrngkaraemnhttn aekikh ec orebirt xxphephnihemxr aelathimnkwithyasastr kh s 1946 sungprakxbipdwy Norris Bradbury John Manley Enrico Fermi J M B Kellogg Richard Feynman Oliver Haywood aela Edward Teller inkhnannemuxmiikhrexythungxxphephnihemxr thukkhncanukthungchaywy 38 pi phuepnhwhnathimwithyasastrinokhrngkaraemnhttn thiidrwbrwmnkfisiks nkekhmi aelawiswkrradbsudyxdnb 6 000 khn masrangraebidprmanu ephuxyutisngkhramolkkhrngthi 2 odyihmathanganrwmknthilxsxalaomsinrthniwemksiok xyanglbsudyxd khux imihfayeyxrmniruxyangeddkhad wafaysmphnthmitrkalngsrangraebidmhapraly aelaihkxngthphnkwithyasastrthanganrwmkbkxngthphthharxyangiklchid xyanghnk aelaxyangrwderw aelathukkhnkprackswaekhakhux bukhkhlediywethannthisamarthprakhbprakhxngaelaprasankhwamaetktangrahwangkhwamkhidehn xyangesrikhxngbrrdankkaremuxngaelankwichakarkbkhwamlbkhxngthharid echn ewla hns ebethx khdaeyngkbexxrenst lxwerns aelaEdward Teller bidakhxngraebidihodrecn ekhatxngekngphxthicatdsinidwa ethkhnikhidehmaasm aelaepnipid hruxewlaprathanathibdiaehrri exs thruaemnkhdaeyngkb J Edgar Hoover aehngexfbiix aelanayphl Leslie Groves phuepnhwhnaokhrngkaraemnhttn ekhatxngthukmarummatumdwykrasunwacacakbukhkhlehlanitlxdewlathangan aelaekhaktrahnkwa thungcaepnnkwichakarthiekng aetxanacthangkaremuxngkehnuxkwa channemuxidthithngsxngkhangpathakn nkwichakarktxngthxy 2 karthdlxngraebidprmanukhrngaerk aekikh karthdlxngraebidprmanuthithaelthrayinrthniwemksiok wnthi 16 krkdakhm kh s 1945 inthisud emuxthungwnthi 16 krkdakhm kh s 1945 ewla 05 30 n raebidprmanulukaerkkhxngolkkraebidthiklangthaelthrayinrthniwemksiokhangcaklxsxalaomsipthangitekuxb 200 iml ephuxthdsxbwaraebidprmanucaraebidcringtamthvsdikhxngnkwithyasastrhruxim aelathnthithiehnkhwnrupdxkehdkhnadihypraktkhun phbwaraebidmiphlngmakkwathinkwithyasastrhwngiwmak nxkcaknnmiaesngswangcaekidkhundwy swangcnedkhyingtabxdthixyuhanghlayimlehnaesngraebididinlxsxalaoms phuthiyngimhlbruwamiaesngswangxnaeplkprahladniekidkhunhlngkarthdlxngnaythharchnnayphlphuhnungidekhiynraynganthungkrathrwngklaohm War Department xthibaythungkarraebidodyerimwa erimaerkkhxngkarraebidemuxngthnghmdswangcadwyaesngswangkwadwngxathitytxnethiynghlayetha aesngnimisithxng mwng aelanaengin sxdsxngaelaaethrkipthwthukhubekhaaelasxkekhatang cnduswangiswngdngamxyangthibrryayxxkmaepnkhaphudimid txcaknnpraman 30 winathiaerngxdxakaskekidkhunxyangrunaerngaelathnthithnid tidtamdwyesiynghnkaenntidtxkn khnaediywknnnklumemkhihymhumaklxykhunsuebuxngbn karraebidthaihekidhlumkhnadihytrngcudraebid esnphasunyklangpramankhrungiml thraytamphiwhlumhlxmlalay aelaemuxthrayaekhngtwxikhlumnnkthukchabdwyaephnaekw 3 xxphephnihemxrphuchxbxankwiniphnthphasasnskvtkidexykhaxuthancakwrrnkhdiphkhwthkhitawa I have become Death the shatterer off worlds caknnimnan James Frank rangwloneblsakhafisiks kh s 1925 aela Leo Szilard phuihkanidkhwamkhideruxng fission idesnxihekhacdnganaesdngkarraebidkhxngraebidprmanuiholkduephuxkhuihyipunyxmaephsngkhram aetekhatdsinicihthingraebidprmanulngthiemuxnginyipunaethn hlngsngkhramolkkhrngthi 2 ekhayngthangankbsanknganphlngnganprmanuaehngchati Atomic Energy Commission AEC inthanathipruksa aelainpi kh s 1948 ekhaidrbkarykyxngkhunhnapknitysar Time xikdwy 2 karthingraebidprmanuthihiorachimaaelanangasaki aekikh sphaphhlngcakthingraebidprmanuthihiorachima thayodynkbin kh s 1945 phaphkarthingraebidthinangasaki kh s 1945 xnusrnsntiphaphhiorachima sungepnxnusrnsthanetuxnicthungkarthingraebidprmanuinsngkhramolkkhrngthi 2 otharixiinnangasaki thiidrbkhwamesiyhaycakthingraebidprmanuinsngkhramolkkhrngthi 2 hlngkarthdlxngraebidprmanukhrngaerkimnan idmikarichraebidprmanuxyangcringcnginsngkhram tneduxnsinghakhm kh s 1945 sngkhramkbeyxrmnidsinsudlng prathanathibdiaefrngklin di orsewltthungaekkrrmineduxnemsayn aelaprathanathibdiaehrri exs thruaemndarngtaaehnngepnprathanathibdiaethn odythruaemntxngkarchychnaxyangrwderw cungtdsinicthingraebidprmanulukaerklngthiemuxnghiorachima praethsyipun aelainxik 2 3 wntxma raebidprmanulukthisxngthukthinglngthiemuxngnangasaki phayhlngkarraebidkhxngraebidprmanulukthisxng yipunidprakasyxmaephsngkhramxyangepnthangkar sngkhramolkkhrngthi 2 cungsinsudlng shrthxemrikaaelafaysmphnthmitrcungepnfaychna 3 khawyipunprakasyxmaephmathunglxsxalaomsinewlakhawnthi 14 singhakhm kh s 1945 aemcadukmakaelw aetkarchlxngchykkracayxxkipthngist way khisetiykhawskiphuechiywchaywtthuraebid kdpumcudraebidyingpunihythieriyngrayxyurxblxsxalaomsthiekhaoyngsaychnwnmarwmkniwcudediyw phwknkwithyasastrtaoknechiyrihkbphluifkhxngkhisetiykhawskiaeladumihkbsntiphaphemuxkarchlxngphanip ehlankwithyasastrerimhnklbmaihkhwamsnickbcanwnphuesiychiwitthihiorachimaaelanangasaki sngsywaphwkekhathathukhruximthisranglukraebidxatxmkhunma khwamerngdwnkhxngokhrngkaraemnaehttnhmdlngaelw nkwithyasastrkhxy thyxycakipthilakhnsxngkhn eduxntulakhmpinnexngekhakxxkipxyuthiwxchingtn swnaefrmiaelaethlelxrklbipthichikhaok inthisudaemaetkxngthphkthxntwxxkip okrfsykelikmnthlthharchangaemnaehttnemuxwnthi 1 mkrakhm kh s 1947 kdhmaychbbihmaeplngokhrngkarniepnkhxngphleruxninchuxwa khnakrrmathikarphlngnganprmanu Atomic Energy Commission hrux AEC bthsrupkhxngokhrngkaraemnaehttncblngthikhaaethlngbangtxnkhxngaehrri exs thruaemn inwnthi 6 singhakhm kh s 1945 wa emux 16 chwomngkxn ekhruxngbinkhxngxemriknlahnungidthinglukraebidthiemuxnghiorachimasungepnthanthphsakhyaehnghnungkhxngpraethsyipun lukraebidnimiphlngmakkwa thiexnthi 20 000 tn runaerngkwalukraebidthirunaerngthisudthichuxwaaekrndsaelmkhxngxngkvsthung 2 000 etha mnkhuxlukraebidxatxm eraidichcayipepnengin 2 phnlandxllarinkaredinphnthangwithyasastrkhrngihythisudinprawtisastraelaerachnaphnn 4 xangxing aekikh 1 0 1 1 bthkhwameruxng J Robert Oppenheimer bidakhxngraebidprmanutxnaerkodysuthsn yksan cakewbistphucdkarxxniln subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 2 0 2 1 2 2 bthkhwameruxng J Robert Oppenheimer bidakhxngraebidprmanutxncbodysuthsn yksan cakewbistphucdkarxxniln subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 3 0 3 1 3 2 karthdlxngraebidprmanukhrngaerk cakewbistphakhwichafisiks khnawithyasastr mhawithyalyethkhonolyirachmngkhl subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 4 0 4 1 bthsrupkhxngokhrngkaraemnaehttn cakewbistphakhwichafisiks khnawithyasastr mhawithyalyethkhonolyirachmngkhl subkhnwnthi 8 emsayn ph s 2557 khxmulsthanthitngokhrngkaraemnhttntamkhaaenanakhxngnayphlokrfs cakewbistphakhwichafisiks khnawithyasastr mhawithyalyethkhonolyirachmngkhl subkhnwnthi 7 emsayn ph s 2557 khxmulkarkxsrangxakharokhrngkaraemnhttn cakewbistphakhwichafisiks khnawithyasastr mhawithyalyethkhonolyirachmngkhl subkhnwnthi 8 emsayn ph s 2557 khxmulkarkhumknokhrngkaraemnhttn cakewbistphakhwichafisiks khnawithyasastr mhawithyalyethkhonolyirachmngkhl subkhnwnthi 8 emsayn ph s 2557aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb okhrngkaraemnaehttnekhathungcak https th wikipedia org w index php title okhrngkaraemnhttn amp oldid 9165520, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม