fbpx
วิกิพีเดีย

โดพามีน

โดพามีน (อังกฤษ: Dopamine) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มเดียวกัน แคทิคอลลามีน และ เฟนเอทิลเอมีน ซึ่งมีความสำคัญกับสมองและร่างกาย ซื่อโดพามีน ได้จากโครงสร้างทางเคมี ซึ่งสังเคราะห์โดยการเปลี่ยนหมู่กรดอินทรีย์ของ L-DOPA ( L-3,4-dihydroxyphenylalanine) ให้เป็นหมู่อะมิโน ซึ่งเป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในสมองและไต และพบว่าพืชและสัตว์บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์ได้เช่นกัน

โดพามีน
ชื่อตาม IUPAC 4- (2-aminoethyl) benzene-1, 2-diol
ชื่ออื่น 2- (3, 4-dihydroxyphenyl) ethylamine;
3, 4-dihydroxyphenethylamine;
3-hydroxytyramine; DA; Intropin; Revivan; Oxytyramine; N-methyl-alfa
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [51-61-6][CAS],
62-31-7 (hydrochloride)
PubChem 681
SMILES
ChemSpider ID 661
คุณสมบัติ
สูตรเคมี C8H11NO2
มวลต่อหนึ่งโมล 153.178
จุดหลอมเหลว

128 °C, 401 K, 262 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 60.0 g/100 ml
ความอันตราย
R-phrases R36/37/38
S-phrases S26 S36
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ในสมอง โดพามีนทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท (neurotransmitter) คอยกระตุ้น ตัวรับโดพามีน (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนประสาท (neurohormone) ที่หลั่งมาจากสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary)

โดพามีนสามารถใช้เป็นยา ซึ่งมีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) โดยมีผลลัพธ์คือ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น แรงดันโลหิตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อโดพามีนไม่สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) โดพามีนที่ใช้เป็นยา จะไม่มีผลโดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง การเพิ่มปริมาณของโดพามีนในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆ เช่น พาร์คินสัน สามารถให้สารตั้งต้นแบบสังเคราะห์แก่โดพามีน เช่น L-DOPA เพื่อให้สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมองได้

โดพามีนเป็นสารสื่อประสาทกลุ่มแคทีโคลามีน (catecholamines) ที่สร้างมาจากกรดอะมิโนไทโรซีน (tyrosine) โดยอาศัยการทำงานของเอนไซม์ไทโรซีนไฮดรอกซิเลส (tyrosine hydroxylase) ในสมอง มีปริมาณโดพามีนประมาณร้อยละ 80 ของสารกลุ่มแคทีโคลามีนที่ถูกสร้างขึ้นทั้งหมด นอกจากนี้โดพามีนยังจัดเป็นนิวโรฮอร์โมน (neurohormone) ที่หลั่งจากสมองส่วนไฮโปธาลามัส ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งการหลั่งโปรแลกตินจากกลีบส่วนหน้าของต่อมพิทูอิตารี

เมื่อโดพามีนถูกปลดปล่อยจากเซลล์ประสาทโดพามีนแล้ว จะมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ ในหลายด้าน ซึ่งได้แก่

  1. วิถีไนโกรสไตรตาล (nigrostriatal)
  2. วิถีมีโซลิมบิค (mesolimbic)
  3. วิถีมีโซคอร์ติคอล (mesocortical)
  4. วิถีทูเบอโรอินฟันดิบิวลาร์ (tuberoinfundibular)

โดพามีนออกฤทธิ์ผ่านตัวรับโดพามีนที่เป็นโปรตีนซึ่งอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ ตัวรับโดพามีนทุกชนิดจัดอยู่ในกลุ่มตัวรับที่จับอยู่กับโปรตีนจี (G-protein-coupled receptor)

โดพามีนที่ถูกปลดปล่อยออกมาที่ไซแนปติกเคล็ฟท์ (synaptic cleft) แล้วอาจถูกทำลายได้ 3 วิธี คือ

  1. ดูดกลับเข้าเซลล์โดยโดพามีนทรานสปอตเตอร์ (dopamine transporter; DAT)
  2. ถูกเอนไซม์ทำลาย
  3. เกิดการแพร่

Major Dopamine Pathways

  • mesocortical pathway
  • mesolimbic pathway
  • nigrostriatal pathway
  • tuberoinfundibular pathway

ดูเพิ่ม

โดพาม, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อควา. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir odphamin xngkvs Dopamine epnsarprakxbxinthriyinklumediywkn aekhthikhxllamin aela efnexthilexmin sungmikhwamsakhykbsmxngaelarangkay suxodphamin idcakokhrngsrangthangekhmi sungsngekhraahodykarepliynhmukrdxinthriykhxng L DOPA L 3 4 dihydroxyphenylalanine ihepnhmuxamion sungepnsarekhmithiphlitkhuninsmxngaelait aelaphbwaphuchaelastwbangchnidksamarthsngekhraahidechnknodphaminchuxtam IUPAC 4 2 aminoethyl benzene 1 2 diolchuxxun 2 3 4 dihydroxyphenyl ethylamine 3 4 dihydroxyphenethylamine 3 hydroxytyramine DA Intropin Revivan Oxytyramine N methyl alfaelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 51 61 6 CAS 62 31 7 hydrochloride PubChem 681SMILES C1 CC C C C1CCN O OChemSpider ID 661khunsmbtisutrekhmi C8H11NO2mwltxhnungoml 153 178cudhlxmehlw 128 C 401 K 262 Fkhwamsamarthlalayid in na 60 0 g 100 mlkhwamxntrayR phrases R36 37 38S phrases S26 S36hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmiinsmxng odphaminthahnathiepnsarsuxprasath neurotransmitter khxykratun twrbodphamin dopamine receptor odphaminthahnathiepnhxromnprasath neurohormone thihlngmacaksmxngswnihopthalams hypothalamus hnathihlkkhxnghxromntwnikhuxybyngkarhlngopraelkhtin prolactin caktxmitsmxngswnhna anterior pituitary odphaminsamarthichepnya sungmiphltxrabbprasathsimphaethtik sympathetic nervous system odymiphllphthkhux xtrakaretnkhxnghwicephimkhun aerngdnolhitephimkhun xyangirktam emuxodphaminimsamarthphanokhrngsrangknrahwangeluxdaelasmxng blood brain barrier odphaminthiichepnya caimmiphlodytrngtxrabbprasathswnklang karephimprimankhxngodphamininsmxngkhxngphupwythiepnorkhtang echn pharkhinsn samarthihsartngtnaebbsngekhraahaekodphamin echn L DOPA ephuxihsamarthphanokhrngsrangknrahwangeluxdaelasmxngidodphaminepnsarsuxprasathklumaekhthiokhlamin catecholamines thisrangmacakkrdxamionithorsin tyrosine odyxasykarthangankhxngexnismithorsinihdrxksiels tyrosine hydroxylase insmxng miprimanodphaminpramanrxyla 80 khxngsarklumaekhthiokhlaminthithuksrangkhunthnghmd nxkcakniodphaminyngcdepnniworhxromn neurohormone thihlngcaksmxngswnihopthalams sungthahnathiybyngkarhlngopraelktincakklibswnhnakhxngtxmphithuxitariemuxodphaminthukpldplxycakesllprasathodphaminaelw camiphltxsmxngswntang inhlaydan sungidaek withiinokrsitrtal nigrostriatal withimioslimbikh mesolimbic withimioskhxrtikhxl mesocortical withithuebxorxinfndibiwlar tuberoinfundibular odphaminxxkvththiphantwrbodphaminthiepnoprtinsungxyubneyuxhumesll twrbodphaminthukchnidcdxyuinklumtwrbthicbxyukboprtinci G protein coupled receptor odphaminthithukpldplxyxxkmathiisaenptikekhlfth synaptic cleft aelwxacthukthalayid 3 withi khux dudklbekhaesllodyodphaminthranspxtetxr dopamine transporter DAT thukexnismthalay ekidkaraephrMajor Dopamine Pathways aekikhmesocortical pathway mesolimbic pathway nigrostriatal pathway tuberoinfundibular pathwayduephim aekikhsaresphtid aexmeftamin antipsychotic catecholamine catechol O methyl transferase okhekhn dopamine hypothesis of schizophrenia sarsuxprasath orkhpharkinsn orkhcitephth bthkhwamekiywkbephschkrrmaelayaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ephschkrrmekhathungcak https th wikipedia org w index php title odphamin amp oldid 8095987, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม