fbpx
วิกิพีเดีย

รังสีคอสมิก

รังสีคอสมิก (อังกฤษ: cosmic ray) เป็นรังสีพลังงานสูงอย่างยิ่งที่ส่วนใหญ่กำเนิดนอกระบบสุริยะ อาจทำให้เกิดการสาดอนุภาครองซึ่งทะลุทะลวงและมีผลกระทบต่อบรรยากาศของโลกและบ้างมาถึงผิวโลกได้ รังสีคอสมิกประกอบด้วยโปรตอนและนิวเคลียสอะตอมพลังงานสูงเป็นหลัก มีที่มาลึกลับ ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศแฟร์มี (2556) ถูกตีความว่าเป็นหลักฐานว่าส่วนสำคัญของรังสีคอสมิกปฐมภูมิกำเนิดจากมหานวดารา(supernova) ของดาวฤกษ์ขนาดยักษ์ ทว่า คาดว่ามหานวดารามิใช่แหล่งเดียวของรังสีคอสมิก นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์อาจผลิตรังสีคอสมิกด้วย

ฟลักซ์รังสีคอสมิกเทียบกับพลังงานอนุภาค

รังสีคอสมิกถูกเรียกว่า "รังสี" เพราะทีแรกเข้าใจผิดว่าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในการใช้ทางวิทยาศาสตร์ทั่วไป อนุภาคพลังงานสูงที่มีมวลในตัว เรียก รังสี "คอสมิก" และโฟตอน ซึ่งเป็นควอนตัมของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า (จึงไม่มีมวลในตัว) ถูกเรียกด้วยชื่อสามัญ เช่น "รังสีแกมมา" หรือ "รังสีเอ็กซ์" ขึ้นกับความถี่

รังสีคอสมิกดึงดูดความสนใจอย่างมากในทางปฏิบัติ เนื่องจากความเสียหายที่รังสีกระทำต่อไมโครอิเล็กทรอนิกส์ และชีวิตนอกเหนือการป้องกันจากบรรยากาศและสนามแม่เหล็ก และในทางวิทยาศาสตร์ เพราะมีการสังเกตว่า พลังงานของรังสีคอสมิกพลังงานสูงอย่างยิ่ง (ultra-high-energy cosmic rays, UHECRs) ที่มีพลังงานมากที่สุดเฉียด 3 × 1020 eV หรือเกือบ 40 ล้านเท่าของพลังงานของอนุภาคที่ถูกเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่เร่ง ที่ 50 จูล รังสีคอสมิกพลังงานสูงอย่างยิ่งมีพลังงานเทียบเท่ากับพลังงานจลน์ของลูกเบสบอลความเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยผลการค้นพบเหล่านี้ จึงมีความสนใจสำรวจรังสีคอสมิกเพื่อหาพลังงานที่สูงกว่านี้ ทว่า รังสีคอสมิกส่วนมากไม่มีพลังงานสูงสุดขีดเช่นนั้น การกระจายพลังงานของรังสีคอสมิกสูงสุดที่ 0.3 กิกะอิเล็กตรอนโวลต์ (4.8×10−11 J)

ในบรรดารังสีคอสมิกปฐมภูมิซึ่งกำเนิดนอกบรรยากาศของโลก ราว 99% ของนิวเคลียส (ซึ่งหลุดจากเปลือกอิเล็กตรอนของมัน) เป็นอะตอมที่ทราบกันดี และราว 1% เป็นอิเล็กตรอนเดี่ยว (คล้ายอนุภาคบีตา) ในจำนวนนิวเคลียส ราว 90% เป็นโปรตอน คือ นิวเคลียสไฮโดรเจน 9% เป็นอนุภาคแอลฟา และ 1% เป็นนิวเคลียสของธาตุหนักกว่า ส่วนน้อยมากเป็นอนุภาคปฏิสสารที่เสถียร เช่น โพสิตรอนและแอนติโปรตอน ธรรมชาติที่แน่ชัดของส่วนที่เหลือนี้เป็นขอบเขตการวิจัยที่กำลังดำเนินอยู่ การแสวงอนุภาคอย่างแข็งขันจากวงโคจรโลกยังไม่พบแอนติแอลฟา

ผล

การเปลี่ยนแปลงเคมีบรรยากาศ

รังสีคอสมิกทำให้โมเลกุลไนโตรเจนและออกซิเจนในบรรยากาศกลายเป็นไอออน ซึ่งนำไปสู่ปฏิกิริยาเคมีจำนวนหนึ่ง มีปฏิกิริยาหนึ่งส่งผลให้เกิดการพร่องโอโซน รังสีคอสมิกยังมีผลต่อการผลิตไอโซโทปไม่เสถียรจำนวนหนึ่งในบรรยากาศของโลกอย่างต่อเนื่อง เช่น คาร์บอน-14 ผ่านปฏิกิริยา

n + 14N → p + 14C

รังสีคอสมิกรักษาระดับคาร์บอน-14 ในบรรยากาศเกือบคงที่ (70 ตัน) เป็นเวลาอย่างน้อย 100,000 ปีที่ผ่านมา กระทั่งการเริ่มการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์เหนือพื้นดินในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นข้อเท็จจริงสำคัญที่ใช้ในการหาอายุคาร์บอนรังสีในโบราณคดี

อ้างอิง

  1. Sharma (2008). Atomic And Nuclear Physics. Pearson Education India. p. 478. ISBN 978-81-317-1924-4.
  2. Ackermann, M.; Ajello, M.; Allafort, A.; Baldini, L.; Ballet, J.; Barbiellini, G.; Baring, M. G.; Bastieri, D.; Bechtol, K.; Bellazzini, R.; Blandford, R. D.; Bloom, E. D.; Bonamente, E.; Borgland, A. W.; Bottacini, E.; Brandt, T. J.; Bregeon, J.; Brigida, M.; Bruel, P.; Buehler, R.; Busetto, G.; Buson, S.; Caliandro, G. A.; Cameron, R. A.; Caraveo, P. A.; Casandjian, J. M.; Cecchi, C.; Celik, O.; Charles, E.; และคณะ (2013-02-15). "Detection of the Characteristic Pion-Decay Signature in Supernova Remnants". Science. American Association for the Advancement of Science. 339 (6424): 807–811. arXiv:1302.3307. Bibcode:2013Sci...339..807A. doi:10.1126/science.1231160. สืบค้นเมื่อ 2013-02-14.
  3. Ginger Pinholster (2013-02-13). "Evidence Shows that Cosmic Rays Come from Exploding Stars".
  4. Dr. Eric Christian. "Are Cosmic Rays Electromagnetic radiation?". NASA. สืบค้นเมื่อ 2012-12-11.
  5. Nerlich, Steve (12 June 2011). "Astronomy Without A Telescope – Oh-My-God Particles". Universe Today. Universe Today. สืบค้นเมื่อ 17 February 2013.
  6. "Facts and figures". The LHC. European Organization for Nuclear Research. 2008. สืบค้นเมื่อ 17 February 2013.
  7. Gaensler, Brian (November 2011). "Extreme speed". COSMOS (41).
  8. L. Anchordoqui, T. Paul, S. Reucroft, J. Swain; Paul; Reucroft; Swain (2003). "Ultrahigh Energy Cosmic Rays: The state of the art before the Auger Observatory". International Journal of Modern Physics A. 18 (13): 2229. arXiv:hep-ph/0206072. Bibcode:2003IJMPA..18.2229A. doi:10.1142/S0217751X03013879.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Nave, Carl R. "Cosmic rays". HyperPhysics Concepts. Georgia State University. สืบค้นเมื่อ 17 February 2013.
  10. "What are cosmic rays?". NASA, Goddard Space Flight Center. สืบค้นเมื่อ 31 October 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ประวัติของรังสีคอสมิก
  • ภาพรวมของรังสีคอสมิก

งส, คอสม, งกฤษ, cosmic, เป, นร, งส, พล, งงานส, งอย, างย, งท, วนใหญ, กำเน, ดนอกระบบส, ยะ, อาจทำให, เก, ดการสาดอน, ภาครองซ, งทะล, ทะลวงและม, ผลกระทบต, อบรรยากาศของโลกและบ, างมาถ, งผ, วโลกได, ประกอบด, วยโปรตอนและน, วเคล, ยสอะตอมพล, งงานส, งเป, นหล, มาล, กล, อม, ล. rngsikhxsmik xngkvs cosmic ray epnrngsiphlngngansungxyangyingthiswnihykaenidnxkrabbsuriya 1 xacthaihekidkarsadxnuphakhrxngsungthaluthalwngaelamiphlkrathbtxbrryakaskhxngolkaelabangmathungphiwolkid rngsikhxsmikprakxbdwyoprtxnaelaniwekhliysxatxmphlngngansungepnhlk mithimaluklb khxmulcakklxngothrthrrsnxwkasaefrmi 2556 2 thuktikhwamwaepnhlkthanwaswnsakhykhxngrngsikhxsmikpthmphumikaenidcakmhanwdara supernova khxngdawvkskhnadyks 3 thwa khadwamhanwdaramiichaehlngediywkhxngrngsikhxsmik niwekhliysdarackrkmmntxacphlitrngsikhxsmikdwyflksrngsikhxsmikethiybkbphlngnganxnuphakh rngsikhxsmikthukeriykwa rngsi ephraathiaerkekhaicphidwaepnkhlunaemehlkiffa inkarichthangwithyasastrthwip 4 xnuphakhphlngngansungthimimwlintw eriyk rngsi khxsmik aelaoftxn sungepnkhwxntmkhxngrngsiaemehlkiffa cungimmimwlintw thukeriykdwychuxsamy echn rngsiaekmma hrux rngsiexks khunkbkhwamthirngsikhxsmikdungdudkhwamsnicxyangmakinthangptibti enuxngcakkhwamesiyhaythirngsikrathatximokhrxielkthrxniks aelachiwitnxkehnuxkarpxngkncakbrryakasaelasnamaemehlk aelainthangwithyasastr ephraamikarsngektwa phlngngankhxngrngsikhxsmikphlngngansungxyangying ultra high energy cosmic rays UHECRs thimiphlngnganmakthisudechiyd 3 1020 eV 5 hruxekuxb 40 lanethakhxngphlngngankhxngxnuphakhthithukekhruxngerngxnuphakhkhnadihyerng 6 thi 50 cul 7 rngsikhxsmikphlngngansungxyangyingmiphlngnganethiybethakbphlngnganclnkhxnglukebsbxlkhwamerw 90 kiolemtrtxchwomng dwyphlkarkhnphbehlani cungmikhwamsnicsarwcrngsikhxsmikephuxhaphlngnganthisungkwani 8 thwa rngsikhxsmikswnmakimmiphlngngansungsudkhidechnnn karkracayphlngngankhxngrngsikhxsmiksungsudthi 0 3 kikaxielktrxnowlt 4 8 10 11 J 9 inbrrdarngsikhxsmikpthmphumisungkaenidnxkbrryakaskhxngolk raw 99 khxngniwekhliys sunghludcakepluxkxielktrxnkhxngmn epnxatxmthithrabkndi aelaraw 1 epnxielktrxnediyw khlayxnuphakhbita incanwnniwekhliys raw 90 epnoprtxn khux niwekhliysihodrecn 9 epnxnuphakhaexlfa aela 1 epnniwekhliyskhxngthatuhnkkwa 10 swnnxymakepnxnuphakhptissarthiesthiyr echn ophsitrxnaelaaexntioprtxn thrrmchatithiaenchdkhxngswnthiehluxniepnkhxbekhtkarwicythikalngdaeninxyu karaeswngxnuphakhxyangaekhngkhncakwngokhcrolkyngimphbaexntiaexlfa enuxha 1 phl 1 1 karepliynaeplngekhmibrryakas 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunphl aekikhkarepliynaeplngekhmibrryakas aekikh rngsikhxsmikthaihomelkulinotrecnaelaxxksiecninbrryakasklayepnixxxn sungnaipsuptikiriyaekhmicanwnhnung miptikiriyahnungsngphlihekidkarphrxngoxosn rngsikhxsmikyngmiphltxkarphlitixosothpimesthiyrcanwnhnunginbrryakaskhxngolkxyangtxenuxng echn kharbxn 14 phanptikiriya n 14N p 14Crngsikhxsmikrksaradbkharbxn 14 inbrryakasekuxbkhngthi 70 tn epnewlaxyangnxy 100 000 pithiphanma krathngkarerimkarthdsxbxawuthniwekhliyrehnuxphundininchwngtnkhristthswrrs 1950 epnkhxethccringsakhythiichinkarhaxayukharbxnrngsiinobrankhdixangxing aekikh Sharma 2008 Atomic And Nuclear Physics Pearson Education India p 478 ISBN 978 81 317 1924 4 Ackermann M Ajello M Allafort A Baldini L Ballet J Barbiellini G Baring M G Bastieri D Bechtol K Bellazzini R Blandford R D Bloom E D Bonamente E Borgland A W Bottacini E Brandt T J Bregeon J Brigida M Bruel P Buehler R Busetto G Buson S Caliandro G A Cameron R A Caraveo P A Casandjian J M Cecchi C Celik O Charles E aelakhna 2013 02 15 Detection of the Characteristic Pion Decay Signature in Supernova Remnants Science American Association for the Advancement of Science 339 6424 807 811 arXiv 1302 3307 Bibcode 2013Sci 339 807A doi 10 1126 science 1231160 subkhnemux 2013 02 14 Ginger Pinholster 2013 02 13 Evidence Shows that Cosmic Rays Come from Exploding Stars Dr Eric Christian Are Cosmic Rays Electromagnetic radiation NASA subkhnemux 2012 12 11 Nerlich Steve 12 June 2011 Astronomy Without A Telescope Oh My God Particles Universe Today Universe Today subkhnemux 17 February 2013 Facts and figures The LHC European Organization for Nuclear Research 2008 subkhnemux 17 February 2013 Gaensler Brian November 2011 Extreme speed COSMOS 41 L Anchordoqui T Paul S Reucroft J Swain Paul Reucroft Swain 2003 Ultrahigh Energy Cosmic Rays The state of the art before the Auger Observatory International Journal of Modern Physics A 18 13 2229 arXiv hep ph 0206072 Bibcode 2003IJMPA 18 2229A doi 10 1142 S0217751X03013879 CS1 maint multiple names authors list link Nave Carl R Cosmic rays HyperPhysics Concepts Georgia State University subkhnemux 17 February 2013 What are cosmic rays NASA Goddard Space Flight Center subkhnemux 31 October 2012 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb rngsikhxsmikprawtikhxngrngsikhxsmik phaphrwmkhxngrngsikhxsmik bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title rngsikhxsmik amp oldid 7201118, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม