fbpx
วิกิพีเดีย

โทรศัพท์เคลื่อนที่

โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ โทรศัพท์มือถือ (บ้างเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื่อนที่แต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อโทรศัพท์อัจฉริยะ

ตัวอย่างโทรศัพท์เคลื่อนที่

โทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบันนอกจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส

โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน พ.ศ. 2516 โดย มาร์ติน คูเปอร์ (Martin Cooper) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลา ในชื่อ โมโตโรลา ไดนาแท็ค เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม ปัจจุบันจำนวนผู้ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลก เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 ที่มีจำนวน 12.4 ล้านคน มาเป็น 4,600 ล้านคน

วิวัฒนาการ

  • 1G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบแอนะล็อก โทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคนั้นไม่สามารถทำอะไรได้มากนัก ความสามารถหลักๆ คือการให้บริการเสียงอย่างเดียว รองรับเพียงการโทรเข้าและรับสาย ยังไม่รองรับการส่งหรือรับ Data ใดๆ แม้แต่จะส่ง SMS ก็ยังไม่สามารถทำได้ ซึ่งในยุคนั้นผู้คนก็ยังไม่มีความจำเป็นในการใช้งานอื่นๆ นอกจากการโทรเข้าออกอยู่แล้ว และกลุ่มคนส่วนใหญ่ที่สามารถใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ในเวลานั้น เป็นผู้มีฐานะหรือนักธุรกิจที่ใช้ติดต่องาน เนื่องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเวลานั้นมีราคาสูงมาก ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น NMT, AMPS, DataTac เริ่มใช้งานครั้งแรกในปี ค.ศ.1980
  • 2G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบดิจิทัล ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GSM, cdmaOne, PDC มีการพัฒนารูปแบบการส่งคลื่นเสียงแบบ Analog มาเป็น Digital โดยการเข้ารหัส โดยส่งคลื่นเสียงมาทางคลื่นไมโครเวฟ โดยการเข้ารหัสเป็นแบบดิจิตอลนี้ จะช่วยในเรื่องของความปลอดภัยในการใช้งานมากยิ่งขึ้น และช่วยในเรื่องของสัญญาณเสียงที่ใช้ติดต่อสื่อสารให้มีความคมชัดมากขึ้นด้วย โดยมีเทคโนโลยีการเข้าถึงช่องสัญญาณของผู้ใช้เป็นลักษณะเชิงผสมระหว่าง FDMA และ TDMA (Time Division Multiple Access) เป็นการเพิ่มช่องทางการสื่อสารทำให้รองรับปริมาณผู้ใช้งานที่มีมากขึ้นได้ ให้บริการทั้งเสียงและข้อมูล มีการทำงานแบบ circuit switching ที่ความเร็ว 9.6-14.4 kbps
    • 2.5G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบดิจิทัลที่เริ่มนำระบบ packet switching มาใช้ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น GPRS ซึ่งพัฒนาในเรื่องของการรับส่งข้อมูลที่มากขึ้น ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 115 Kbps (แต่ถูกจำกัดการใช้งานจริงอยู่ที่ 40 kbps) สิ่งที่เราจะเห็นได้ชัดถึงการเปลี่ยนแปลงในยุคนี้ก็คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้เพิ่มฟังก์ชันการรับส่งข้อมูลในส่วนของ MMS (Multimedia Messaging Service) หน้าจอโทรศัพท์เริ่มเข้าสู่ยุคหน้าจอสี และเสียงเรียกเข้าก็ถูกพัฒนาให้เป็นเสียงแบบ Polyphonic จากของเดิมที่เป็น Monotone และเข้ามาสู่ยุคที่เสียงเรียกเข้าเป็นแบบ MP3
    • 2.75G ยุคนี้เป็นยุคของ EDGE (Enhanced Data rates for Global Evolution) ที่พัฒนาต่อยอดมาจาก GPRS นั่นเอง และในปัจจุบันนี้เราก็ยังคงได้ยินและมีการใช้เทคโนโลยีนี้กันอยู่ ซึ่งได้พัฒนาในเรื่องของความเร็วในการรับส่งข้อมูลไร้สาย ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น , EDGE ให้ความเร็วน้อยกว่า 10 KBPS
  • 3G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ digital ยุคนี้จะเน้นการสื่อสารทั้งการพูดคุยแบบเสียงตามปกติและแบบรับส่งข้อมูลซึ่งในส่วนของการรับส่งข้อมูล ที่ทำให้ 3G นั้นต่างจากระบบเก่า 2G ที่มีพื้นฐานในการพูดคุยแบบเสียงตามปกติอยู่มาก เนื่องจากเป็นระบบที่ทำขึ้นมาใหม่เพื่อให้รองรับกับการรับส่งข้อมูลโดยตรง มีช่องความถี่และความจุในการรับส่งสัญญาณที่มากกว่า ส่งผลให้การรับส่งข้อมูลหรือการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านเคลื่อนที่นั้นเร็วมากขึ้นแบบก้าวกระโดด ประสิทธิภาพในการใช้งานด้านมัลติมีเดียดีขึ้น และยังมีความเสถียรกว่า 2G ที่มีความสามารถครบทั้งการสื่อสารด้วยเสียงและข้อมูลรวมถึงวิดีโอ ระบบที่จัดอยู่ในยุคนี้เช่น W-CDMA, TD-SCDMA, CDMA2000 ความเร็ว มากกว่า 144 kbps
    • 3.5G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ digital ที่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูงขึ้นกว่า 3G เช่น HSDPA ใน W-CDMA
  • 4G ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ LTE หรือ

Long Term Evolution ได้มีการพัฒนาในเรื่องความเร็วในการรับส่งข้อมูล ที่ทำได้เร็วขึ้นถึง 100 Mbps สำหรับความเร็วขนาดนี้นั้น ทำให้สามารถใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของคุณได้หลากหลายยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การดูไฟล์วีดิโอออนไลน์ด้วยความคมชัด และไม่มีการกระตุก, การสื่อสารข้ามประเทศ อย่างโทรศัพท์แบบเห็นหน้ากันแบบโต้ตอบทันที (Video Call)หรือจะเป็นการประชุมผ่านโทรศัพท์ (Mobile) ก็เป็นเรื่องง่ายขึ้น แถมยังมีค่าใช้จ่ายน้อยลงอีกด้วย สามารถเชื่อมต่อข้อมูล 3 แบบ ภาคพื้นดิน CDMA PAP และการเชื่อมต่อ Wi-Fi เพื่อการเชื่อมภาพและเสียงเป็นข้อมูลเดียวกัน และมีการพัฒนาต่อยอด เป็น 4.5G หรือเรียกว่า LTE-Aหรือ LTE Advance โดยมีความสามารถสูงกว่า LTE เดิม มีความสามารถรวมคลื่นความถี่หลากหลายๆคลื่นความถี่ ทำให้มีความเร็วสูงขึ้นสูงสุดได้ถึง 300Mbps ทำให้รองรับการใช้งานหนาแน่นและเพิ่มจำนวนผู้ใช้งานในพื้นที่นั้นๆได้อีกด้วย เป็นการเตรียมตัวสู่ยุค 5G ในอนาคตอีกด้วย

ผู้ผลิต

ส่วนแบ่งตลาดปริมาณจากข้อมูลของการ์ตเนอร์
(ยอดขายใหม่)
ยี่ห้อ ร้อยละ
ซัมซุง 2555
  
22.0%
ซัมซุง 2556
  
24.6%
โนเกีย 2555
  
19.1%
โนเกีย 2556
  
13.9%
แอปเปิล 2555
  
7.5%
แอปเปิล 2556
  
8.3%
แอลจีอิเล็กทรอนิกส์ 2555
  
3.3%
แอลจีอิเล็กทรอนิกส์ 2556
  
3.8%
แซดทีอี 2555
  
3.9%
แซดทีอี 2556
  
3.3%
อื่น ๆ 2555
  
34.9%
อื่น ๆ 2556
  
34.0%
หมายเหตุ: "อื่น ๆ 2555" ประกอบด้วยโซนีอีริกสัน โมโตโรลา แซดทีอี เอชทีซีและหัวเว่ย (2552–2553)

ก่อนปี 2553 โนเกียเป็นผู้นำตลาด ทว่า นับแต่นั้นเกิดการแข่งขันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยยี่ห้ออย่างไมโครแมกซ์ เน็กเซียนและไอโมบายล์ซึ่งแย่งส่วนแบ่งตลาดของโนเกีย สมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ก็ได้กระแสมากขึ้นทั่วภูมิภาค ส่วนโนเกียมีแนวโน้มลดลง ในประเทศอินเดีย ส่วนแบ่งตลาดของโนเกียลดลงอย่างสำคัญจาก 56% เหลือประมาณ 31% ในช่วงเดียวกัน สัดส่วนนั้นถูกแทนด้วยผู้ขายโทรศัพท์เคลื่อนที่คุณภาพต่ำสัญชาติจีนและอินเดีย

ในไตรมาสที่ 1 ของปี 2555 จากข้อมูลของสแตรเทดจีอะนาไลติกส์ ซัมซุง แซงหน้าโนเกีย โดยขายได้ 93.5 ล้านเครื่องเทียบกับโนเกีย 82.7 ล้านเครื่อง ในปี 2555 สแตนดาร์ดแอนด์พัวส์ลดระดับโนเกียเหลือสถานะ ที่ 3G+/H โดยมีความเชื่อเชิงลบเนื่องจากขาดทุนสูงและคาดหมายว่าจะเสื่อมลงอีกเนื่องจากการเติบโตของยอดขายสมาร์ตโฟน Android ไม่เพียงพอกับรายได้จากสมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการซิมเบียนที่ลดลงอย่างรวดรเวที่มีการพยากรณ์ไว้อีกหลายไตรมาสถัดมา

ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2557 ผู้ผลิตยอดขายสูงสุดสิบราย ได้แก่ ซัมซุง (20.6%), โนเกีย (9.5%), แอปเปิล จำกัด (8.4%), แอลจี (4.2%), หัวเว่ย (3.6%), ทีซีแอลคอมมิวนิเคชัน (3.5), เสี่ยวหมี่ (3.5%), เลโนโว (3.3%), แซดทีอี (3.0%) และไมโครแมกซ์ (2.2%)

โทรศัพท์ในประเทศไทย.

"ตำนานไปรษณีย์โทรเลขสยาม" พ.ศ. 2429 ถึง พ.ศ. 2468 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับโทรศัพท์ในประเทศไทยไว้ว่า ประเทศไทยได้นำเอาโทรศัพท์มาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2424 ตรงกับรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยกรมกลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจุบัน) ได้สั่งเข้ามาใช้งานในกิจการเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ โดยติดตั้งที่กรมอู่ทหารเรือกรุงเทพฯ 1 เครื่อง และป้อมยามปากน้ำเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการอีก 1 เครื่อง รวม 2 เครื่อง เพื่อจะได้แจ้งข่าวเรือ เข้าออกในแม่น้ำ เจ้าพระยาให้ทางกรุงเทพฯทราบ

  • พ.ศ. 2429 กิจการโทรศัพท์ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น จำนวนเลขหมายและบุคลากร ก็เพิ่มมากขึ้น ยุ่งยากแก่การบริหารงาน ของกรมกลาโหม ดังนั้น กรมกลาโหม จึงได้โอนกิจการของโทรศัพท์ ให้ไปอยู่ใน การ ดูแลและดำเนินการ ของกรมไปรษณีย์ โทรเลข ต่อมากรมไปรษณีย์โทรเลขก็ได้ขยายกิจการโทรศัพท์จากภาครัฐสู่เอกชน โดยให้ ประชาชน มีโอกาสใช้โทรศัพท์ได้ ในระยะนี้เครื่องที่ใช้จะเป็น ระบบแม็กนีโต (Magneto) หรือระบบ โลคอลแบตเตอรี่ (Local Bat tery )
  • พ.ศ. 2450 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งโทรศัพท์ ระบบคอมมอนแบตเตอรี่ (Battery) หรือ เซ็นทรัล แบตเตอรี่ (Battery) มาใช้ซึ่งสะดวกและประหยัดกว่าระบบแม็กนีโตมาก
  • พ.ศ. 2479 กรมไปรษณีย์โทรเลขได้สั่งซื้อชุมสายระบบสเต็บบายสเต็บ (Step by Step) ซึ่งเป็นระบบอัตโนมัติ สามารถหมุนเลขหมายถึงกันโดยตรง โดยไม่ต้องผ่านพนักงานต่อสาย (Operator) เหมือน โลคอลแบตเตอรี่ หรือ เซ็นทรัล แบตเตอรี่
  • พ.ศ. 2497 เนื่องจากกิจการโทรศัพท์ได้เจริญก้าวหน้ามาก ประชาชนนิยมใช้ แพร่หลายไปทั่วประเทศ กิจการใหญ่ โตขึ้นมากทำให้การบริหารงานลำบากมากขึ้น เพราะกรมไปรษณีย์โทรเลขต้องดูแลเรื่องอื่นอีกมาก ดังนั้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 จึงได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติตั้งองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น โดยแยก กองช่างโทรศัพท์กรมไปรษณีย์โทรเลขมาตั้งเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยขึ้น มีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวง คมนาคมมาจนถึงปัจจุบัน องค์การโทรศัพท์หลังจากที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นแล้ว ก็ได้รับโอนงานกิจการโทรศัพท์มาดูแล
  • พ.ศ. 2517 องค์การโทรศัพท์ก็สั่งซื้อชุมสายโทรศัพท์ระบบคอสบาร์ (Cross Bar) มาใช้งานระบบคอสบาร์ เป็นระบบอัตโนมัติเหมือนระบบสเต็บบายสเต็บแต่ทันสมัยกว่าทำงานได้เร็วกว่า มีวงจรพูดได้มากกว่า และขนาดเล็กกว่า
  • พ.ศ. 2526 องค์การโทรศัพท์ได้นำระบบชุมสาย SPC (Storage Program Control) มาใช้งาน ระบบ SPC เป็นระบบที่ควบคุมการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer) ทำงานได้รวดเร็วมาก ขนาดเล็ก กินไฟน้อย และยังให้ บริการ เสริมด้าน อื่น ๆ ได้อีกด้วย

ในปัจจุบันชุมสายโทรศัพท์ที่ติดตั้งใหม่ ๆ จะเป็นระบบ SPC ทั้งหมด ระบบอื่น ๆ เลิกผลิตแล้ว ประเทศไทยเรากำลัง เร่งติดตั้งโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน ดังจะเห็นจากโครงการ 3 ล้านเลขหมายในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 และโครงการอื่น ๆ ต่อไป รวมทั้งวิทยุโทรศัพท์อีกด้วย เพื่อเสริมให้ระบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ เอื้ออำนวย ต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป

การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบัน

โทรศัพท์เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ช่วยร่นระยะเวลา ระยะทางในการสื่อสารของคนยุคปัจจุบัน เป็นเทคโนโลยีที่สร้างประโยชน์ได้มากต่อการพัฒนาความก้าวหน้าในด้านต่างๆของโลก ซึ่งปัจจุบันโทรศัพท์เคลื่อนที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างมาก ด้วยความบันเทิงหลากหลายที่เป็นจุดขายดึงดูดวัยรุ่นยุคปัจจุบันที่ดำเนินชีวิตอยู่กับเทคโนโลยี ทำให้เครื่องมือสื่อสารชนิดนี้มีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิต วัยรุ่นมักนำความสามารถทุกอย่างที่โทรศัพท์เคลื่อนที่ทำได้มาประยุกต์ในทางที่เสื่อมมากกว่าทางสร้างสรรค์ โทรศัพท์เคลื่อนที่มีอิทธิพลต่ออารมณ์ให้เป็นคนขาดความอดทน ใจร้อน ขาดความรอบคอบ อารมณ์รุนแรง มีอิทธิพลในการใช้เงินของวัยรุ่น เนื่องจากวัยรุ่นมีความต้องการที่จะเปลี่ยนโทรศัพท์ใหม่ให้อินเทรนด์ อยู่เสมอ มีอิทธิพลต่อการศึกษาและการพัฒนาความรู้ นอกจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำลายเซลล์สมองให้ด้อยพัฒนาแล้ว ยังส่งผลต่อสุขภาพและลดสมาธิ

ผลกระทบต่อสุขภาพ

ความเชื่อที่ว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพในระยะยาวนั้น ปัจจุบันได้รับการยืนยันจากองค์การอนามัยโลกแล้ว โดยองค์การฯ ได้บรรจุโทรศัพท์เคลื่อนที่ไว้ในรายชื่อวัตถุก่อมะเร็ง ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ออกรายงานเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 โดยจัดว่ารังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็น "วัตถุก่อมะเร็ง" และ "อาจก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์" ได้ รายงานดังกล่าวออกมาหลังจากทีมนักวิทยาศาสตร์ได้ทบทวนการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยของโทรศัพท์เคลื่อนที่ งานวิจัยหนึ่งว่าด้วยการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในอดีตนั้นได้ถูกอ้างอิงในรายงานซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างหนักจะมีความเสี่ยงเป็นเนื้องอกในสมองมากขึ้นถึง 40% (รายงานการใช้โดยเฉลี่ย 30 นาทีต่อวัน เป็นเวลาติดต่อกันนานกว่า 10 ปี) ซึ่งรายงานดังกล่าวตรงกันข้ามกับการสรุปก่อนหน้านี้ซึ่งไม่คาดว่ามะเร็งจะเกิดขึ้นเป็นผลมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือสถานีฐาน และการทบทวนดังกล่าวไม่ได้พบหลักฐานชัดเจนเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพด้านอื่นแต่อย่างใด

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Heeks, Richard (2008). "Meet Marty Cooper - the inventor of the mobile phone". BBC. 41 (6): 26–33. doi:10.1109/MC.2008.192.
  2. http://www.worldmapper.org/display.php?selected=333
  3. Heeks, Richard (2008). "ICT4D 2.0: The Next Phase of Applying ICT for International Development". IEEE Computer. 41 (6): 26–33. doi:10.1109/MC.2008.192.
  4. "Samsung May Have Just Become The King Of Mobile Handsets, While S&P Downgrades Nokia To Junk". สืบค้นเมื่อ 28 April 2012.
  5. "Gartner Says Sales of Smartphones Grew 20 Percent in Third Quarter of 2014". Gartner.
  6. WHO: Cell phone use can increase possible cancer risk By Danielle Dellorto, CNN May 31, 2011
  7. "What are the health risks associated with mobile phones and their base stations?". Online Q&A. World Health Organization. 2005-12-05. สืบค้นเมื่อ 2008-01-19.
  8. "World Health Organization/International Agency for Research on Cancer Classifies Radiofrequency Electromagnetic Fields as Possibly Carcinogenic to Humans" (PDF). World Health Organization. สืบค้นเมื่อ 2011-05-31.
  9. "WHO: Cell phone use can increase possible cancer risk". CNN. สืบค้นเมื่อ 2011-05-31.
  10. "World Health Organization: Cell Phones May Cause Cancer". Business Insider. สืบค้นเมื่อ 2011-05-31.
  11. "What are the health risks associated with mobile phones and their base stations?". Online Q&A. World Health Organization. 2005-12-05. สืบค้นเมื่อ 2008-01-19.
  12. "Electromagnetic fields and public health: mobile telephones and their base stations". Fact sheet N°193. World Health Organization. 2000. สืบค้นเมื่อ 2008-01-19. Unknown parameter |month= ignored (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • "The Long Odyssey of the Cell Phone", 15 photos with captions from Time magazine
  • Cell Phone, the ring heard around the world—a video documentary by the [[Canadian Broadcasting Corporation]

โทรศ, พท, เคล, อนท, หร, โทรศ, พท, อถ, างเร, ยก, ทย, โทรศ, พท, ออ, ปกรณ, เล, กทรอน, กส, ใช, ในการส, อสารสองทางผ, าน, ใช, คล, นว, ทย, ในการต, ดต, อก, บเคร, อข, ายโทรศ, พท, อถ, อโดยผ, านสถาน, ฐาน, โดยเคร, อข, ายของแต, ละผ, ให, บร, การจะเช, อมต, อก, บเคร, อข, ายขอ. othrsphthekhluxnthi hrux othrsphthmuxthux bangeriyk withyuothrsphth khuxxupkrnxielkthrxniksthiichinkarsuxsarsxngthangphan othrsphthekhluxnthiichkhlunwithyuinkartidtxkbekhruxkhayothrsphthmuxthuxodyphansthanithan odyekhruxkhaykhxngothrsphthekhluxnthiaetlaphuihbrikarcaechuxmtxkbekhruxkhaykhxngothrsphthbanaelaekhruxkhayothrsphthekhluxnthikhxngphuihbrikarxun othrsphthekhluxnthithimikhwamsamarthephimkhuninlksnakhxmphiwetxrphkphacathukklawthunginchuxothrsphthxcchriyatwxyangothrsphthekhluxnthi othrsphthekhluxnthiinpccubnnxkcakkhwamsamarthphunthankhxngothrsphthaelw yngmikhunsmbtiphunthankhxngothrsphthekhluxnthithiephimkhunma echn karsngkhxkhwamsnexsexmexs ptithin nalikapluk tarangndhmay ekm karichnganxinethxrent bluthuth xinfraerd klxngthayphaph exmexmexs withyu ekhruxngelnephlng aela ciphiexsothrsphthekhluxnthiekhruxngaerkthukphlitaelaxxkaesdngin ph s 2516 ody martin khuepxr Martin Cooper nkpradisthcakbristhomotorla inchux omotorla idnaaethkh epnothrsphthekhluxnthikhnadihythiminahnkpraman 1 1 kiolkrm 1 pccubncanwnphuichnganothrsphthekhluxnthithwolk ephimkhuncakpi ph s 2543 thimicanwn 12 4 lankhn 2 maepn 4 600 lankhn 3 enuxha 1 wiwthnakar 2 phuphlit 3 othrsphthinpraethsithy 4 karichothrsphthekhluxnthiinpccubn 5 phlkrathbtxsukhphaph 6 duephim 7 xangxing 8 aehlngkhxmulxunwiwthnakar aekikh1G rabbothrsphthekhluxnthiaebbaexnalxk othrsphthekhluxnthiinyukhnnimsamarththaxairidmaknk khwamsamarthhlk khuxkarihbrikaresiyngxyangediyw rxngrbephiyngkarothrekhaaelarbsay yngimrxngrbkarsnghruxrb Data id aemaetcasng SMS kyngimsamarththaid sunginyukhnnphukhnkyngimmikhwamcaepninkarichnganxun nxkcakkarothrekhaxxkxyuaelw aelaklumkhnswnihythisamarthichnganothrsphthekhluxnthiidinewlann epnphumithanahruxnkthurkicthiichtidtxngan enuxngcakothrsphthekhluxnthiinewlannmirakhasungmak rabbthicdxyuinyukhniechn NMT AMPS DataTac erimichngankhrngaerkinpi kh s 1980 2G rabbothrsphthekhluxnthiaebbdicithl rabbthicdxyuinyukhniechn GSM cdmaOne PDC mikarphthnarupaebbkarsngkhlunesiyngaebb Analog maepn Digital odykarekharhs odysngkhlunesiyngmathangkhlunimokhrewf odykarekharhsepnaebbdicitxlni cachwyineruxngkhxngkhwamplxdphyinkarichnganmakyingkhun aelachwyineruxngkhxngsyyanesiyngthiichtidtxsuxsarihmikhwamkhmchdmakkhundwy odymiethkhonolyikarekhathungchxngsyyankhxngphuichepnlksnaechingphsmrahwang FDMA aela TDMA Time Division Multiple Access epnkarephimchxngthangkarsuxsarthaihrxngrbprimanphuichnganthimimakkhunid ihbrikarthngesiyngaelakhxmul mikarthanganaebb circuit switching thikhwamerw 9 6 14 4 kbps 2 5G rabbothrsphthekhluxnthiaebbdicithlthierimnarabb packet switching maich rabbthicdxyuinyukhniechn GPRS sungphthnaineruxngkhxngkarrbsngkhxmulthimakkhun dwykhwamerwsungsudthung 115 Kbps aetthukcakdkarichngancringxyuthi 40 kbps singthieracaehnidchdthungkarepliynaeplnginyukhnikkhux othrsphthekhluxnthiidephimfngkchnkarrbsngkhxmulinswnkhxng MMS Multimedia Messaging Service hnacxothrsphtherimekhasuyukhhnacxsi aelaesiyngeriykekhakthukphthnaihepnesiyngaebb Polyphonic cakkhxngedimthiepn Monotone aelaekhamasuyukhthiesiyngeriykekhaepnaebb MP3 2 75G yukhniepnyukhkhxng EDGE Enhanced Data rates for Global Evolution thiphthnatxyxdmacak GPRS nnexng aelainpccubnnierakyngkhngidyinaelamikarichethkhonolyiniknxyu sungidphthnaineruxngkhxngkhwamerwinkarrbsngkhxmulirsay rabbthicdxyuinyukhniechn EDGE ihkhwamerwnxykwa 10 KBPS 3G rabbothrsphthekhluxnthiaebb digital yukhnicaennkarsuxsarthngkarphudkhuyaebbesiyngtampktiaelaaebbrbsngkhxmulsunginswnkhxngkarrbsngkhxmul thithaih 3G nntangcakrabbeka 2G thimiphunthaninkarphudkhuyaebbesiyngtampktixyumak enuxngcakepnrabbthithakhunmaihmephuxihrxngrbkbkarrbsngkhxmulodytrng michxngkhwamthiaelakhwamcuinkarrbsngsyyanthimakkwa sngphlihkarrbsngkhxmulhruxkarichxinethxrentphanekhluxnthinnerwmakkhunaebbkawkraodd prasiththiphaphinkarichngandanmltimiediydikhun aelayngmikhwamesthiyrkwa 2G thimikhwamsamarthkhrbthngkarsuxsardwyesiyngaelakhxmulrwmthungwidiox rabbthicdxyuinyukhniechn W CDMA TD SCDMA CDMA2000 khwamerw makkwa 144 kbps 3 5G rabbothrsphthekhluxnthiaebb digital thimikhwamerwinkarsngkhxmulsungkhunkwa 3G echn HSDPA in W CDMA 4G rabbothrsphthekhluxnthiaebb LTE hruxLong Term Evolution idmikarphthnaineruxngkhwamerwinkarrbsngkhxmul thithaiderwkhunthung 100 Mbps sahrbkhwamerwkhnadninn thaihsamarthichnganothrsphthekhluxnthi khxngkhunidhlakhlayyingkhun imwacaepn karduiflwidioxxxnilndwykhwamkhmchd aelaimmikarkratuk karsuxsarkhampraeths xyangothrsphthaebbehnhnaknaebbottxbthnthi Video Call hruxcaepnkarprachumphanothrsphth Mobile kepneruxngngaykhun aethmyngmikhaichcaynxylngxikdwy samarthechuxmtxkhxmul 3 aebb phakhphundin CDMA PAP aelakarechuxmtx Wi Fi ephuxkarechuxmphaphaelaesiyngepnkhxmulediywkn aelamikarphthnatxyxd epn 4 5G hruxeriykwa LTE Ahrux LTE Advance odymikhwamsamarthsungkwa LTE edim mikhwamsamarthrwmkhlunkhwamthihlakhlaykhlunkhwamthi thaihmikhwamerwsungkhunsungsudidthung 300Mbps thaihrxngrbkarichnganhnaaennaelaephimcanwnphuichnganinphunthinnidxikdwy epnkaretriymtwsuyukh 5G inxnakhtxikdwyphuphlit aekikhswnaebngtladprimancakkhxmulkhxngkartenxr yxdkhayihm yihx rxylasmsung 2555 22 0 smsung 2556 24 6 onekiy 2555 19 1 onekiy 2556 13 9 aexpepil 2555 7 5 aexpepil 2556 8 3 aexlcixielkthrxniks 2555 3 3 aexlcixielkthrxniks 2556 3 8 aesdthixi 2555 3 9 aesdthixi 2556 3 3 xun 2555 34 9 xun 2556 34 0 hmayehtu xun 2555 prakxbdwyosnixiriksn omotorla aesdthixi exchthisiaelahwewy 2552 2553 kxnpi 2553 onekiyepnphunatlad thwa nbaetnnekidkaraekhngkhninphumiphakhexechiyaepsifik odyyihxxyangimokhraemks enkesiynaelaixombaylsungaeyngswnaebngtladkhxngonekiy smartofnthiichrabbptibtikaraexndrxydkidkraaesmakkhunthwphumiphakh swnonekiymiaenwonmldlng inpraethsxinediy swnaebngtladkhxngonekiyldlngxyangsakhycak 56 ehluxpraman 31 inchwngediywkn sdswnnnthukaethndwyphukhayothrsphthekhluxnthikhunphaphtasychaticinaelaxinediyinitrmasthi 1 khxngpi 2555 cakkhxmulkhxngsaetrethdcixanailtiks smsung aesnghnaonekiy odykhayid 93 5 lanekhruxngethiybkbonekiy 82 7 lanekhruxng inpi 2555 saetndardaexndphwsldradbonekiyehluxsthana thi 3G H odymikhwamechuxechinglbenuxngcakkhadthunsungaelakhadhmaywacaesuxmlngxikenuxngcakkaretibotkhxngyxdkhaysmartofn Android imephiyngphxkbrayidcaksmartofnthiichrabbptibtikarsimebiynthildlngxyangrwdrewthimikarphyakrniwxikhlayitrmasthdma 4 initrmasthi 3 khxngpi 2557 phuphlityxdkhaysungsudsibray idaek smsung 20 6 onekiy 9 5 aexpepil cakd 8 4 aexlci 4 2 hwewy 3 6 thisiaexlkhxmmiwniekhchn 3 5 esiywhmi 3 5 elonow 3 3 aesdthixi 3 0 aelaimokhraemks 2 2 5 othrsphthinpraethsithy aekikh tananiprsniyothrelkhsyam ph s 2429 thung ph s 2468 idbnthukeruxngrawekiywkbothrsphthinpraethsithyiwwa praethsithyidnaexaothrsphthmaichepnkhrngaerk emux ph s 2424 trngkbrchkalthi 5 aehngkrungrtnoksinthr odykrmklaohm krathrwngklaohminpccubn idsngekhamaichnganinkickarephuxkhwammnkhngaehngchati odytidtngthikrmxuthhareruxkrungethph 1 ekhruxng aelapxmyampaknaecaphraya cnghwdsmuthrprakarxik 1 ekhruxng rwm 2 ekhruxng ephuxcaidaecngkhawerux ekhaxxkinaemna ecaphrayaihthangkrungethphthrab ph s 2429 kickarothrsphthidecriyrungeruxngkhun canwnelkhhmayaelabukhlakr kephimmakkhun yungyakaekkarbriharngan khxngkrmklaohm dngnn krmklaohm cungidoxnkickarkhxngothrsphth ihipxyuin kar duaelaeladaeninkar khxngkrmiprsniy othrelkh txmakrmiprsniyothrelkhkidkhyaykickarothrsphthcakphakhrthsuexkchn odyih prachachn mioxkasichothrsphthid inrayaniekhruxngthiichcaepn rabbaemkniot Magneto hruxrabb olkhxlaebtetxri Local Bat tery ph s 2450 krmiprsniyothrelkhidsngothrsphth rabbkhxmmxnaebtetxri Battery hrux esnthrl aebtetxri Battery maichsungsadwkaelaprahydkwarabbaemkniotmak ph s 2479 krmiprsniyothrelkhidsngsuxchumsayrabbsetbbaysetb Step by Step sungepnrabbxtonmti samarthhmunelkhhmaythungknodytrng odyimtxngphanphnkngantxsay Operator ehmuxn olkhxlaebtetxri hrux esnthrl aebtetxri ph s 2497 enuxngcakkickarothrsphthidecriykawhnamak prachachnniymich aephrhlayipthwpraeths kickarihy otkhunmakthaihkarbriharnganlabakmakkhun ephraakrmiprsniyothrelkhtxngduaeleruxngxunxikmak dngnnemuxwnthi 24 kumphaphnth ph s 2497 cungidmiphrabrmrachoxngkaroprdekla ihtraphrarachbyytitngxngkhkarothrsphthaehngpraethsithykhun odyaeyk kxngchangothrsphthkrmiprsniyothrelkhmatngepnxngkhkarothrsphthaehngpraethsithykhun mithanaepnrthwisahkic sngkdkrathrwng khmnakhmmacnthungpccubn xngkhkarothrsphthhlngcakthiidrbkarcdtngkhunaelw kidrboxnngankickarothrsphthmaduael ph s 2517 xngkhkarothrsphthksngsuxchumsayothrsphthrabbkhxsbar Cross Bar maichnganrabbkhxsbar epnrabbxtonmtiehmuxnrabbsetbbaysetbaetthnsmykwathanganiderwkwa miwngcrphudidmakkwa aelakhnadelkkwa ph s 2526 xngkhkarothrsphthidnarabbchumsay SPC Storage Program Control maichngan rabb SPC epnrabbthikhwbkhumkarthangandwykhxmphiwetxr Computer thanganidrwderwmak khnadelk kinifnxy aelayngih brikar esrimdan xun idxikdwyinpccubnchumsayothrsphththitidtngihm caepnrabb SPC thnghmd rabbxun elikphlitaelw praethsithyerakalng erngtidtngothrsphthephuxihphxichkbprachachn dngcaehncakokhrngkar 3 lanelkhhmayinaephnphthna esrsthkicaelasngkhmaehngchati chbbthi 7 aelaokhrngkarxun txip rwmthngwithyuothrsphthxikdwy ephuxesrimihrabbsuxsarinpraethsithymiprasiththiphaph exuxxanwy txkarphthnapraethsihecriyrungeruxngtxip 3 karichothrsphthekhluxnthiinpccubn aekikhothrsphthepnekhruxngmuxsuxsarthichwyrnrayaewla rayathanginkarsuxsarkhxngkhnyukhpccubn epnethkhonolyithisrangpraoychnidmaktxkarphthnakhwamkawhnaindantangkhxngolk sungpccubnothrsphthekhluxnthimikhwamkawhnathangethkhonolyixyangmak dwykhwambnethinghlakhlaythiepncudkhaydungdudwyrunyukhpccubnthidaeninchiwitxyukbethkhonolyi thaihekhruxngmuxsuxsarchnidnimixiththiphltxkardaeninchiwit wyrunmknakhwamsamarththukxyangthiothrsphthekhluxnthithaidmaprayuktinthangthiesuxmmakkwathangsrangsrrkh othrsphthekhluxnthimixiththiphltxxarmnihepnkhnkhadkhwamxdthn icrxn khadkhwamrxbkhxb xarmnrunaerng mixiththiphlinkarichenginkhxngwyrun enuxngcakwyrunmikhwamtxngkarthicaepliynothrsphthihmihxinethrnd xyuesmx mixiththiphltxkarsuksaaelakarphthnakhwamru nxkcakkhlunaemehlkiffathithalayesllsmxngihdxyphthnaaelw yngsngphltxsukhphaphaelaldsmathiphlkrathbtxsukhphaph aekikhdubthkhwamhlkthi rngsiothrsphthekhluxnthikbsukhphaph khwamechuxthiwaothrsphthekhluxnthisamarthkxihekidkhwamesiyngtxsukhphaphinrayayawnn pccubnidrbkaryunyncakxngkhkarxnamyolkaelw odyxngkhkar idbrrcuothrsphthekhluxnthiiwinraychuxwtthukxmaerng 6 7 sungxngkhkarxnamyolkidxxkraynganemuxwnthi 31 phvsphakhm ph s 2554 8 odycdwarngsiothrsphthekhluxnthiepn wtthukxmaerng aela xackxihekidmaernginmnusy id rayngandngklawxxkmahlngcakthimnkwithyasastridthbthwnkarsuksaekiywkbkhwamplxdphykhxngothrsphthekhluxnthi 9 nganwicyhnungwadwykarichothrsphthekhluxnthiinxditnnidthukxangxinginrayngansungaesdngihehnwa phuichothrsphthekhluxnthixyanghnkcamikhwamesiyngepnenuxngxkinsmxngmakkhunthung 40 rayngankarichodyechliy 30 nathitxwn epnewlatidtxknnankwa 10 pi 10 sungrayngandngklawtrngknkhamkbkarsrupkxnhnanisungimkhadwamaerngcaekidkhunepnphlmacakothrsphthekhluxnthihruxsthanithan aelakarthbthwndngklawimidphbhlkthanchdecnekiywkbphlkrathbtxsukhphaphdanxunaetxyangid 11 12 duephim aekikhothrsphthekhluxnthiinpraethsithy smartofnxangxing aekikh Heeks Richard 2008 Meet Marty Cooper the inventor of the mobile phone BBC 41 6 26 33 doi 10 1109 MC 2008 192 http www worldmapper org display php selected 333 3 0 3 1 Heeks Richard 2008 ICT4D 2 0 The Next Phase of Applying ICT for International Development IEEE Computer 41 6 26 33 doi 10 1109 MC 2008 192 Samsung May Have Just Become The King Of Mobile Handsets While S amp P Downgrades Nokia To Junk subkhnemux 28 April 2012 Gartner Says Sales of Smartphones Grew 20 Percent in Third Quarter of 2014 Gartner WHO Cell phone use can increase possible cancer risk By Danielle Dellorto CNN May 31 2011 What are the health risks associated with mobile phones and their base stations Online Q amp A World Health Organization 2005 12 05 subkhnemux 2008 01 19 World Health Organization International Agency for Research on Cancer Classifies Radiofrequency Electromagnetic Fields as Possibly Carcinogenic to Humans PDF World Health Organization subkhnemux 2011 05 31 WHO Cell phone use can increase possible cancer risk CNN subkhnemux 2011 05 31 World Health Organization Cell Phones May Cause Cancer Business Insider subkhnemux 2011 05 31 What are the health risks associated with mobile phones and their base stations Online Q amp A World Health Organization 2005 12 05 subkhnemux 2008 01 19 Electromagnetic fields and public health mobile telephones and their base stations Fact sheet N 193 World Health Organization 2000 subkhnemux 2008 01 19 Unknown parameter month ignored help aehlngkhxmulxun aekikh wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa othrsphthekhluxnthi khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb othrsphthekhluxnthi The Long Odyssey of the Cell Phone 15 photos with captions from Time magazine Cell Phone the ring heard around the world a video documentary by the Canadian Broadcasting Corporation ekhathungcak https th wikipedia org w index php title othrsphthekhluxnthi amp oldid 9416884, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม