fbpx
วิกิพีเดีย

อิมพาลา

อิมพาลา
อิมพาลาธรรมดาตัวผู้ (♂)
อิมพาลาธรรมดาตัวเมีย (♀)
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
วงศ์ย่อย: Aepycerotinae
Gray, 1872
สกุล: Aepyceros
Sundevall, 1847
สปีชีส์: A.  melampus
ชื่อทวินาม
Aepyceros melampus
(Lichtenstein, 1812)
ชนิดย่อย
  • A. m. melampus Bocage, 1879
  • A. m. petersi Lichtenstein, 1812
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ (สีน้ำเงิน–อิมพาลาหน้าดำ, สีแดง–อิมพาลาธรรมดา)

อิมพาลา (อังกฤษ: Impala; ชื่อวิทยาศาสตร์: Aepyceros melampus) เป็นสัตว์กีบคู่มีเขาใหญ่เป็นเกลียว ซึ่งอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของทวีปแอฟริกา จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Aepycerotinae ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับวัวหรือแพะ, แกะ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้และสกุลนี้

คำว่า "อิมพาลา" มาจากภาษาซูลู ซึ่งเป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์ชนิดนี้ ถูกบันทึกไว้ครั้งแรกเป็นลายลักษณ์อักษรในปี ค.ศ. 1885 ในภาษาแอฟริคานส์เรียก "รูอิบอก" (Rooibok) และชื่อวิทยาศาสตร์ Aepyceros melampus คำว่า Aepyceros มาจากภาษากรีกคำว่า αιπος (อ่านออกเสียง: aipos) แปลว่า "สูง" และ κερος (อ่านออกเสียง: ceros) แปลว่า "เขาสัตว์" และ melampus แปลงมาจากภาษากรีกคำว่า μελάς (อ่านออกเสียง: melas) แปลว่า "สีดำ" และ πούς (อ่านออกเสียง: pous) แปลว่า "เท้า"

อิมพาลาเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับแอนทิโลป มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกาตั้งแต่ใต้เส้นศูนย์สูตรลงมา มีรูปร่างสวยงามได้สัดส่วน ขนมีสีน้ำตาลแดงมันเป็นเงา บริเวณใต้คาง ลำคอ และด้านท้องเป็นสีขาว แต่มีลักษณะเด่น คือ ริ้วขนสีดำตรงบริเวณด้านหลังขาอ่อนและปอยขนสีดำตรงบริเวณสันหลังของขาหลัง ตัวผู้จะมีเขาที่สวยงามคดโค้งเป็นเกลียวคล้ายตัวเอส ส่วนตัวเมียจะไม่มีเขา และมีขนาดลำตัวเล็กกว่า

อิมพาลากระจายพันธุ์อยู่ในทุ่งหญ้าสะวันนา ซึ่งเป็นทุ่งหญ้าในเขตร้อนที่มีลักษณะเป็นที่ราบและมีต้นไม้ขึ้นประปราย โดยจะอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ สมาชิกในฝูงจะมีปะปนกันทั้งตัวผู้และตัวเมียที่ยังเล็ก จำนวนประมาณ 15–25 ตัว โดยมีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง ในช่วงฤดูแล้ง ที่อาหารขาดแคลน ทั้งตัวผู้และตัวเมียที่โตเต็มที่แล้วจะมาชุมนุมกันเป็นฝูงใหญ่นับร้อยตัว ซึ่งในการชุมนุมแต่ละครั้ง อิมพาลาจะมีพฤติกรรมประการหนึ่งที่ยังอธิบายสาเหตุไม่ได้ คือ จะกระโดดสูง โดยสามารถกระโดดได้สูงถึง 30 ฟุต อิมพาลาตัวที่โตเต็มวัยกระโจนได้ไกลถึง 10 เมตร และวิ่งได้เร็วถึง 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง

อิมพาลา ถูกแบ่งออกได้เป็น 6 ชนิดย่อย แต่มี 2 ชนิดย่อยที่ได้รับการรับรอง โดยพิจารณาจากความแตกต่างกันของดีเอ็นเอ คือ

  • A. m. melampus Lichtenstein, 1812: อิมพาลาธรรมดา พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกจนถึงแอฟริกาใต้ ตั้งแต่เคนยาจนถึงแอฟริกาใต้ และตอนใต้ของแองโกลา
  • A. m. petersi Bocage, 1879: อิมพาลาหน้าดำ เป็นสิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น โดยจะพบเฉพาะทางตะวันตกเฉียงใต้ของแองโกลาและทางเหนือของนามิเบียเท่านั้น มีลักษณะแตกต่างจากอิมพาลาธรรมดาตรงที่มีแผ่นสีดำเป็นทางยาวเห็นได้ชัดบนใบหน้าจากหัวลงไปถึงจมูก มีขนาดใหญ่กว่า สีดำกว่า และหางยาวกว่าและเป็นพวงกว่าอิมพาลาทั่วไป ปัจจุบัน อิมพาลาหน้าดำมีอยู่จำนวนมากในอุทยานแห่งชาติอีโตชาและเขตอนุรักษ์เอกชนที่อยู่รอบ ๆ จัดอยู่ในสถานะของสิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์

อาหารหลักของอิมพาลา คือ ใบและกิ่งของพืชจำพวกอาคาเซีย ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปในแอฟริกา นอกจากนี้แล้วยังกินผลไม้และหญ้าขนาดสั้น ๆ เป็นอาหารได้อีกด้วย อิมพาลาสามารถที่จะอดน้ำได้หลาย ๆ วัน โดยอาศัยเลียกินตามใบไม้ ใบหญ้าได้ เป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัวตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน เพราะเป็นสัตว์ที่ถูกล่าจากสัตว์กินเนื้อ ทั้งสิงโต, เสือดาว, เสือชีตาห์, ไฮยีนา

อิมพาลามีระยะตั้งท้องนาน 171 วัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว โดยลูกอิมพาลาที่เกิดมาใหม่จะอยู่กับฝูงไปตลอดชีวิตขัย

อ้างอิง

  1. IUCN SSC Antelope Specialist Group (2008). Aepyceros melampus. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 18 January 2009. Database entry includes a brief justification of why this species is of least concern
  2. "Aepycerotinae". ระบบข้อมูลการจำแนกพันธุ์แบบบูรณาการ.
  3. Liebenberg, L. (1990). A Field Guide to the Animal Tracks of Southern Africa. Cape Town, South Africa: D. Philip. pp. 275–6. ISBN 978-0-86486-132-0. OCLC 24702472.
  4. Briggs, M.; Briggs, P. (2006). The Encyclopedia of World Wildlife. Somerset, UK: Parragon Publishers. p. 114. ISBN 978-1-4054-8292-9.
  5. Huffman, B. "Impala (Aepyceros melampus)". Ultimate Ungulate. Ultimate Ungulate. สืบค้นเมื่อ 10 April 2016.
  6. สามเหลี่ยมโอคาแวนโก ตอนที่ 4, สุดหล้าฟ้าเขียว. สารคดีโดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3: เสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556
  7. LOUISE GRAU NERSTING and PETER ARCTANDER: Phylogeography and conservation of impala and greater kudu. Molecular Ecology (2001) 10 , 711–719
  8. Black-faced Impala, Etosha, Namibia อิมพาลาหน้าดำ อีโตชา ประเทศนามีเบีย
  9. Aepyceros melampus ssp. petersi (อังกฤษ)
  10. นิตยสาร แม็ค 10 ปีที่ 14 ฉบับที่ 10 กุมภาพันธ์ 2538
  • Estes, R. (1991). The Behavior Guide to African Mammals, Including Hoofed Mammals, Carnivores, Primates. Los Angeles, The University of California Press
  • African Wildlife Fundation - Impala
  • Arkive - Impala 2008-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Impala: summary from the African Wildlife Foundation (อังกฤษ)
  •   ข้อมูลเกี่ยวข้องกับ Aepyceros melampus จากวิกิสปีชีส์

มพาลา, ธรรมดาต, วผ, ธรรมดาต, วเม, สถานะการอน, กษ, ความเส, ยงต, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, chordataช, mammaliaอ, นด, artiodactylaวงศ, bovidaeวงศ, อย, aepycerotinae, gray, 1872สก, aepyceros, sundevall, 1847สป, melampusช, อทว, นามae. ximphalaximphalathrrmdatwphu ximphalathrrmdatwemiy sthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Artiodactylawngs Bovidaewngsyxy Aepycerotinae Gray 1872skul Aepyceros Sundevall 1847spichis A melampuschuxthwinamAepyceros melampus Lichtenstein 1812 chnidyxyA m melampus Bocage 1879 A m petersi Lichtenstein 1812aephnthiaesdngkarkracayphnthu sinaengin ximphalahnada siaedng ximphalathrrmda ximphala xngkvs Impala chuxwithyasastr Aepyceros melampus epnstwkibkhumiekhaihyepnekliyw sungxasyxyuthangtxnitkhxngthwipaexfrika cdxyuinwngsyxy Aepycerotinae inwngsihy Bovidae sungepnwngsediywkbwwhruxaepha aeka cdepnsingmichiwitediywethannthixyuinwngsyxyniaelaskulni 2 khawa ximphala macakphasasulu sungepnchuxsamythiicheriykstwchnidni thukbnthukiwkhrngaerkepnlaylksnxksrinpi kh s 1885 inphasaaexfrikhanseriyk ruxibxk Rooibok 3 aelachuxwithyasastr Aepyceros melampus khawa Aepyceros macakphasakrikkhawa aipos xanxxkesiyng aipos aeplwa sung aela keros xanxxkesiyng ceros aeplwa ekhastw 4 aela melampus aeplngmacakphasakrikkhawa melas xanxxkesiyng melas aeplwa sida aela poys xanxxkesiyng pous aeplwa etha 5 ximphalaepnstwthimikhwamiklekhiyngkbaexnthiolp mithinkaenidinthwipaexfrikatngaetitesnsunysutrlngma miruprangswyngamidsdswn khnmisinatalaedngmnepnenga briewnitkhang lakhx aeladanthxngepnsikhaw aetmilksnaedn khux riwkhnsidatrngbriewndanhlngkhaxxnaelapxykhnsidatrngbriewnsnhlngkhxngkhahlng twphucamiekhathiswyngamkhdokhngepnekliywkhlaytwexs swntwemiycaimmiekha aelamikhnadlatwelkkwaximphalakracayphnthuxyuinthunghyasawnna sungepnthunghyainekhtrxnthimilksnaepnthirabaelamitnimkhunprapray odycaxyurwmknepnfungihy smachikinfungcamipapnknthngtwphuaelatwemiythiyngelk canwnpraman 15 25 tw odymitwphukhnadihyepncafung inchwngvduaelng thixaharkhadaekhln thngtwphuaelatwemiythiotetmthiaelwcamachumnumknepnfungihynbrxytw sunginkarchumnumaetlakhrng ximphalacamiphvtikrrmprakarhnungthiyngxthibaysaehtuimid khux cakraoddsung odysamarthkraoddidsungthung 30 fut ximphalatwthiotetmwykraocnidiklthung 10 emtr aelawingiderwthung 60 kiolemtr chwomng 6 ximphala thukaebngxxkidepn 6 chnidyxy aetmi 2 chnidyxythiidrbkarrbrxng odyphicarnacakkhwamaetktangknkhxngdiexnex 7 khux A m melampus Lichtenstein 1812 ximphalathrrmda phbkracayphnthuinphakhtawnxxkcnthungaexfrikait tngaetekhnyacnthungaexfrikait aelatxnitkhxngaexngokla A m petersi Bocage 1879 ximphalahnada epnsingmichiwitechphaathin odycaphbechphaathangtawntkechiyngitkhxngaexngoklaaelathangehnuxkhxngnamiebiyethann milksnaaetktangcakximphalathrrmdatrngthimiaephnsidaepnthangyawehnidchdbnibhnacakhwlngipthungcmuk mikhnadihykwa sidakwa aelahangyawkwaaelaepnphwngkwaximphalathwip pccubn ximphalahnadamixyucanwnmakinxuthyanaehngchatixiotchaaelaekhtxnurksexkchnthixyurxb 8 cdxyuinsthanakhxngsingmichiwitthiekuxbxyuinkhayiklkarsuyphnthu 9 xaharhlkkhxngximphala khux ibaelakingkhxngphuchcaphwkxakhaesiy thikhunxyuthwipinaexfrika nxkcakniaelwyngkinphlimaelahyakhnadsn epnxaharidxikdwy ximphalasamarththicaxdnaidhlay wn odyxasyeliykintamibim ibhyaid epnstwthimikhwamtuntwtlxdewlathngklangwnaelaklangkhun ephraaepnstwthithuklacakstwkinenux thngsingot esuxdaw esuxchitah ihyinaximphalamirayatngthxngnan 171 wn xxklukkhrngla 1 tw odylukximphalathiekidmaihmcaxyukbfungiptlxdchiwitkhy 10 xangxing aekikh IUCN SSC Antelope Specialist Group 2008 Aepyceros melampus In IUCN 2008 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 18 January 2009 Database entry includes a brief justification of why this species is of least concern Aepycerotinae rabbkhxmulkarcaaenkphnthuaebbburnakar Liebenberg L 1990 A Field Guide to the Animal Tracks of Southern Africa Cape Town South Africa D Philip pp 275 6 ISBN 978 0 86486 132 0 OCLC 24702472 Briggs M Briggs P 2006 The Encyclopedia of World Wildlife Somerset UK Parragon Publishers p 114 ISBN 978 1 4054 8292 9 Huffman B Impala Aepyceros melampus Ultimate Ungulate Ultimate Ungulate subkhnemux 10 April 2016 samehliymoxkhaaewnok txnthi 4 sudhlafaekhiyw sarkhdiody pxngphl xdierksar thangchxng 3 esarthi 21 thnwakhm 2556 LOUISE GRAU NERSTING and PETER ARCTANDER Phylogeography and conservation of impala and greater kudu Molecular Ecology 2001 10 711 719 Black faced Impala Etosha Namibia ximphalahnada xiotcha praethsnamiebiy Aepyceros melampus ssp petersi xngkvs nitysar aemkh 10 pithi 14 chbbthi 10 kumphaphnth 2538 Estes R 1991 The Behavior Guide to African Mammals Including Hoofed Mammals Carnivores Primates Los Angeles The University of California Press African Wildlife Fundation Impala Arkive Impala Archived 2008 12 02 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxun aekikhImpala summary from the African Wildlife Foundation xngkvs khxmulekiywkhxngkb Aepyceros melampus cakwikispichiskhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb Aepyceros melampusekhathungcak https th wikipedia org w index php title ximphala amp oldid 9546644, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม