fbpx
วิกิพีเดีย

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (อังกฤษ: Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์

แอลัน ทัวริง
OBE FRS
ทัวริง เมื่อ ค.ศ. 1927
เกิด23 มิถุนายน ค.ศ. 1912(1912-06-23)
Maida Vale, เมืองลอนดอน, ประเทศอังกฤษ
เสียชีวิต7 มิถุนายน ค.ศ. 1954 (41 ปี)
Wilmslow ชีไชร์ ประเทศอังกฤษ
สาเหตุเสียชีวิต
การเป็นพิษจากไซยาไนด์
สุสานAshes scattered near Woking Crematorium
การศึกษาสูงสุดSherborne School
ศิษย์เก่า
มีชื่อเสียงจาก
รางวัลSmith's Prize (1936)
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขา
สถาบันที่ทำงาน
ThesisSystems of Logic Based on Ordinals (1938)
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอกอลอนโซ เชิร์ช
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอกRobin Gandy
มีอิทธิพลต่อMax Newman
ลายมือชื่อ

เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องเอนิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ

หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้

นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้

ประวัติ

แอลัน ทัวริงเป็นชาวอังกฤษ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) ที่ลอนดอน และอาศัยอยู่กับพี่ชาย บิดาและมารดาของทัวริงพบกันและทำงานที่ประเทศอินเดีย

ในสมัยมัธยม ทัวริงสนิทและนับถือรุ่นพี่คนหนึ่งชื่อ คริสโตเฟอร์ มอร์คอม (Christopher Morcom) ซึ่งเสียชีวิตไปเสียก่อน ทัวริงเศร้ามาก เลยตั้งใจสานต่อสิ่งที่รุ่นพี่เขาอยากทำให้สำเร็จ ตลอดสามปีหลังจากนั้น เขาเขียนจดหมายอย่างสม่ำเสมอให้คุณแม่ของมอร์คอม ว่าเขาคิดและสงสัยเรื่องความคิดของคนว่าไปจับจดอยู่ในเรื่องหนึ่ง ๆ ได้อย่างไร (how the human mind was embodied in matter) และปล่อยเรื่องนั้น ๆ ออกไปได้อย่างไร (whether accordingly it could be released from matter) แล้ววันหนึ่งเขาก็ไปเจอหนังสือดังในยุคนั้นชื่อ "The Nature of the Physical World" อ่านไปก็เกิดนึกไปเองว่าทฤษฏีกลศาสตร์ควอนตัมมันต้องเกี่ยวกับปัญหาเรื่อง mind and matter ที่เขาคิดอยู่

การเสียชีวิต

วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ.1954) ทัวริงถูกพบเสียชีวิตในบ้านพักอายุแค่ 41 ปี หลังการชันสูตรพบว่าเขารับสารไซยาไนด์ในปริมาณที่ฆ่าคนได้ แต่จนถึงทุกวันนี้ยังไม่มีใครทราบเหตุผลที่ทำให้เขาตาย บ้างว่าเขาฆ่าตัวตายเพราะแรงกดดันจากข้อหารักร่วมเพศและการถูกฉีดยาลดความต้องการทางเพศ บ้างก็ว่าเขารับไซยาไนด์โดยบังเอิญเพราะเป็นสารเคมีที่เขาใช้ในการทำงาน บ้างก็ว่าเขาถูกลอบสังหารเพื่อป้องกันความลับของรัฐบาลรั่วไหล

ล้างมลทิน

ในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ.2013) อลัน ทิวริง ได้รับพระราชทานอภัยโทษหลังการเสียชีวิตจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเมื่อปีที่แล้ว อังกฤษได้บังคับใช้กฎหมายลดทอนความเป็นอาชญากรรมของการรักร่วมเพศระหว่างผู้ชาย หรือ 'ทิวริงส์ลอว์' (Turing's Law) ซึ่งส่งผลให้ชายที่ถูกกล่าวหาว่ามีความผิดตามกฎหมายรักร่วมเพศที่ถูกยกเลิกไปก่อนหน้านี้ ทั้งผู้ที่เสียชีวิตไปแล้วและยังมีชีวิตอยู่ พ้นจากความผิด โดยจะได้รับการล้างมลทินและข้อหาดังกล่าวจะถูกลบออกจากประวัติอาชญากรรม

สันนิษฐานเกี่ยวกับการเสียชีวิต

มีการสันนิษฐานว่าแอลัน ทัวริงนั้นได้ทำการฆ่าตัวตาย ได้สันนิษฐานได้หลายสาเหตุ ว่าจะมาจากการหนักใจเรื่องการรักษาด้วยยาปรับฮอร์โมน ที่รัฐบาลอังกฤษได้สั่งให้ทำการรักษาเพื่อไม่ให้เป็นเกย์แทนการจำคุก และยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งคือ อาจจะเกิดการฆาตกรรมเนื่องจากรักษาความปลอดภัยความลับทางทหารเกี่ยวกับภารกิจเมื่อสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

แต่อย่างไรก็ตาม สิ่งที่พบอยู่ภายในห้องนอนของเขาคือผลแอปเปิ้ลที่ถูกกัดแหว่ง ได้ทำการคาดเดาว่าการตายโดยแอปเปิ้ลของทัวริงไม่จำเป็นต้องมีเจตนา หรืออาจจะเจตนา จากการตรวจพบสารไซยาไนด์บนผลแอปเปิ้ล ซึ่งอาจจะคล้ายกับภาพยนตร์แอนิเมชั่นสโนว์ไวท์เกี่ยวกับแอปเปิ้ลอาบยาพิษ หรืออีกสาเหตุหนึ่งคือการวางผลแอปเปิ้ลโดนสารไซยาไนด์ในห้องทดลองของเขาแล้วเผลอรับประทานเข้าไป แต่ก็ยังไม่สามารถหาข้อสรุปการตายของแอลัน ทัวริงได้

การศึกษาและงาน

ปี พ.ศ. 2474 เขาเข้าเรียนคณิตศาสตร์ที่คิงส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (หมายเหตุ: ยุคนั้นคิงส์คอลเลจเป็นที่พักชายล้วน ซึ่งทัวริงก็อยู่อย่างเปิดเผยว่าเขาเป็นเกย์ และเข้าร่วมกิจกรรมชมรม) ทัวริงมีความสุขกับชีวิตที่นี่มากและทำกิจกรรมหลายอย่าง เช่น พายเรือ, เรือใบเล็ก และ วิ่งแข่ง. ทัวริงพูดเสมอว่า "งานของผมนั้นเครียดมาก และทางเดียวที่ผมจะเอามันออกไปจากหัวได้ก็คือ วิ่งให้เต็มที่" และเขาก็วิ่งอย่างจริงจัง โดยที่ผลการวิ่งมาราธอนของเขา ชนะเลิศการแข่งขันของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น ด้วยเวลา 2 ชั่วโมง 43 นาที 3 วินาที ในปี พ.ศ. 2489 ซึ่งในการแข่งขันวิ่งมาราธอนโอลิมปิก เมื่อ พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) คนที่ได้เหรียญทอง ทำเวลาได้เร็วกว่าเขาเพียง 11 นาที

ส่วนในเรื่องวิชาการในวงการคณิตศาสตร์ยุคนั้น รัสเซลล์ (Russell) เสนอเอาไว้ว่า "mathematical truth could be captured by any formalism" แต่ยุคนั้น เกอเดิล (Gödel) โต้ว่า "the incompleteness of mathematics: the existence of true statements about numbers which could not be proved by the formal application of set rules of deduction". พอปี พ.ศ. 2476 ทัวริงก็ได้เจอกับรัสเซลล์แล้วก็ตั้งคำถาม พร้อมถกเรื่องราวเหล่านี้ขึ้นมา ทำให้เขาสนใจ

ปี พ.ศ. 2477 ทัวริงก็จบจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ทางมหาวิทยาลัยก็เลยเชิญเขาอยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ (ส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่ทัวริงจบเพียงปริญญาตรี) ปี พ.ศ. 2478 ทัวริงไปเรียนกับจอห์น ฟอน นอยมันน์ เรื่อง ปัญหาของการตัดสินใจ (Entscheidungs problem) ที่ถามว่า "Could there exist, at least in principle, a definite method or process by which it could be decided whether any given mathematical assertion was provable?" ทัวริงก็เลยมาคิด ๆ โดยวิเคราะห์ว่า คนเราทำอย่างไรเวลาทำงานที่เป็นกระบวนการที่มีกฎเกณฑ์ (methodical process) แล้วก็นึกต่อว่า วางกรอบว่าให้เป็นอะไรซักอย่างที่สามารถทำได้อย่างเป็นกลไก (mechanically) ล่ะ? เขาก็เลยเสนอทฤษฏีออกมาเป็น "The analysis in terms of a theoretical machine able to perform certain precisely defined elementary operations on symbols on paper tape". โดยยกเรื่องที่เขาคิดมาตั้งแต่เด็กว่า 'สถานะความคิด' (state of mind) ของคน ในการทำกระบวนการทางความคิด มันเกี่ยวกับการเก็บ และเปลี่ยนสถานะจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนี่ง ได้ตามการกระทำทางความคิด โดยทัวริงเรียกสิ่งนี้ว่า คำสั่งตรรกะ (logical instructions) แล้วก็บอกว่าการทำงานต้องมี กฎเกณฑ์ที่แน่นอน (definite method) (ต่อมาเรียกว่า ขั้นตอนวิธี)

พอปี พ.ศ. 2479 เขาก็เลยเตรียมออกบทความวิชาการที่มืชื่อเสียง "On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem" แต่ก่อนเขาออกบทความนี้ มีอีกงานของฝั่งอเมริกาของ Church ออกมาทำนองคล้าย ๆ กันอย่างบังเอิญ เขาเลยถูกบังคับให้เขียนอิงงาน Church ไปด้วย (เพราะบทความเขาออกทีหลัง) แต่พอบทความเขาออกมาจริง ๆ คนอ่านก็เห็นว่าเป็นคนละทฤษฏีกันและของเขามีเนื้อหา relied upon an assumption internal to mathematics แม่นกว่า การเน้นเรื่อง operation ใน physical world (ยุคต่อมาคนก็เลยนำ concept เขาไปประยุกต์ใช้และให้เกียรติว่า Turing machine จึงเป็นที่มาของการยกย่องให้ทัวริงเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์) ปลายปีนั้นเองเขาก็ได้รับรางวัลสมิธ (Smith's Prize) ไปครอง

แล้วเขาก็ไปทำปริญญาโทและปริญญาเอกต่อที่ศูนย์วิจัยของมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน ซึ่งสงบเงียบตัดห่างจากผู้คน แล้วก็ออกบทความว่า โลกทางความคิดกับโลกทางกายมันเชื่อมถึงกันได้ ผ่านออกมาด้วยการกระทำ (ในยุคนั้นคนยังไม่คิดแบบนี้กัน) แล้วก็เสนอความคิดออกมาเป็น Universal Turing Machine (เครื่องจักรทัวริง) ในยุคนั้นยังไม่เรียกว่าคอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็นเครื่องคำนวณที่สามารถป้อนข้อมูลได้ ต่อมาทัวริงก็สร้างเครื่องเข้ารหัส (cipher machine) โดยใช้รีเลย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับการคูณเลขฐานสอง หลังจากเขาสำเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยปรินซ์ตันก็เสนอตำแหน่งให้เขา แต่เขาตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ เลยทิ้งทีมเพื่อน ๆ ไว้และจอห์น ฟอน นอยมันน์ก็เข้ามาสานต่อพอดี

ส่วนตัวทัวริง ก็เลือกไปทำงานด้าน 'ordinal logic' ต่อแทน เพราะเขาบอกว่าเป็น "my most difficult and deepest mathematical work, was an attempt to bring some kind of order to the realm of the uncomputable" เพราะทัวริงเชื่อว่าคนเรา โดยสัญชาตญาณสามารถตอบโต้ต่อเหตุการณ์ได้โดยไม่ต้องคำนวณ ("Human 'intuition' could correspond to uncomputable steps in an argument") แต่งานยังไม่เสร็จ ก็มีสงครามโลกครั้งที่สองเสียก่อน คือก่อนหน้านั้นเขาก็ทำงาน (อย่างเป็นความลับ) ให้กับ British Cryptanalytic department (หรือเรียกกันว่า Government code & cypher school) พอสงครามเริ่มเขาเลยเปิดเผยตัวเอง (ปกติจะทำเป็น fellow ที่คิงส์คอลเลจ เคมบริดจ์ อยู่หน้าฉากงานเดียว) เลยออกย้ายไปทำงานที่ the wartime cryptanalytic headquaters, Bletchley Park เป้าหมายคือเจาะรหัสของเครื่องเข้ารหัสเอนิกมา (Enigma Cipher Machine) ของเยอรมันให้ได้

ช่วงนั้น ทัวริงทำงานกับ W.G. Welchman นักคณิตศาสตร์ชื่อดังของเคมบริดจ์อีกคน (คนนี้ทำ critical factors, ทัวริงทำ machanisation of subtle logical deduction) ทัวริงบอกว่าเขาเจาะรหัสได้แล้วคร่าว ๆ ในปี ค.ศ. 1939 แต่ต้องได้เครื่องเอนิกมา มาวิเคราะห์การคำนวณทางสถิติเป็นขั้นสุดท้ายก่อน แล้วทุกอย่างจะออกหมด แต่ต้องรอถึงปี ค.ศ. 1942 ที่เรือดำน้ำ U-boat ของสหรัฐไปยึดมาได้ และแล้วหลังจากนั้นอีนิกมาก็ไม่มีความหมายอีกต่อไป

พอสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มสงบปี ค.ศ. 1944 ทัวริงก็เริ่มสานต่อโครงการเก่าตั้งชื่อ "Buiding the Brain" แต่ตัดสินใจล้มโครงการไปในปี ค.ศ. 1945 พอได้ข่าวว่าจอห์น ฟอน นอยมันน์ออกบทความเรื่อง EDVAC ออกมาจากฝั่งอเมริกา

ปี ค.ศ. 1946 ทัวริงกลับมาดูงานใหม่ ก็พบว่าเป็นงานคนละแนวคิดกัน ทางอเมริกาเน้นด้านอิเลกทรอนิกส์ แต่ทัวริงคิดแบบคณิตศาสตร์ ("I would like to implement arithmetical functions by programming rather than by building in electronic components, a concept different from that of the American-derived designs). โครงการตอนนั้นของทัวริงคือเครื่องคำนวณ (computation machine) ที่สามารถเปลี่ยนได้ตามใจชอบจาก numerical work เป็น algebra เป็น code breaking เป็น file handling หรือแม้กระทั่งเกมส์. ปี ค.ศ. 1947 ทัวริงเสนอว่า ต้องมีระบบจัดเก็บข้อมูล และ ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ต้องขยายตัวเองออกเป็น ชุดคำสั่งย่อย ๆ ได้ โดยการใช้รูปย่อแบบ รหัสย่อ (คำสั่ง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของภาษาโปรแกรม) แต่ปรากฏว่าไม่ได้รับการสนันสนุน

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ยังคงเสนอตำแหน่งให้เขา แต่ทัวริงตัดสินใจเปลี่ยนสายขอพัก ไม่ทำด้านคณิตศาสตร์ ไม่ทำด้านเทคโนโลยี แต่ไปทำเรื่อง neurology กับ physiology sciences แทน แล้วก็ออกบทความเรื่องเครือข่ายประสาท ขึ้นมาว่า "a sufficiently complex mechanical system could exhibit learning ability" แล้วส่งบทความไปตีพิมพ์กับ NPL แต่ NPL ก็ทำงานช้า... อยู่ ๆ ทีมนักวิจัยที่เคมบริดจ์เอง (สมัยนั้นยังชื่อ Mathematical Laboratory อยู่ ยังไม่ได้เปลี่ยนเป็น Computer Laboratory) ก็ผลิตเครื่อง EDSAC ขึ้นมา (เป็นเครื่อง storage computer machine เครื่องแรก) โดยใช้หลักของชาร์ล แบบเบจ พร้อมๆ กับ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ได้ทีมของทัวริงไปทำเครื่องในแนวทัวริงได้สำเร็จ

ทัวริงเลยขี้เกียจยุ่งเรื่องการแข่งขันผลงานทางวิทยาศาสตร์ (ช่วงนั้นผลิตกันเร็วมาก) เลยไปวิ่งแข่งแทน เพราะเวลาที่เขาวิ่งในปี ค.ศ. 1946 นั้น ทำให้เขามีสิทธิ์ลุ้นเหรียญทองวิ่งมาราธอนโอลิมปิก แต่โชคร้ายเขาประสบอุบัติเหตุรถยนต์ก่อน เลยไม่สามารถไปแข่งโอลิมปิกในปี ค.ศ. 1948 ได้ (ในปีนั้นคนที่ได้เหรียญเงินเวลารวมก็แพ้ทัวริง) สุดท้ายทัวริงก็เลยตัดสินใจกลับเคมบริดจ์ ผ่านไประยะนึง ทีมงานเก่าเขาที่ย้ายไปมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ก็เชิญเขาไปเป็นหัวหน้าภาควิชาใหม่ (ภาควิชาคอมพิวเตอร์) ทัวริงเลยตัดสินใจย้ายไป คราวนี้ไปเน้นด้านซอฟต์แวร์ ออกบทความวิชาการชื่อดังอีกอันในยุคนั้น "Computer Machine and Intelligence" ในปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็นรากฐานของแนวคิดพัฒนา ปัญญาประดิษฐ์ ในวงการคอมพิวเตอร์

ปี ค.ศ. 1951 เขาก็จับงานใหม่อีกเล่นอีกแนว morphogenetic theory ออกบทความเรื่อง "The Chemical Basis of Morphogenesis" ซึ่งต่อมาเป็น founding paper of modern non-linear dynamical theory (พวก pattern formation of instability into the realm of spherical objects, e.g. radiolaria, cylinder, model of plant stems)

ในปี ค.ศ. 1952 เขาถูกจับ โทษฐานมีเพศสัมพันธ์กับผู้ชาย ทัวริงไม่ปฏิเสธและยอมรับโทษแต่โดยดี มีทางเลือกให้เขาสองทางคือ จำคุกกับการฉีดฮอร์โมนเอสโตรเจนเป็นเวลาหนึ่งปีเพื่อลดความต้องการทางเพศ ซึ่งเขาเลือกที่จะรับการฉีดยา และแล้วปี ค.ศ. 1954 ร่างของทัวริงก็ถูกพบโดยพนักงานทำความสะอาด ในสภาพมีแอปเปิลครึ่งลูกหล่นอยู่ข้าง ๆ และมีร่องรอยการทำการทดลองทางเคมีอยู่ใกล้ ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 10 กันยายน ค.ศ. 2009 หลังจากการรณรงค์ทางอินเทอร์เน็ต กอร์ดอน บราวน์นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็ทำการขอโทษอย่างเป็นทางการในนามของรัฐบาลบริติชต่อวิธีอันไม่ถูกต้องที่รัฐบาลปฏิบัติต่อทัวริงหลังสงคราม

หลายปีต่อมา มีการเปิดเผยขึ้นมาว่า ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองสงบลง เขายังคงทำงานให้กับองค์การ 'รหัสลับ' แบบลับ ๆ ของรัฐบาลอยู่ อยู่ในสภาพที่ไม่สามารถบอกเพื่อน ๆ ได้ว่าทำอะไรบ้าง และปิดบังมาตลอด ช่วงนั้นกำลังมีสงครามเย็น สหราชอาณาจักรกับสหรัฐเป็นพันธมิตรกัน สู้กับยุโรปตะวันออก, แต่เพื่อนชาวยุโรปตะวันออก ที่เคยร่วมงานกันมาก่อนพยายามติดต่อตัวเขา เช่นในปี ค.ศ. 1953 เพื่อนเขาชาวนอร์เวย์ (เป็นสังคมนิยม) ถึงกับมาเยี่ยม ขณะที่เขากำลังพักผ่อนอยู่ที่ประเทศกรีซ ทำให้พอเขากลับมาถึงอังกฤษ ก็ถูกเรียกไปคุยกับเจ้าหน้าที่ความมั่นคง แต่ก็ไม่มีใครรู้ว่าจริง ๆ แล้วมันเกิดเรื่องอะไรและมีเบื้องหลังอย่างไร

สำหรับผลงานที่เด่น ๆ ของทัวริง เช่น การคิดโมเดลที่สามารถทำงานได้เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ (แต่อาจมีความเร็วต่ำกว่า) โดยใช้คำสั่งพื้นฐานง่าย ๆ เพียง เดินหน้า ถอยหลัง เขียน ลบ

เกียรติยศ / เชิดชู

อนุสรณ์

  • อนุสรณ์ของแอลัน ทัวริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สวมสูท นั่งบนม้านั่ง มือด้านขวาถือแอปเปิ้ลที่ถูกกัด ปฏิมากรรมสร้างขึ้นด้วยเหล็กสำริด บนพื้นมีลายธง Pride ทำด้วยกระเบื้องโมเสค ปฏิมากรรมนี้ตั้งอยู่ ณ สวนสาธารณะ Sackville Park ถนน Sackville Street กรุงลอนดอน (London) , สหราชอาณาจักร
  •  
    อนุสรณ์ แอลัน ทัวริง ณ Sackville Gardens , กรุงลอนดอน
     
    ประติมากรรมแอลัน ทัวริง ปั้นขึ้นโดยนักประติมากรชาวอังกฤษ Stephen Kettle
    ประติมากรรมแอลัน ทัวริง เป็นประติมากรรมลอยตัว สร้างสรรค์ผลงานโดยนักประติมากรชาวอังกฤษ Stephen Kettle ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะโดยการใช้วัสดุหินฉนวน ตั้งอยู่ ณ Bletchley Park ที่ทำการเมื่อครั้งแอลัน ทัวริง กับคณะใช้ในการปฏิบัติการณ์ทำลายรหัสนาซี ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ตั้งอยู่ที่ มณฑลบักกิงแฮมเชอร์ , สหราชอาณาจักร

สลักรูปบนธนบัตร

  • พ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021) ธนบัตร 50 ปอนด์สเตอร์ลิง ของประเทศอังกฤษ ได้ทำการสลักรูป "อลัน ทิวริง" เพื่อเชิดชูผลงานและสร้างคุณูปการและช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากบนโลก ในสงครามโลกครั้งที่ 2

เกมคอมพิวเตอร์

  • ชื่อของแอลัน ทัวริง ยังถูกพาดพิงถึงในเนื้อเรื่องของเกมคอมพิวเตอร์แนวสยองขวัญชื่อว่า "เอาท์ลาสท์" (Outlast) โดยในเนื้อเรื่องที่ถูกสมมุติขึ้นมานี้กล่าวว่า ทัวริงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งองค์กรเมอร์กออฟร่วมกับ ดร.รูดอล์ฟ เวอร์นิค ซึ่งเป็นตัวละครสมมุติในเนื้อเรื่องของเกม

ภาพยนตร์

โลโก้

  • ได้มีการคาดเดาว่าโลโก้ปัจจุบันของแบรนด์ "Apple" ่ที่ก่อตั้งขึ้นโดย สตีฟ จอบส์ มีลักษณะเป็นลูกแอปเปิ้ลแหว่ง ซึ่งตรงกับการตายของแอลัน ทัวริง ที่กัดแอปเปิ้ลที่มีสารพิษอยู่ไป 1 คำ เนื่องจากแบรนด์ Apple ก็ได้ผลิตคอมพิวเตอร์ ซึ่งตรงกับแอลัน ทัวริง ที่ถูกยกย่องว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ดังนั้นบริษัท Apple ได้ออกแบบโลโก้เพื่อเคารพต่อ แอลัน ทัวริง หรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีการถามหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับแรงบรรดารใจของโลโก้ Rob Janoff นักออกแบบผู้สร้างโลโก้ กล่าว “ผมเกรงว่ามันจะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกัน” แต่สตีฟ จ็อบส์ ได้กล่าวว่า “ พระเจ้า! เราหวังว่ามันจะเป็นอย่างนั้น”

อ้างอิง

  1. Cooper, Prof S. Barry (7 October 2014). "The Imitation Game: how Benedict Cumberbatch brought Turing to life". The Guardian. Guardian News and Media Limited. สืบค้นเมื่อ 17 April 2017.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ whoswho
  3. แม่แบบ:Google scholar id
  4. แอลัน ทัวริง at the Mathematics Genealogy Project
  5. Gandy, Robin Oliver (1953). On axiomatic systems in mathematics and theories in physics. repository.cam.ac.uk (PhD thesis). University of Cambridge. doi:10.17863/CAM.16125. [[EThOS]] uk.bl.ethos.590164.  
  6. Grattan-Guinness, Ivor, Chapter 40, Turing's mentor, Max Newman. In Copeland, B. Jack; Bowen, Jonathan P.; Wilson, Robin; Sprevak, Mark (2017). The Turing Guide. Oxford University Press. ISBN 978-0198747826.
  7. อลัน ทัวริงผู้ช่วยชีวิตคนนับล้าน แต่กลายเป็นอาชญากรเพราะรักผู้ชาย
  8. ธนบัตร 50 ปอนด์ : อลัน ทิวริง สำคัญอย่างไรในประวัติศาสตร์โลกจึงได้รับเกียรติบนแบงก์รุ่นใหม่
  9. https://www.mentalfloss.com/article/64049/did-alan-turing-inspire-apple-logo
  10. BBC coverage of Gordon Brown's apology for Turing's mistreatment by the British government
  11. https://www.manchestereveningnews.co.uk/news/nostalgia/manchester-public-art-alan-turing-8054356
  12. https://en.wikipedia.org/wiki/Stephen_Kettle
  13. https://www.bbc.com/thai/international-49007726
  14. ถอดรหัสลับ อัจฉริยะพลิกโลก
  15. Did Alan Turing Inspire the Apple Logo?

แอล, วร, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, แอล, แมธ, วร, งกฤษ, alan, mathison, turing, นายน, 2455, 1912, นายน, 2497, 1954, เป, นน, กคณ, ตศาสตร, กตรรกศาสตร, กรห, สว. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidaexln aemthisn thwring xngkvs Alan Mathison Turing 23 mithunayn ph s 2455 kh s 1912 7 mithunayn ph s 2497 kh s 1954 epnnkkhnitsastr nktrrksastr nkrhswithyaaelawirburussngkhramchawxngkvs aelaepnthiyxmrbwaepnbidakhxngwithyakarkhxmphiwetxraexln thwring OBE FRSthwring emux kh s 1927ekid23 mithunayn kh s 1912 1912 06 23 Maida Vale emuxnglxndxn praethsxngkvsesiychiwit7 mithunayn kh s 1954 41 pi Wilmslow chiichr praethsxngkvssaehtuesiychiwitkarepnphiscakisyaindsusanAshes scattered near Woking Crematorium 1 karsuksasungsudSherborne School 2 sisyekakhingskhxlelc ekhmbridc BA mhawithyalyphrinstn PhD michuxesiyngcakphuaekarhskhxngekhruxngexnikma Turing s proof ekhruxngthwring karthdsxbthwring Unorganised machine LU decompositionrangwlSmith s Prize 1936 xachiphthangwithyasastrsakhatrrksastr khnitsastr Cryptanalysis withyasastrkhxmphiwetxr khnitsastrchiwwithya 3 sthabnthithanganmhawithyalyaemnechsetxr Government Code and Cypher School National Physical LaboratoryThesisSystems of Logic Based on Ordinals 1938 xacarythipruksainradbpriyyaexkxlxnos echirch 4 luksisyinradbpriyyaexkRobin Gandy 4 5 mixiththiphltxMax Newman 6 laymuxchuxekhaidsrangrupaebbthiepnthangkarthangkhnitsastrkhxngkarrabukhntxnwithiaelakarkhanwn odyichekhruxngckrthwring sungtamkhxpyhaechirch thwringidklawwaepnrupaebbkhxngekhruxngckrkhanwnechingklthikhrxbkhlumthuk rupaebbthiepnipidinthangptibtiinrahwangsngkhramolkkhrngthisxng thwringmiswnsakhyinkaraekarhslbkhxngfayeyxrmn odyekhaepnhwhnakhxngklum Hut 8 thithahnathiinkaraekarhskhxngekhruxngexnikmathiichinfaythhareruxhlngcaksngkhramekhaidxxkaebbekhruxngkhxmphiwetxrxielkthrxniksthisamarthopraekrmidekhruxngaerk khxngolkthihxngptibtikarfisiksaehngchati aelaidsrangekhruxngkhxmphiwetxrkhuncring thimhawithyalyaemnechsetxr rangwlthwringthukkxtngkhunephuxykyxngekhaineruxngninxkcaknnaelw karthdsxbkhxngthwringthiekhaidesnxnnmiphlxyangsungtxkarsuksaeruxngpyyapradisth sunginkhnamithkethiyngthisakhywa epnipidhruximthicaklawwaekhruxngckrnnmisanukaelasamarthkhidid enuxha 1 prawti 1 1 karesiychiwit 1 2 langmlthin 1 3 snnisthanekiywkbkaresiychiwit 2 karsuksaaelangan 3 ekiyrtiys echidchu 3 1 xnusrn 3 2 slkrupbnthnbtr 3 3 ekmkhxmphiwetxr 3 4 phaphyntr 3 5 olok 4 xangxingprawti aekikhaexln thwringepnchawxngkvs ekidemuxpi ph s 2455 kh s 1912 thilxndxn aelaxasyxyukbphichay bidaaelamardakhxngthwringphbknaelathanganthipraethsxinediyinsmymthym thwringsnithaelanbthuxrunphikhnhnungchux khrisotefxr mxrkhxm Christopher Morcom sungesiychiwitipesiykxn thwringesramak elytngicsantxsingthirunphiekhaxyakthaihsaerc tlxdsampihlngcaknn ekhaekhiyncdhmayxyangsmaesmxihkhunaemkhxngmxrkhxm waekhakhidaelasngsyeruxngkhwamkhidkhxngkhnwaipcbcdxyuineruxnghnung idxyangir how the human mind was embodied in matter aelaplxyeruxngnn xxkipidxyangir whether accordingly it could be released from matter aelwwnhnungekhakipecxhnngsuxdnginyukhnnchux The Nature of the Physical World xanipkekidnukipexngwathvstiklsastrkhwxntmmntxngekiywkbpyhaeruxng mind and matter thiekhakhidxyu karesiychiwit aekikh wnthi 7 mithunayn ph s 2497 kh s 1954 thwringthukphbesiychiwitinbanphkxayuaekh 41 pi hlngkarchnsutrphbwaekharbsarisyaindinprimanthikhakhnid aetcnthungthukwnniyngimmiikhrthrabehtuphlthithaihekhatay bangwaekhakhatwtayephraaaerngkddncakkhxharkrwmephsaelakarthukchidyaldkhwamtxngkarthangephs bangkwaekharbisyaindodybngexiyephraaepnsarekhmithiekhaichinkarthangan bangkwaekhathuklxbsngharephuxpxngknkhwamlbkhxngrthbalrwihl 7 langmlthin aekikh inpi ph s 2556 kh s 2013 xln thiwring idrbphrarachthanxphyothshlngkaresiychiwitcaksmedcphrarachininathexlisaebththi 2 aelaemuxpithiaelw xngkvsidbngkhbichkdhmayldthxnkhwamepnxachyakrrmkhxngkarrkrwmephsrahwangphuchay hrux thiwringslxw Turing s Law sungsngphlihchaythithukklawhawamikhwamphidtamkdhmayrkrwmephsthithukykelikipkxnhnani thngphuthiesiychiwitipaelwaelayngmichiwitxyu phncakkhwamphid odycaidrbkarlangmlthinaelakhxhadngklawcathuklbxxkcakprawtixachyakrrm 8 snnisthanekiywkbkaresiychiwit aekikh mikarsnnisthanwaaexln thwringnnidthakarkhatwtay idsnnisthanidhlaysaehtu wacamacakkarhnkiceruxngkarrksadwyyaprbhxromn thirthbalxngkvsidsngihthakarrksaephuximihepnekyaethnkarcakhuk aelayngmixikthvsdihnungkhux xaccaekidkarkhatkrrmenuxngcakrksakhwamplxdphykhwamlbthangthharekiywkbpharkicemuxsmysngkhramolkkhrngthi 2aetxyangirktam singthiphbxyuphayinhxngnxnkhxngekhakhuxphlaexpepilthithukkdaehwng idthakarkhadedawakartayodyaexpepilkhxngthwringimcaepntxngmiectna hruxxaccaectna cakkartrwcphbsarisyaindbnphlaexpepil sungxaccakhlaykbphaphyntraexniemchnsonwiwthekiywkbaexpepilxabyaphis hruxxiksaehtuhnungkhuxkarwangphlaexpepilodnsarisyaindinhxngthdlxngkhxngekhaaelwephlxrbprathanekhaip aetkyngimsamarthhakhxsrupkartaykhxngaexln thwringid 9 karsuksaaelangan aekikhpi ph s 2474 ekhaekhaeriynkhnitsastrthikhingskhxlelc mhawithyalyekhmbridc hmayehtu yukhnnkhingskhxlelcepnthiphkchaylwn sungthwringkxyuxyangepidephywaekhaepneky aelaekharwmkickrrmchmrm thwringmikhwamsukhkbchiwitthinimakaelathakickrrmhlayxyang echn phayerux eruxibelk aela wingaekhng thwringphudesmxwa ngankhxngphmnnekhriydmak aelathangediywthiphmcaexamnxxkipcakhwidkkhux wingihetmthi aelaekhakwingxyangcringcng odythiphlkarwingmarathxnkhxngekha chnaeliskaraekhngkhnkhxngsmakhmnkkrithasmkhreln dwyewla 2 chwomng 43 nathi 3 winathi inpi ph s 2489 sunginkaraekhngkhnwingmarathxnoxlimpik emux ph s 2491 kh s 1948 khnthiidehriyythxng thaewlaiderwkwaekhaephiyng 11 nathiswnineruxngwichakarinwngkarkhnitsastryukhnn rsesll Russell esnxexaiwwa mathematical truth could be captured by any formalism aetyukhnn ekxedil Godel otwa the incompleteness of mathematics the existence of true statements about numbers which could not be proved by the formal application of set rules of deduction phxpi ph s 2476 thwringkidecxkbrsesllaelwktngkhatham phrxmthkeruxngrawehlanikhunma thaihekhasnicpi ph s 2477 thwringkcbcakmhawithyalyekhmbridc dwyekiyrtiniymxndbhnung thangmhawithyalykelyechiyekhaxyuepn Fellow dankhnitsastrtx swnihy Fellow khxngekhmbridccaepnphwkthicbpriyyaexk aetthwringcbephiyngpriyyatri pi ph s 2478 thwringiperiynkbcxhn fxn nxymnn eruxng pyhakhxngkartdsinic Entscheidungs problem thithamwa Could there exist at least in principle a definite method or process by which it could be decided whether any given mathematical assertion was provable thwringkelymakhid odywiekhraahwa khnerathaxyangirewlathanganthiepnkrabwnkarthimikdeknth methodical process aelwknuktxwa wangkrxbwaihepnxairskxyangthisamarththaidxyangepnklik mechanically la ekhakelyesnxthvstixxkmaepn The analysis in terms of a theoretical machine able to perform certain precisely defined elementary operations on symbols on paper tape odyykeruxngthiekhakhidmatngaetedkwa sthanakhwamkhid state of mind khxngkhn inkarthakrabwnkarthangkhwamkhid mnekiywkbkarekb aelaepliynsthanacakcudhnungipxikcudhning idtamkarkrathathangkhwamkhid odythwringeriyksingniwa khasngtrrka logical instructions aelwkbxkwakarthangantxngmi kdeknththiaennxn definite method txmaeriykwa khntxnwithi phxpi ph s 2479 ekhakelyetriymxxkbthkhwamwichakarthimuchuxesiyng On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem aetkxnekhaxxkbthkhwamni mixikngankhxngfngxemrikakhxng Church xxkmathanxngkhlay knxyangbngexiy ekhaelythukbngkhbihekhiynxingngan Church ipdwy ephraabthkhwamekhaxxkthihlng aetphxbthkhwamekhaxxkmacring khnxankehnwaepnkhnlathvstiknaelakhxngekhamienuxha relied upon an assumption internal to mathematics aemnkwa karenneruxng operation in physical world yukhtxmakhnkelyna concept ekhaipprayuktichaelaihekiyrtiwa Turing machine cungepnthimakhxngkarykyxngihthwringepnbidakhxngwithyakarkhxmphiwetxr playpinnexngekhakidrbrangwlsmith Smith s Prize ipkhrxngaelwekhakipthapriyyaothaelapriyyaexktxthisunywicykhxngmhawithyalyprinstn sungsngbengiybtdhangcakphukhn aelwkxxkbthkhwamwa olkthangkhwamkhidkbolkthangkaymnechuxmthungknid phanxxkmadwykarkratha inyukhnnkhnyngimkhidaebbnikn aelwkesnxkhwamkhidxxkmaepn Universal Turing Machine ekhruxngckrthwring inyukhnnyngimeriykwakhxmphiwetxr aeteriykwaepnekhruxngkhanwnthisamarthpxnkhxmulid txmathwringksrangekhruxngekharhs cipher machine odyichrielykhlunaemehlkiffa sahrbkarkhunelkhthansxng hlngcakekhasaerckarsuksa mhawithyalyprinstnkesnxtaaehnngihekha aetekhatdsinicklbekhmbridc elythingthimephuxn iwaelacxhn fxn nxymnnkekhamasantxphxdiswntwthwring keluxkipthangandan ordinal logic txaethn ephraaekhabxkwaepn my most difficult and deepest mathematical work was an attempt to bring some kind of order to the realm of the uncomputable ephraathwringechuxwakhnera odysychatyansamarthtxbottxehtukarnidodyimtxngkhanwn Human intuition could correspond to uncomputable steps in an argument aetnganyngimesrc kmisngkhramolkkhrngthisxngesiykxn khuxkxnhnannekhakthangan xyangepnkhwamlb ihkb British Cryptanalytic department hruxeriykknwa Government code amp cypher school phxsngkhramerimekhaelyepidephytwexng pkticathaepn fellow thikhingskhxlelc ekhmbridc xyuhnachaknganediyw elyxxkyayipthanganthi the wartime cryptanalytic headquaters Bletchley Park epahmaykhuxecaarhskhxngekhruxngekharhsexnikma Enigma Cipher Machine khxngeyxrmnihidchwngnn thwringthangankb W G Welchman nkkhnitsastrchuxdngkhxngekhmbridcxikkhn khnnitha critical factors thwringtha machanisation of subtle logical deduction thwringbxkwaekhaecaarhsidaelwkhraw inpi kh s 1939 aettxngidekhruxngexnikma mawiekhraahkarkhanwnthangsthitiepnkhnsudthaykxn aelwthukxyangcaxxkhmd aettxngrxthungpi kh s 1942 thieruxdana U boat khxngshrthipyudmaid aelaaelwhlngcaknnxinikmakimmikhwamhmayxiktxipphxsngkhramolkkhrngthisxngerimsngbpi kh s 1944 thwringkerimsantxokhrngkarekatngchux Buiding the Brain aettdsiniclmokhrngkaripinpi kh s 1945 phxidkhawwacxhn fxn nxymnnxxkbthkhwameruxng EDVAC xxkmacakfngxemrikapi kh s 1946 thwringklbmadunganihm kphbwaepnngankhnlaaenwkhidkn thangxemrikaenndanxielkthrxniks aetthwringkhidaebbkhnitsastr I would like to implement arithmetical functions by programming rather than by building in electronic components a concept different from that of the American derived designs okhrngkartxnnnkhxngthwringkhuxekhruxngkhanwn computation machine thisamarthepliynidtamicchxbcak numerical work epn algebra epn code breaking epn file handling hruxaemkrathngekms pi kh s 1947 thwringesnxwa txngmirabbcdekbkhxmul aela chudkhasngkhxmphiwetxrtxngkhyaytwexngxxkepn chudkhasngyxy id odykarichrupyxaebb rhsyx khasng sungepncuderimtnkhxngphasaopraekrm aetpraktwaimidrbkarsnnsnunmhawithyalyekhmbridc yngkhngesnxtaaehnngihekha aetthwringtdsinicepliynsaykhxphk imthadankhnitsastr imthadanethkhonolyi aetipthaeruxng neurology kb physiology sciences aethn aelwkxxkbthkhwameruxngekhruxkhayprasath khunmawa a sufficiently complex mechanical system could exhibit learning ability aelwsngbthkhwamiptiphimphkb NPL aet NPL kthangancha xyu thimnkwicythiekhmbridcexng smynnyngchux Mathematical Laboratory xyu yngimidepliynepn Computer Laboratory kphlitekhruxng EDSAC khunma epnekhruxng storage computer machine ekhruxngaerk odyichhlkkhxngcharl aebbebc phrxm kb mhawithyalyaemnechsetxr idthimkhxngthwringipthaekhruxnginaenwthwringidsaercthwringelykhiekiycyungeruxngkaraekhngkhnphlnganthangwithyasastr chwngnnphlitknerwmak elyipwingaekhngaethn ephraaewlathiekhawinginpi kh s 1946 nn thaihekhamisiththilunehriyythxngwingmarathxnoxlimpik aetochkhrayekhaprasbxubtiehturthyntkxn elyimsamarthipaekhngoxlimpikinpi kh s 1948 id inpinnkhnthiidehriyyenginewlarwmkaephthwring sudthaythwringkelytdsinicklbekhmbridc phaniprayanung thimnganekaekhathiyayipmhawithyalyaemnechsetxr kechiyekhaipepnhwhnaphakhwichaihm phakhwichakhxmphiwetxr thwringelytdsinicyayip khrawniipenndansxftaewr xxkbthkhwamwichakarchuxdngxikxninyukhnn Computer Machine and Intelligence inpi kh s 1950 sungepnrakthankhxngaenwkhidphthna pyyapradisth inwngkarkhxmphiwetxrpi kh s 1951 ekhakcbnganihmxikelnxikaenw morphogenetic theory xxkbthkhwameruxng The Chemical Basis of Morphogenesis sungtxmaepn founding paper of modern non linear dynamical theory phwk pattern formation of instability into the realm of spherical objects e g radiolaria cylinder model of plant stems inpi kh s 1952 ekhathukcb othsthanmiephssmphnthkbphuchay thwringimptiesthaelayxmrbothsaetodydi mithangeluxkihekhasxngthangkhux cakhukkbkarchidhxromnexsotrecnepnewlahnungpiephuxldkhwamtxngkarthangephs sungekhaeluxkthicarbkarchidya aelaaelwpi kh s 1954 rangkhxngthwringkthukphbodyphnknganthakhwamsaxad insphaphmiaexpepilkhrunglukhlnxyukhang aelamirxngrxykarthakarthdlxngthangekhmixyuikl inthisudemuxwnthi 10 knyayn kh s 2009 hlngcakkarrnrngkhthangxinethxrent kxrdxn brawnnaykrthmntriaehngshrachxanackrkthakarkhxothsxyangepnthangkarinnamkhxngrthbalbritichtxwithixnimthuktxngthirthbalptibtitxthwringhlngsngkhram 10 hlaypitxma mikarepidephykhunmawa tngaetsngkhramolkkhrngthisxngsngblng ekhayngkhngthanganihkbxngkhkar rhslb aebblb khxngrthbalxyu xyuinsphaphthiimsamarthbxkephuxn idwathaxairbang aelapidbngmatlxd chwngnnkalngmisngkhrameyn shrachxanackrkbshrthepnphnthmitrkn sukbyuorptawnxxk aetephuxnchawyuorptawnxxk thiekhyrwmnganknmakxnphyayamtidtxtwekha echninpi kh s 1953 ephuxnekhachawnxrewy epnsngkhmniym thungkbmaeyiym khnathiekhakalngphkphxnxyuthipraethskris thaihphxekhaklbmathungxngkvs kthukeriykipkhuykbecahnathikhwammnkhng aetkimmiikhrruwacring aelwmnekideruxngxairaelamiebuxnghlngxyangirsahrbphlnganthiedn khxngthwring echn karkhidomedlthisamarththanganidethiybethakbkhxmphiwetxr aetxacmikhwamerwtakwa odyichkhasngphunthanngay ephiyng edinhna thxyhlng ekhiyn lbekiyrtiys echidchu aekikhxnusrn aekikh xnusrnkhxngaexln thwring epnpratimakrrmlxytw swmsuth nngbnmanng muxdankhwathuxaexpepilthithukkd ptimakrrmsrangkhundwyehlksarid bnphunmilaythng Pride thadwykraebuxngomeskh ptimakrrmnitngxyu n swnsatharna Sackville Park thnn Sackville Street krunglxndxn London 11 shrachxanackr xnusrn aexln thwring n Sackville Gardens krunglxndxn pratimakrrmaexln thwring pnkhunodynkpratimakrchawxngkvs Stephen Kettlepratimakrrmaexln thwring epnpratimakrrmlxytw srangsrrkhphlnganodynkpratimakrchawxngkvs Stephen Kettle thimiexklksnechphaaodykarichwsduhinchnwn tngxyu n Bletchley Park thithakaremuxkhrngaexln thwring kbkhnaichinkarptibtikarnthalayrhsnasi insngkhramolkkhrngthi 2 tngxyuthi mnthlbkkingaehmechxr shrachxanackr 12 slkrupbnthnbtr aekikh ph s 2564 kh s 2021 thnbtr 50 pxndsetxrling khxngpraethsxngkvs idthakarslkrup xln thiwring ephuxechidchuphlnganaelasrangkhunupkaraelachwychiwitphukhncanwnmakbnolk insngkhramolkkhrngthi 2 13 ekmkhxmphiwetxr aekikh chuxkhxngaexln thwring yngthukphadphingthunginenuxeruxngkhxngekmkhxmphiwetxraenwsyxngkhwychuxwa exathlasth Outlast odyinenuxeruxngthithuksmmutikhunmaniklawwa thwringepnphurwmkxtngxngkhkremxrkxxfrwmkb dr rudxlf ewxrnikh sungepntwlakhrsmmutiinenuxeruxngkhxngekmphaphyntr aekikh phaphyntr thxdrhslb xcchriyaphlikolk The Imitation Game epnphaphyntrxingprawtisastr chiwit rathukkhwy kakbodymxrethn thildm ekhiynbthodyekraehm mwr odyddaeplngcakhnngsux Alan Turing The Enigma odyaexndruw hxdcs naaesdngody ebendikt khmebxraebtch 14 olok aekikh idmikarkhadedawaolokpccubnkhxngaebrnd Apple thikxtngkhunody stif cxbs milksnaepnlukaexpepilaehwng sungtrngkbkartaykhxngaexln thwring thikdaexpepilthimisarphisxyuip 1 kha enuxngcakaebrnd Apple kidphlitkhxmphiwetxr sungtrngkbaexln thwring thithukykyxngwaepnbidakhxngwithyakarkhxmphiwetxr dngnnbristh Apple idxxkaebbolokephuxekharphtx aexln thwring hruxim aetxyangirktam kidmikarthamhakhxethccringekiywkbaerngbrrdarickhxngolok Rob Janoff nkxxkaebbphusrangolok klaw phmekrngwamncaimmiswnekiywkhxngkn aetstif cxbs idklawwa phraeca erahwngwamncaepnxyangnn 15 xangxing aekikh Cooper Prof S Barry 7 October 2014 The Imitation Game how Benedict Cumberbatch brought Turing to life The Guardian Guardian News and Media Limited subkhnemux 17 April 2017 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux whoswho aemaebb Google scholar id 4 0 4 1 aexln thwring at the Mathematics Genealogy Project Gandy Robin Oliver 1953 On axiomatic systems in mathematics and theories in physics repository cam ac uk PhD thesis University of Cambridge doi 10 17863 CAM 16125 EThOS uk bl ethos 590164 Grattan Guinness Ivor Chapter 40 Turing s mentor Max Newman In Copeland B Jack Bowen Jonathan P Wilson Robin Sprevak Mark 2017 The Turing Guide Oxford University Press ISBN 978 0198747826 xln thwringphuchwychiwitkhnnblan aetklayepnxachyakrephraarkphuchay thnbtr 50 pxnd xln thiwring sakhyxyangirinprawtisastrolkcungidrbekiyrtibnaebngkrunihm https www mentalfloss com article 64049 did alan turing inspire apple logo BBC coverage of Gordon Brown s apology for Turing s mistreatment by the British government https www manchestereveningnews co uk news nostalgia manchester public art alan turing 8054356 https en wikipedia org wiki Stephen Kettle https www bbc com thai international 49007726 thxdrhslb xcchriyaphlikolk Did Alan Turing Inspire the Apple Logo Campbell Kelly Martin ed 1994 Passages in the Life of a Philosopher London William Pickering ISBN 0 8135 2066 5 Campbell Kelly Martin and Aspray William 1996 Computer A History of the Information Machine New York Basic Books ISBN 0 465 02989 2 Ceruzzi Paul 1998 A History of Modern Computing Cambridge Massachusetts and London MIT Press ISBN 0 262 53169 0 Chandler Alfred 1977 The Visible Hand The Managerial Revolution in American Business Cambridge Massachusetts Belknap Press ISBN 0 674 94052 0 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aexln thwring amp oldid 9490854, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม