fbpx
วิกิพีเดีย

Allochiria

Allochiria (จากภาษากรีกโดยแปลว่า อีกมือหนึ่ง, อีกข้างหนึ่ง) เป็นความผิดปกติของระบบประสาท ที่คนไข้ตอบสนองต่อสิ่งเร้าซึ่งปรากฏที่ร่างกายด้านหนึ่ง เหมือนกับอยู่ในด้านตรงกันข้าม ปกติเป็นการย้ายข้างแบบอสมมาตรของสิ่งเร้าจากด้านหนึ่งของร่างกาย (หรือแม้รอบ ๆ ตัวจากด้านนั้นทั้งหมด) ไปในด้านตรงกันข้าม ดังนั้น สัมผัสที่ข้างซ้ายของร่างกาย จะปรากฏเหมือนกับปรากฏที่ข้างขวา ซึ่งเรียกว่า somatosensory allochiria ถ้าเป็นการได้ยินหรือการเห็นที่เสียหาย เสียง (เช่นเสียงพูด) จะปรากฏต่อคนไข้ว่าได้ยินจากด้านตรงข้ามที่เกิดจริง ๆ และสิ่งที่เห็นก็เช่นเดียวกัน บ่อยครั้ง คนไข้อาจแสดงอาการของ allochiria เมื่อลอกวาดภาพ เป็นอาการที่บ่อยครั้งเกิดพร้อมกับภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ (unilateral neglect) ซึ่งมีเหตุร่วมกัน คือความเสียหายต่อสมองกลีบข้างด้านขวา

Allochiria
โรคสัมพันธ์กับรอยโรคในสมองกลีบข้างข้างขวามากที่สุด (สีเหลืองด้านบน)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก

allochiria บ่อยครั้งจะสับสนกับ alloesthesia ซึ่งความจริงเป็น "allochiria เทียม" "allochiria แบบแท้" เป็นอาการของ dyschiria บวกกับภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ ส่วน dyschiria ก็คือความผิดปกติในการกำหนดตำแหน่งความรู้สึก เนื่องจากอาการ dissociation ระดับต่าง ๆ เป็นความพิการที่ไม่สามารถบอกว่า กำลังสัมผัสด้านไหนของร่างกายจริง ๆ

เกณฑ์โดยนิยาม

Allochiria โดยหลักจะเห็นพร้อมกับภาวะละเลยกึ่งปริภูมิ ซึ่งปกติจะมีเหตุจากรอยโรคที่สมองกลีบข้างด้านขวา คนไข้ที่มีอาการ allochiria จะรู้สึกทุกอย่าง แต่จะไม่ชัดเจนว่า กำลังสัมผัสข้างไหนของร่างกาย แต่ตำแหน่งก็ยังบอกได้ชัดเพียงแต่กลับข้าง โดยมักจะรู้สึกระคายที่แขนขาที่ตรงกันด้วย คนไข้จะสงสัยหรือจะผิดพลาดว่า สัมผัสข้างไหนของร่างกายกันแน่ ในขณะที่ความรู้สึกต่าง ๆ รวมทั้งการกำหนดตำแหน่งจะเป็นปกติ

อาการนี้สัมพันธ์กับรอยโรคในระบบประสาท, อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia), โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง, โรคไขสันหลังเสื่อมเหตุซิฟิลิส (tabes dorsalis), ความบาดเจ็บในไขสันหลังข้างเดียว (unilateral), โรคเมนิแยร์, โรคฮิสทีเรีย, และ symmetrical gangrene โดยเป็นความรู้สึกเกี่ยวกับสัมผัส ความเจ็บปวด การรับรู้เกี่ยวกับกล้ามเนื้อ การรับรู้อุณหภูมิ การเห็น การได้กลิ่น การได้ยิน และปฏิกิริยาต่อกระแสไฟฟ้า Allochiria สามารถเกิดในส่วนไหนของร่างกายก็ได้ บางครั้งอาจเป็นทั้งสองด้าน บางครั้งอาจจำกัดอยู่เฉพาะส่วนในร่างกาย เป็นอาการที่เด่นเพราะเชื่อมกับประสาทสัมผัสแบบต่าง ๆ และเพราะบางครั้ง สิ่งเร้าที่เฉพาะเจาะจงเท่านั้นจะทำให้เกิดอาการ

รูปแบบ

Electromotor allochiria

นี้เกิดขึ้นเมื่อมีรีเฟล็กซ์กล้ามเนื้อต่อไฟฟ้าแบบกลับข้าง ซึ่งพบที่ใบหน้า แขน และขา เช่น กระแสไฟฟ้าที่หน้าข้างหนึ่งจะทำให้กล้ามเนื้อของหน้าอีกข้างหนึ่งเกร็ง แม้ด้วยกระแสไฟฟ้าที่อ่อนมากจนกระทั่งว่า ใบหน้าที่ปกติจะไม่มีปฏิกิริยาอะไรเลย อีกตัวอย่างก็คือ กระแสไฟฟ้าที่แขนท่อนปลายข้างหนึ่ง จะทำให้แขนอีกข้างหนึ่งขยับ

จุดสำคัญก็คือ กระแสไฟฟ้าอาจมีผลต่อส่วนที่ไกลกันในระบบประสาท ส่วนที่ไกลอาจจะอยู่ในซีกเดียวกันของร่างกาย หรืออยู่ในซีกตรงกันข้ามซึ่งบ่อยกว่า อวัยวะซีกซ้ายขวาจะอยู่ "ใกล้กว่า" อวัยวะด้านบนล่างข้างเดียวกัน เพราะการจัดระเบียบของเซลล์/ใยประสาทในไขสันหลัง ไม่ใช่เพราะความสับสนระหว่างด้านซ้ายขวาที่คนไข้อาจมี

Motor allochiria

นี่เกิดเมื่อให้คนไข้ขยับส่วนร่างกายข้างที่เสียหาย คนไข้จะขยับอวัยวะซีกตรงกันข้ามโดยรู้สึกว่า ตนได้ขยับตามที่บอกแล้ว

Reflex allochiria

คนไข้จะมีรีเฟล็กซ์ตอบสนองต่อการกระตุ้นที่ส้นเท้าหรือต้นขาด้านในที่ขาซีกตรงข้าม

Auditory allochiria

เมื่อแนบส้อมเสียงเข้าที่หูข้างหนึ่ง คนไข้จะตอบสนองด้วยอาการต่าง ๆ รวมทั้งความเจ็บปวดและหูอื้อ ในหูตรงกันข้าม

Visual allochiria

คนไข้จะเห็นสิ่งของที่อยู่ข้างหนึ่งของลานสายตา เหมือนอยู่กับในลานสายตาซีกตรงข้าม ในกรณีหนึ่งในสองกรณีที่เคยบันทึกไว้ สิ่งที่เห็นในตาขวาที่เปิด คนไข้ปกติจะบอกว่าเห็นด้วยตาซ้าย แม้ว่าตาซ้ายจะปิดอยู่ ส่วนในอีกกรณีหนึ่ง แม้คนไข้จะรู้จักวัตถุมีสีซึ่งแสดงที่ตาข้างซ้าย แต่ยืนยันว่าเห็นสีนั้นด้วยตาขวา

Gustatory allochiria

คนไข้บอกว่ารู้รสสิ่งของที่ถูกลิ้นซีกหนึ่ง ด้วยส่วนลิ้นอีกซีกหนึ่ง นอกจากนั้น สัมผัสที่ลิ้นก็รู้สึกที่ซีกตรงกันข้ามเช่นกัน

 
นายแพทย์โทมัส เกรนเจอร์ สตัวร์ต

Alloesthesia

alloesthesia หรือ allesthesia (มาจากภาษากรีกว่า allache = การรับรู้ที่อื่น) หรือ false allochiria เป็นคำที่พจนานุกรมจำนวนมากแสดงนิยามเดียวกันกับ allochiria และแม้แต่แสดงรากศัพท์ภาษากรีกเดียวกัน โดยนายแพทย์โทมัส เกรนเจอร์ สตัวร์ต ได้เริ่มใช้คำนี้ในบทความที่พิมพ์ใน British Medical Journal ในปี 2437 แต่กรณีคนไข้ที่ นพ. สตัวร์ตเจอโดยหลักเป็นความรู้สึกซึ่งย้ายที่แบบสูงต่ำอย่างสม่ำเสมอจากจุดเดิม Alloesthesia เป็นความรู้สึกที่ผิดพลาดหรือไม่สมบูรณ์เกี่ยวกับสิ่งเร้า และอาจมีความผิดปกติในการรับรู้อื่น ๆ เช่น การหนดตำแหน่งของความรู้สึก (Localization of sensation)

ในกรณีคนไข้หนึ่ง ซึ่งกำหนดโรคอย่างไม่ถูกต้องว่าเป็น allochiria สิ่งเร้าที่แนบกระทบกระพุ้งแก้มข้างใน คนไข้จะรู้สึกเหมือนอยู่ข้างนอก ในอีกกรณีหนึ่ง การสัมผัสที่นิ้วชี้ทำให้รู้สึกที่นิ้วโป้ง False allochiria อาจเกิดในกรณีที่เส้นประสาททั้งสองซีกเกิดเสียหาย เช่น ประสาทอักเสบหลายเส้น (multiple neuritis) และแม้จะไม่พบกรณีคนไข้เช่นนี้อีก แต่ก็ชัดเจนว่า อาการตามที่กล่าวแล้วไม่ใช่ allochiria

Dyschiria

ใน dyschiria (dyscheiria) การกำหนดซีกร่างกายผิดเป็นความผิดพลาดที่เฉพาะเจาะจง และเป็นอิสระจากความบกพร่องอื่น ๆ ในการรับรู้สิ่งเร้า กล่าวอีกอย่างก็คือ คนไข้อาจรู้ทุกอย่าง ๆ เกี่ยวกับสิ่งเร้าหนึ่ง ๆ ที่เป็นประเด็นรวมทั้งตำแหน่ง แต่จะไม่รู้ว่าอยู่ซีกไหนของร่างกาย หลักฐานแสดงว่า นี่เป็นความบกพร่องทางประสาทที่เฉพาะเจาะจง และมีหลายรูปแบบรวมทั้ง achiria, allochiria, และ synchiria

Achiria

Achiria (acheiria) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า simple allochiria หมายถึงการไม่สามารถบอกซีกร่างกายที่เกิดความรู้สึก โดยมีองค์ประกอบในระบบรับความรู้สึก (sensory) การเคลื่อนไหว (motor) และการระลึกรู้ความรู้สึกของตนเอง (introspective) ในการรับความรู้สึก สิ่งเร้าที่กระทบกับส่วนที่เสียหายจะไม่ทำให้รู้ซีกของร่างกาย ในการเคลื่อนไหว ถ้าบอกให้คนไข้ขยับแขนขาที่เป็นประเด็น คนไข้จะไม่สามารถทำได้โดยไม่บอกโดยวิธีอื่น ๆ นอกเหนือจากคำว่าซ้ายขวา เหตุผลก็อาจคือ คนไข้ได้เสียความรู้เกี่ยวกับความหมายของคำเหล่านี้โดยสิ้นเชิง หรือโดยเกี่ยวกับเหตุการณ์ทั้งหมดที่เนื่องกับแขนขาที่เป็นประเด็น ในการระลึกรู้ คนไข้จะระลึกถึงสิ่งเร้าที่มากระทบซีกร่างกายที่เป็นปัญหาไม่ได้ แล้วบอกว่า แม้เขาจะรู้ว่ามีส่วนนี้ แต่ก็ไม่รู้สึก

Allochiria

อาการของ Allochiria (allocheiria) ก็คือ เมื่อสิ่งเร้าปรากฏที่ร่างกายซีกหนึ่ง แต่กลับรู้สึกย้ายที่ไปยังซีกร่างกายตรงกันข้ามจุดเดียวกัน โดยมีอาการในการรับความรู้สึก (sensory) การเคลื่อนไหว (motor) และการระลึกรู้ความรู้สึกของตนเอง (introspective) ในกรณีการรับความรู้สึก จุดที่ย้ายที่ในซีกตรงข้ามจะมีลักษณะสมมาตรอย่างสมบูรณ์กับจุดที่ถูกจริง ๆ เป็นอาการที่ทำให้มักเสนอว่า allochiria เป็นเพียงแค่ความปั่นป่วนในการกำหนดตำแหน่งความรู้สึกเท่านั้น ในกรณีการเคลื่อนไหว ถ้าให้คนไข้เคลื่อนไหวซีกที่มีปัญหา เขาจะเคลื่อนไหวซีกตรงข้ามโดยรู้สึกว่า ตนเองกำลังขยับเหมือนตามที่บอก ในกรณีการระลึกรู้ความรู้สึก คนไข้จะสามารถระลึกถึงความรู้สึกว่าซีกไหน เฉพาะเมื่อเร้าหรือขยับอวัยวะซีกตรงข้ามที่ไม่มีปัญหา

Synchiria

Synchiria (syncheiria) เป็นรูปแบบหนึ่งของ dyschiria ที่สิ่งเร้าซึ่งกระทบกับด้านหนึ่งของร่างกาย คนไข้จะรู้สึกทั้งสองซีก โดยมีอาการในการรับความรู้สึก (sensory) การเคลื่อนไหว (motor) และการระลึกรู้ความรู้สึกของตนเอง (introspective) ในการรับความรู้สึก การมีสิ่งเร้ากระทบอวัยวะที่มีปัญหา จะทำให้เกิดความรู้สึกพร้อม ๆ กันทั้งสองซีกของร่างกายตามจุดที่กระทบ ในการเคลื่อนไหว ถ้าให้คนไข้ขยับส่วนที่มีปัญหา คนไข้จะขยับทั้งสองด้านแม้จะรู้สึกเหมือนขยับข้างที่มีปัญหาข้างเดียว ในการระลึกรู้ความรู้สึก คนไข้จะไม่สามารถรู้ข้างได้นอกเหนือจากความรู้สึกที่มาจากสองข้างพร้อม ๆ กัน

ประสบการณ์

 
ภาพวาดนาฬิกาของคนไข้ภาวะละเลยกึ่งปริภูมิที่มีอาการ allochiria

มีคนไข้หลายกรณีที่แสดงอาการ allochiria ในการสร้าง/วาดภาพ คนไข้จะย้ายสิ่งที่อยู่ด้านซ้ายไปด้านขวา แต่จะไม่เห็นหรือแก้ปัญหานี้ คนไข้บางส่วนจะแสดงอาการเมื่อลอกหรือวาดรูปนาฬิกาจากความจำ ความบกพร่องบางอย่างอาจทำให้คนไข้สร้าง/วาดสิ่งที่อยู่ด้านซ้ายขวาไปยังด้านเดียวกัน เช่น คนไข้อาจเขียนหลักชั่วโมงของนาฬิกาทั้งหมดให้อยู่ทางซีกขวา แต่ก็ยังมีการย้ายที่แบบอื่น ๆ เมื่อคนไข้วาดรูปเช่นนี้

รูปที่เห็นเป็นตัวอย่างการวาดภาพนาฬิกาของคนไข้ภาวะละเลยกึ่งปริภูมิที่มีอาการ allochiria คนไข้ไม่วาดด้านซ้ายของนาฬิกา แม้คนไข้จะบอกได้ว่า นาฬิกามีหน้าปัดข้างซ้าย แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่า รูปที่วาดไม่สมบูรณ์ ซึ่งแสดงนัยว่า การวาดภาพอาจสามารถใช้จำแนกความเสียหายจากรอยโรคในสมอง ไม่ใช่แค่บอกว่าคนไข้มีภาวะสมองเสื่อม

การวินิจฉัย

เมื่อวินิจฉัยอาการ allochiria สำคัญที่จะพิจารณาทั้งการรับความรู้สึก (sensory) และการเคลื่อนไหว (motor) ที่เนื่องกับอาการ เพราะถ้าไม่กำหนดอาการต่าง ๆ ให้ดีพอ อาจจะมองข้ามหรือตีความหมายผิดเพราะยังมีอาการต่าง ๆ ที่ไม่รู้

ตัวอย่างที่มีน้อยอย่างหนึ่งในการแพทย์ ซึ่งมีเหตุจากการไม่รู้อะไรง่าย ๆ ไม่กี่อย่าง โดยไม่เกี่ยวกับวิจารณญาณ คือ แพทย์พยาบาลได้มองข้ามรายละเอียดความรู้สึก เมื่อตรวจสอบว่าคนไข้กำหนดตำแหน่งความรู้สึกได้หรือไม่ คือไม่ได้ถามโดยตรงว่า ความรู้สึกอะไรที่ไหนย้ายที่ ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่เป็นไปได้เมื่อคนไข้มีอาการ allochiria แต่ไม่มีปัญหารับรู้ความรู้สึกหรือกำหนดตำแหน่งที่รู้สึก และเมื่อแม้คนไข้กล่าวถึงซีกร่างกายที่ผิดพลาด ก็คิดว่าคนไข้พูดพลาดและไม่ตรวจสอบให้ยิ่ง ๆ ขึ้น

สืบเนื่องกับการเคลื่อนไหว อาการสามารถกำหนดผิดได้เพราะลักษณะต่าง ๆ อาจไม่ค่อยชัดเจน และถ้าไม่วิเคราะห์พิจารณาให้ดี อาการอาจจะดูเหมือนความซุ่มซ่ามหรือความอ่อนแอเท่านั้น นอกจากนั้น เมื่อคนไข้บ่นถึงความอ่อนแอและความงุ่มง่ามของซีกร่างกายที่เป็นปัญหา การตรวจอาจยืนยันคำบ่นนี้ แล้วจึงกำหนดความบกพร่องในการเคลื่อนไหวอย่างผิด ๆ ว่าเป็นอะไรที่ตั้งใจทำและมีเฉพาะในบริบทนี้ จนกระทั่งคนไข้กล่าวว่า เขาไม่รู้ว่าสิ่งเร้ามากระทบกับซีกไหนของร่างกาย จึงจะกำหนดได้ว่า มีอาการ allochiria โดยเป็นกรณีที่ยังรู้สึกได้โดยปกติ

ทฤษฎี

มีทฤษฎีหลายอย่างเกี่ยวกับอาการของ allochiria ทฤษฎีปัจจุบันที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ Hammond’s Theory ซึงสมมุติว่า ใยประสาทรับความรู้สึกเกือบทั้งหมดจะข้ามไขว้ทแยงไปยังอีกซีกหนึ่งของร่างกาย เขาสรุปว่า เมื่อเกิดรอยโรคที่ไขสันหลังด้านหลัง (posterior) ข้างหนึ่ง สัญญาณความรู้สึกก็ยังส่งไปถึงซีกสมองข้างเดียวกัน และดังนั้น จึงรู้สึกเหมือนกับความรู้สึกยังมาจากซีกตรงข้ามของร่างกาย แฮมมอนด์ก็กล่าวด้วยว่า ถ้ามีรอยโรคข้างเดียวอีกข้างหนึ่งในระดับที่สูงกว่ารอยโรคแรก ความรู้สึกที่ส่งไปยังซีกสมองผิดข้าง ก็จะเจออุปสรรคอีกอันหนึ่งแล้วกลับส่งไปหาซีกสมองที่ถูกข้าง Allochiria จะเกิดเท่ากันไม่ว่าจะเป็นเพราะรอยโรคแบบข้างเดียวหรือสองข้าง ตราบเท่าที่เป็นแบบไม่เท่ากัน (asymmetrical) ซึ่งตรงกับ Huber’s theory ซึ่งสมมุติว่า การเกิดขึ้นของรอยโรคใหม่ในด้านตรงกันข้ามจากรอยโรคแรก จะทำให้ส่งสัญญาณกลับไปถึงเป้าหมายดังเดิม

อาการสามารถหายไปได้เนื่องจากปัญหาที่เป็นรอยโรคและที่เส้นประสาทกลับดีขึ้น

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Halligan, P. W., Marshall, J., & Wade, D. (1992). S2CID 10770474.
  2. Lepore, M., Conson, M., Grossi, D., & Trojano, L. (2003). On the different mechanisms of spatial transpositions: a case of representational allochiria in clock drawing. Neuropsychologia, 41 (10), 1290–1295. doi:10.1016/s0028-3932(03)00062-9 .
  3. Meador KJ, Allen ME, Adams RJ, Loring DW (1991). "ALLOCHIRIA VS ALLESTHESIA - IS THERE A MISPERCEPTION". Archives of Neurology. 48 (5): 546–549. doi:10.1001/archneur.1991.00530170110029.
  4. Halligan, P. W., Marshall, J., & Wade, D. (August 1992). Left on the right: Allochiria in a case of left visuo-spatial neglect.Journal of Neurology, Neurosurgery, and Psychiatry, 55 (8), 717–719. PMID 1527545. doi:10.1136/jnnp.55.8.717., Jones, E. (21 September 1907). The clinical significance of Allochiria. The Lancet, 170 (4386): 830–832. doi:10.1016/S0140-6736(00)50066-X.
  5. Young, RR; Benson, DF (April 1992). "WHERE IS THE LESION IN ALLOCHIRIA. [Letter]". Archives of Neurology. 49 (4): 348–349. doi:10.1001/archneur.1992.00530280028013.
  6. Jones E. (January 1908). The precise diagnostic value of allochiria. Bravis. Brain, 30 (4),490–532. doi:10.1093/brain/30.4.490.
  7. Marcel, A., Postma, P., Gillmeister, H., Cox, S., Rorden, C., Nimmo-Smith, I., et al. (2004). Migration and fusion of tactile sensation - premorbid susceptibility to allochiria, neglect and extinction? [Article]. Neuropsychologia, 42 (13), 1749–1767. doi:10.1016/j.neuropsychologia.2004.04.020 .
  8. Gonzalo-Fonrodona (February 2007). "Inverted or tilted perception disorder." REV NEUROL 44 (3) : 157–165. PMID 17285521.
  9. Stewart, TG. (6 January 1894). A clinical lecture on a case of perverted localization of sensation or allachaesthesia. BMJ. 1 (1723): 1–4. PMID 20754592. doi:10.1136/bmj.1.1723.1.
  10. Mario F. Mendez, J. W. Y. C. (June 2009). "Epilepsy partialis continua with visual allesthesia." Journal of Neurology 256 (6) : 1009–1011. PMID 19240953. doi:10.1007/s00415-009-5031-8.
  11. Kim, H. Y. S. C. E. Y.-L. D. (2010). "Context-bounded Refinement Filter Algorithm: Improving Recognizer Accuracy of Handwriting in Clock Drawing Test." Visual Representations and Reasoning 53–60. S2CID 8573411.
  12. Lancet, Lepore, M., Conson, M., Ferrigno, A., Grossi, D., & Trojano, L. (October 2004). Spatial transpositions across tasks and response modalities: Exploring representational allochiria. [Article]. Neurocase, 10 (5), 386–392. PMID 15788277. doi:10.1080/13554790490892275.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Trojano, L., Grossi, D., & Flash, T. (2009). Cognitive neuroscience of drawing: Contributions of neuropsychological, experimental and neurofunctional studies. [Editorial Material]. Cortex, 45 (3), 269–277. doi:10.1016/j.cortex.2008.11.015
  • Kolb, B., & Whishaw, I. (1990). Fundamentals of human neuropsychology. Freeman: New York. OCLC 20356841. ISBN 9780716719731.
  • Leon Y. Deouell, D. D., Donatella Scabini, Nachum Soroker, Robert T Knight (March 2008). "No Disillusions in Auditory Extinction: Perceiving a Melody Comprised of Unperceived Notes." Front Hum Neurosci. 1 (15): 1–15. PMID 18958228. doi:10.3389/neuro.09.015.2007.
  • Pia, L., A. Folegatti, et al. (March 2009). "Are drawing perseverations part of the neglect syndrome?" Cortex 45 (3): 293–299. PMID 18708186. doi:10.1016/j.cortex.2007.11.015.
  • Blom, Jan Dirk. A Dictionary of Hallucinations, Springer, December 24, 2009. ISBN 978-1-4419-1222-0.
  • Heath, M., Maraj, A., Maddigan, M., & Binsted, G. (2009). The Antipointing Task: Vector Inversion Is Supported by a Perceptual Estimate of Visual Space. Journal of Motor Behavior, 41 (5), 383–392. Retrieved from Psychology and Behavioral Sciences Collection database. doi:10.3200/35-08-016.
  • Spatial Transpositions Across Tasks and Response Modalities: Exploring Representational Allochiria, Taylor & Francis, doi:10.1080/13554790490892275, คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-12-16
  • ที่ University of Waterloo
  • Leon Y. Deouell, และคณะ (28 March 2008). No disillusions in auditory extinction: perceiving a melody comprised of unperceived notes, frontiers in Human Neuroscience. doi:10.3389/neuro.09.015.2007.
  • Alloesthesia, Health Grades, คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2013-02-09

allochiria, บทความน, อเป, นภาษาอ, งกฤษ, เน, องจากช, อเป, นศ, พท, เฉพาะทางของแพทยศาสตร, ราชบ, ณฑ, ตยสถานย, งไม, ญญ, ภาษาไทย, จากภาษากร, กโดยแปลว, กม, อหน, กข, างหน, เป, นความผ, ดปกต, ของระบบประสาท, คนไข, ตอบสนองต, อส, งเร, าซ, งปรากฏท, างกายด, านหน, เหม, อนก, บ. bthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakchuxepnsphthechphaathangkhxngaephthysastr rachbnthitysthanyngimbyytiphasaithyAllochiria cakphasakrikodyaeplwa xikmuxhnung xikkhanghnung epnkhwamphidpktikhxngrabbprasath thikhnikhtxbsnxngtxsingerasungpraktthirangkaydanhnung ehmuxnkbxyuindantrngknkham 1 pktiepnkaryaykhangaebbxsmmatrkhxngsingeracakdanhnungkhxngrangkay hruxaemrxb twcakdannnthnghmd ipindantrngknkham dngnn smphsthikhangsaykhxngrangkay capraktehmuxnkbpraktthikhangkhwa sungeriykwa somatosensory allochiria 2 thaepnkaridyinhruxkarehnthiesiyhay esiyng echnesiyngphud caprakttxkhnikhwaidyincakdantrngkhamthiekidcring aelasingthiehnkechnediywkn bxykhrng khnikhxacaesdngxakarkhxng allochiria emuxlxkwadphaph epnxakarthibxykhrngekidphrxmkbphawalaelykungpriphumi unilateral neglect sungmiehturwmkn khuxkhwamesiyhaytxsmxngklibkhangdankhwa 1 Allochiriaorkhsmphnthkbrxyorkhinsmxngklibkhangkhangkhwamakthisud siehluxngdanbn bychicaaenkaelalingkipphaynxkallochiria bxykhrngcasbsnkb alloesthesia sungkhwamcringepn allochiria ethiym 3 allochiria aebbaeth epnxakarkhxng dyschiria bwkkbphawalaelykungpriphumi 4 swn dyschiria kkhuxkhwamphidpktiinkarkahndtaaehnngkhwamrusuk enuxngcakxakar dissociation radbtang epnkhwamphikarthiimsamarthbxkwa kalngsmphsdanihnkhxngrangkaycring enuxha 1 eknthodyniyam 2 rupaebb 2 1 Electromotor allochiria 2 2 Motor allochiria 2 3 Reflex allochiria 2 4 Auditory allochiria 2 5 Visual allochiria 2 6 Gustatory allochiria 3 Alloesthesia 4 Dyschiria 4 1 Achiria 4 2 Allochiria 4 3 Synchiria 5 prasbkarn 6 karwinicchy 7 thvsdi 8 duephim 9 echingxrrthaelaxangxing 10 aehlngkhxmulxuneknthodyniyam aekikh smxngklibkhang aedng Allochiria odyhlkcaehnphrxmkbphawalaelykungpriphumi sungpkticamiehtucakrxyorkhthismxngklibkhangdankhwa 3 khnikhthimixakar allochiria carusukthukxyang aetcaimchdecnwa kalngsmphskhangihnkhxngrangkay aettaaehnngkyngbxkidchdephiyngaetklbkhang odymkcarusukrakhaythiaekhnkhathitrngkndwy 5 khnikhcasngsyhruxcaphidphladwa smphskhangihnkhxngrangkayknaen inkhnathikhwamrusuktang rwmthngkarkahndtaaehnngcaepnpktixakarnismphnthkbrxyorkhinrabbprasath xmphatkhrungsik hemiplegia orkhplxkprasathesuxmaekhng orkhikhsnhlngesuxmehtusifilis tabes dorsalis khwambadecbinikhsnhlngkhangediyw unilateral orkhemniaeyr orkhhisthieriy aela symmetrical gangrene odyepnkhwamrusukekiywkbsmphs khwamecbpwd karrbruekiywkbklamenux karrbruxunhphumi karehn karidklin karidyin aelaptikiriyatxkraaesiffa 6 Allochiria samarthekidinswnihnkhxngrangkaykid bangkhrngxacepnthngsxngdan bangkhrngxaccakdxyuechphaaswninrangkay epnxakarthiednephraaechuxmkbprasathsmphsaebbtang aelaephraabangkhrng singerathiechphaaecaacngethanncathaihekidxakar 7 rupaebb aekikhElectromotor allochiria aekikh niekidkhunemuxmirieflksklamenuxtxiffaaebbklbkhang sungphbthiibhna aekhn aelakha 6 echn kraaesiffathihnakhanghnungcathaihklamenuxkhxnghnaxikkhanghnungekrng aemdwykraaesiffathixxnmakcnkrathngwa ibhnathipkticaimmiptikiriyaxairely xiktwxyangkkhux kraaesiffathiaekhnthxnplaykhanghnung cathaihaekhnxikkhanghnungkhybcudsakhykkhux kraaesiffaxacmiphltxswnthiiklkninrabbprasath swnthiiklxaccaxyuinsikediywknkhxngrangkay hruxxyuinsiktrngknkhamsungbxykwa xwywasiksaykhwacaxyu iklkwa xwywadanbnlangkhangediywkn ephraakarcdraebiybkhxngesll iyprasathinikhsnhlng 6 imichephraakhwamsbsnrahwangdansaykhwathikhnikhxacmi Motor allochiria aekikh niekidemuxihkhnikhkhybswnrangkaykhangthiesiyhay khnikhcakhybxwywasiktrngknkhamodyrusukwa tnidkhybtamthibxkaelw 6 Reflex allochiria aekikh khnikhcamirieflkstxbsnxngtxkarkratunthisnethahruxtnkhadaninthikhasiktrngkham 6 Auditory allochiria aekikh emuxaenbsxmesiyngekhathihukhanghnung khnikhcatxbsnxngdwyxakartang rwmthngkhwamecbpwdaelahuxux inhutrngknkham 6 Visual allochiria aekikh khnikhcaehnsingkhxngthixyukhanghnungkhxnglansayta ehmuxnxyukbinlansaytasiktrngkham 8 inkrnihnunginsxngkrnithiekhybnthukiw singthiehnintakhwathiepid khnikhpkticabxkwaehndwytasay aemwatasaycapidxyu swninxikkrnihnung aemkhnikhcaruckwtthumisisungaesdngthitakhangsay aetyunynwaehnsinndwytakhwa 6 Gustatory allochiria aekikh khnikhbxkwarurssingkhxngthithuklinsikhnung dwyswnlinxiksikhnung nxkcaknn smphsthilinkrusukthisiktrngknkhamechnkn 6 nayaephthyothms ekrnecxr stwrtAlloesthesia aekikhalloesthesia hrux allesthesia macakphasakrikwa allache karrbruthixun hrux false allochiria epnkhathiphcnanukrmcanwnmakaesdngniyamediywknkb allochiria aelaaemaetaesdngraksphthphasakrikediywkn odynayaephthyothms ekrnecxr stwrt iderimichkhaniinbthkhwamthiphimphin British Medical Journal inpi 2437 9 aetkrnikhnikhthi nph stwrtecxodyhlkepnkhwamrusuksungyaythiaebbsungtaxyangsmaesmxcakcudedim Alloesthesia epnkhwamrusukthiphidphladhruximsmburnekiywkbsingera aelaxacmikhwamphidpktiinkarrbruxun echn karhndtaaehnngkhxngkhwamrusuk Localization of sensation 3 inkrnikhnikhhnung sungkahndorkhxyangimthuktxngwaepn allochiria singerathiaenbkrathbkraphungaekmkhangin khnikhcarusukehmuxnxyukhangnxk inxikkrnihnung karsmphsthiniwchithaihrusukthiniwopng False allochiria xacekidinkrnithiesnprasaththngsxngsikekidesiyhay echn prasathxkesbhlayesn multiple neuritis aelaaemcaimphbkrnikhnikhechnnixik aetkchdecnwa xakartamthiklawaelwimich allochiria 3 10 Dyschiria aekikhin dyschiria dyscheiria karkahndsikrangkayphidepnkhwamphidphladthiechphaaecaacng aelaepnxisracakkhwambkphrxngxun inkarrbrusingera klawxikxyangkkhux khnikhxacruthukxyang ekiywkbsingerahnung thiepnpraednrwmthngtaaehnng aetcaimruwaxyusikihnkhxngrangkay hlkthanaesdngwa niepnkhwambkphrxngthangprasaththiechphaaecaacng aelamihlayrupaebbrwmthng achiria allochiria aela synchiria 6 Achiria aekikh Achiria acheiria eriykxikxyanghnungwa simple allochiria hmaythungkarimsamarthbxksikrangkaythiekidkhwamrusuk odymixngkhprakxbinrabbrbkhwamrusuk sensory karekhluxnihw motor aelakarralukrukhwamrusukkhxngtnexng introspective inkarrbkhwamrusuk singerathikrathbkbswnthiesiyhaycaimthaihrusikkhxngrangkay inkarekhluxnihw thabxkihkhnikhkhybaekhnkhathiepnpraedn khnikhcaimsamarththaidodyimbxkodywithixun nxkehnuxcakkhawasaykhwa ehtuphlkxackhux khnikhidesiykhwamruekiywkbkhwamhmaykhxngkhaehlaniodysineching hruxodyekiywkbehtukarnthnghmdthienuxngkbaekhnkhathiepnpraedn inkarralukru khnikhcaralukthungsingerathimakrathbsikrangkaythiepnpyhaimid aelwbxkwa aemekhacaruwamiswnni aetkimrusuk 6 Allochiria aekikh xakarkhxng Allochiria allocheiria kkhux emuxsingerapraktthirangkaysikhnung aetklbrusukyaythiipyngsikrangkaytrngknkhamcudediywkn odymixakarinkarrbkhwamrusuk sensory karekhluxnihw motor aelakarralukrukhwamrusukkhxngtnexng introspective inkrnikarrbkhwamrusuk cudthiyaythiinsiktrngkhamcamilksnasmmatrxyangsmburnkbcudthithukcring epnxakarthithaihmkesnxwa allochiria epnephiyngaekhkhwampnpwninkarkahndtaaehnngkhwamrusukethann inkrnikarekhluxnihw thaihkhnikhekhluxnihwsikthimipyha ekhacaekhluxnihwsiktrngkhamodyrusukwa tnexngkalngkhybehmuxntamthibxk inkrnikarralukrukhwamrusuk khnikhcasamarthralukthungkhwamrusukwasikihn echphaaemuxerahruxkhybxwywasiktrngkhamthiimmipyha 6 Synchiria aekikh Synchiria syncheiria epnrupaebbhnungkhxng dyschiria thisingerasungkrathbkbdanhnungkhxngrangkay khnikhcarusukthngsxngsik odymixakarinkarrbkhwamrusuk sensory karekhluxnihw motor aelakarralukrukhwamrusukkhxngtnexng introspective inkarrbkhwamrusuk karmisingerakrathbxwywathimipyha cathaihekidkhwamrusukphrxm knthngsxngsikkhxngrangkaytamcudthikrathb inkarekhluxnihw thaihkhnikhkhybswnthimipyha khnikhcakhybthngsxngdanaemcarusukehmuxnkhybkhangthimipyhakhangediyw inkarralukrukhwamrusuk khnikhcaimsamarthrukhangidnxkehnuxcakkhwamrusukthimacaksxngkhangphrxm kn 6 prasbkarn aekikh phaphwadnalikakhxngkhnikhphawalaelykungpriphumithimixakar allochiria mikhnikhhlaykrnithiaesdngxakar allochiria inkarsrang wadphaph khnikhcayaysingthixyudansayipdankhwa aetcaimehnhruxaekpyhani khnikhbangswncaaesdngxakaremuxlxkhruxwadrupnalikacakkhwamca khwambkphrxngbangxyangxacthaihkhnikhsrang wadsingthixyudansaykhwaipyngdanediywkn 2 echn khnikhxacekhiynhlkchwomngkhxngnalikathnghmdihxyuthangsikkhwa aetkyngmikaryaythiaebbxun emuxkhnikhwadrupechnni 2 rupthiehnepntwxyangkarwadphaphnalikakhxngkhnikhphawalaelykungpriphumithimixakar allochiria khnikhimwaddansaykhxngnalika aemkhnikhcabxkidwa nalikamihnapdkhangsay aetkimsamarthbxkidwa rupthiwadimsmburn sungaesdngnywa karwadphaphxacsamarthichcaaenkkhwamesiyhaycakrxyorkhinsmxng imichaekhbxkwakhnikhmiphawasmxngesuxm 11 karwinicchy aekikhemuxwinicchyxakar allochiria sakhythicaphicarnathngkarrbkhwamrusuk sensory aelakarekhluxnihw motor thienuxngkbxakar ephraathaimkahndxakartang ihdiphx xaccamxngkhamhruxtikhwamhmayphidephraayngmixakartang thiimrutwxyangthiminxyxyanghnunginkaraephthy sungmiehtucakkarimruxairngay imkixyang odyimekiywkbwicarnyan khux aephthyphyabalidmxngkhamraylaexiydkhwamrusuk emuxtrwcsxbwakhnikhkahndtaaehnngkhwamrusukidhruxim khuximidthamodytrngwa khwamrusukxairthiihnyaythi sungepnsthankarnthiepnipidemuxkhnikhmixakar allochiria aetimmipyharbrukhwamrusukhruxkahndtaaehnngthirusuk aelaemuxaemkhnikhklawthungsikrangkaythiphidphlad kkhidwakhnikhphudphladaelaimtrwcsxbihying khunsubenuxngkbkarekhluxnihw xakarsamarthkahndphididephraalksnatang xacimkhxychdecn aelathaimwiekhraahphicarnaihdi xakarxaccaduehmuxnkhwamsumsamhruxkhwamxxnaexethann 7 nxkcaknn emuxkhnikhbnthungkhwamxxnaexaelakhwamngumngamkhxngsikrangkaythiepnpyha kartrwcxacyunynkhabnni aelwcungkahndkhwambkphrxnginkarekhluxnihwxyangphid waepnxairthitngicthaaelamiechphaainbribthni cnkrathngkhnikhklawwa ekhaimruwasingeramakrathbkbsikihnkhxngrangkay cungcakahndidwa mixakar allochiria odyepnkrnithiyngrusukidodypkti 12 thvsdi aekikhmithvsdihlayxyangekiywkbxakarkhxng allochiria thvsdipccubnthiyxmrbknxyangkwangkhwangthisudkhux Hammond s Theory 3 sungsmmutiwa iyprasathrbkhwamrusukekuxbthnghmdcakhamikhwthaeyngipyngxiksikhnungkhxngrangkay ekhasrupwa emuxekidrxyorkhthiikhsnhlngdanhlng posterior khanghnung syyankhwamrusukkyngsngipthungsiksmxngkhangediywkn aeladngnn cungrusukehmuxnkbkhwamrusukyngmacaksiktrngkhamkhxngrangkay 6 aehmmxndkklawdwywa thamirxyorkhkhangediywxikkhanghnunginradbthisungkwarxyorkhaerk khwamrusukthisngipyngsiksmxngphidkhang kcaecxxupsrrkhxikxnhnungaelwklbsngiphasiksmxngthithukkhang Allochiria caekidethaknimwacaepnephraarxyorkhaebbkhangediywhruxsxngkhang trabethathiepnaebbimethakn asymmetrical sungtrngkb Huber s theory sungsmmutiwa karekidkhunkhxngrxyorkhihmindantrngknkhamcakrxyorkhaerk cathaihsngsyyanklbipthungepahmaydngedim 3 xakarsamarthhayipidenuxngcakpyhathiepnrxyorkhaelathiesnprasathklbdikhun 6 duephim aekikhphawalaelykungpriphumi phawaesiykarralukruechingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 Halligan P W Marshall J amp Wade D 1992 S2CID 10770474 2 0 2 1 2 2 Lepore M Conson M Grossi D amp Trojano L 2003 On the different mechanisms of spatial transpositions a case of representational allochiria in clock drawing Neuropsychologia 41 10 1290 1295 doi 10 1016 s0028 3932 03 00062 9 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 3 5 Meador KJ Allen ME Adams RJ Loring DW 1991 ALLOCHIRIA VS ALLESTHESIA IS THERE A MISPERCEPTION Archives of Neurology 48 5 546 549 doi 10 1001 archneur 1991 00530170110029 Halligan P W Marshall J amp Wade D August 1992 Left on the right Allochiria in a case of left visuo spatial neglect Journal of Neurology Neurosurgery and Psychiatry 55 8 717 719 PMID 1527545 doi 10 1136 jnnp 55 8 717 Jones E 21 September 1907 The clinical significance of Allochiria The Lancet 170 4386 830 832 doi 10 1016 S0140 6736 00 50066 X Young RR Benson DF April 1992 WHERE IS THE LESION IN ALLOCHIRIA Letter Archives of Neurology 49 4 348 349 doi 10 1001 archneur 1992 00530280028013 6 00 6 01 6 02 6 03 6 04 6 05 6 06 6 07 6 08 6 09 6 10 6 11 6 12 6 13 Jones E January 1908 The precise diagnostic value of allochiria Bravis Brain 30 4 490 532 doi 10 1093 brain 30 4 490 7 0 7 1 Marcel A Postma P Gillmeister H Cox S Rorden C Nimmo Smith I et al 2004 Migration and fusion of tactile sensation premorbid susceptibility to allochiria neglect and extinction Article Neuropsychologia 42 13 1749 1767 doi 10 1016 j neuropsychologia 2004 04 020 Gonzalo Fonrodona February 2007 Inverted or tilted perception disorder REV NEUROL 44 3 157 165 PMID 17285521 Stewart TG 6 January 1894 A clinical lecture on a case of perverted localization of sensation or allachaesthesia BMJ 1 1723 1 4 PMID 20754592 doi 10 1136 bmj 1 1723 1 Mario F Mendez J W Y C June 2009 Epilepsy partialis continua with visual allesthesia Journal of Neurology 256 6 1009 1011 PMID 19240953 doi 10 1007 s00415 009 5031 8 Kim H Y S C E Y L D 2010 Context bounded Refinement Filter Algorithm Improving Recognizer Accuracy of Handwriting in Clock Drawing Test Visual Representations and Reasoning 53 60 S2CID 8573411 Lancet Lepore M Conson M Ferrigno A Grossi D amp Trojano L October 2004 Spatial transpositions across tasks and response modalities Exploring representational allochiria Article Neurocase 10 5 386 392 PMID 15788277 doi 10 1080 13554790490892275 aehlngkhxmulxun aekikhTrojano L Grossi D amp Flash T 2009 Cognitive neuroscience of drawing Contributions of neuropsychological experimental and neurofunctional studies Editorial Material Cortex 45 3 269 277 doi 10 1016 j cortex 2008 11 015 Kolb B amp Whishaw I 1990 Fundamentals of human neuropsychology Freeman New York OCLC 20356841 ISBN 9780716719731 Leon Y Deouell D D Donatella Scabini Nachum Soroker Robert T Knight March 2008 No Disillusions in Auditory Extinction Perceiving a Melody Comprised of Unperceived Notes Front Hum Neurosci 1 15 1 15 PMID 18958228 doi 10 3389 neuro 09 015 2007 Pia L A Folegatti et al March 2009 Are drawing perseverations part of the neglect syndrome Cortex 45 3 293 299 PMID 18708186 doi 10 1016 j cortex 2007 11 015 Blom Jan Dirk A Dictionary of Hallucinations Springer December 24 2009 ISBN 978 1 4419 1222 0 Heath M Maraj A Maddigan M amp Binsted G 2009 The Antipointing Task Vector Inversion Is Supported by a Perceptual Estimate of Visual Space Journal of Motor Behavior 41 5 383 392 Retrieved from Psychology and Behavioral Sciences Collection database doi 10 3200 35 08 016 Spatial Transpositions Across Tasks and Response Modalities Exploring Representational Allochiria Taylor amp Francis doi 10 1080 13554790490892275 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 12 16 What is Unilateral Neglect thi University of Waterloo Leon Y Deouell aelakhna 28 March 2008 No disillusions in auditory extinction perceiving a melody comprised of unperceived notes frontiers in Human Neuroscience doi 10 3389 neuro 09 015 2007 Alloesthesia Health Grades khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2013 02 09ekhathungcak https th wikipedia org w index php title Allochiria amp oldid 9520777, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม