fbpx
วิกิพีเดีย

พญาสัตบรรณ

พญาสัตบรรณ
พญาสัตบรรณ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Asterids
อันดับ: Gentianales
วงศ์: Apocynaceae
เผ่า: Plumeriae
เผ่าย่อย: Alstoniinae
สกุล: Alstonia
สปีชีส์: A.  scholaris
ชื่อทวินาม
Alstonia scholaris
(L.) R. Br.
ข้อมูลรายการจาก GBIF
ชื่อพ้อง
  • Echites scholaris L.

พญาสัตบรรณ หรือ สัตบรรณ หรือ ตีนเป็ด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Alstonia scholaris) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 12–20 เมตร อยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีถิ่นดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบได้ทุกภาคในประเทศไทย และเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดสมุทรสาคร

ลักษณะ

เปลือกหนาแต่เปราะ ผิวต้นมีสะเก็ดเล็ก ๆ สีขาวปนน้ำตาลกรีดดูจะมียางสีขาวลำต้นตรง แตกกิ่งก้านสาขามากลักษณะเป็นชั้น ๆ เปลือกชั้นในสีน้ำตาล มีน้ำยางสีขาว ใบเป็นกลุ่มบริเวณปลายกิ่งช่อหนึ่งมีใบประมาณ 5–7 ใบ ก้านใบสั้น แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนานถึงรูปหอกแกมรูปขอบขนาน หรือรูปมนแกมรูปบรรทัด ปลายใบเป็นติ่งเล็กน้อย ใบด้านบนมีสีเขียวเข้ม ด้านล่างมีสีขาวนวล ถ้าเด็ดก้านใบจะมียางสีขาว ลักษณะใบยาวรีปลายใบมนโคนใบแหลม ขนาดใบยาวประมาณ 10–12 เซนติเมตร ออกดอกสีเขียวอ่อนเป็นช่อตามปลายกิ่ง ปากท่อของกลีบดอกมีขนยาวปุกปุย ดอกมีกลิ่นฉุนรุนแรง สูดดมเพียงเล็กน้อยจะรู้สึกกลิ่นหอม หากสูดดมมากจะรู้สึกวิงเวียนศีรษะ ช่วงค่ำจะส่งกลิ่นแรงกว่าเวลาอื่น ๆ ดอกเป็นกลุ่มคล้ายดอกเข็มช่อหนึ่งจะมีกลุ่มดอกประมาณ 7 กลุ่ม ดอกมีสีขาวอมเหลือง ปกติจะออกดอกในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม ผลเป็นฝักยาว ฝักคู่หรือเดี่ยว ลักษณะเป็นเส้น ๆ กลมเรียวยาวประมาณ 20–30 เซนติเมตร เมื่อแก่จะแตก มีขุยสีขาวคล้ายฝ้ายปลิวไปตามลมได้ในฝักมีเมล็ดเล็ก ๆ ติดอยู่กับขุยนั้น


ต้นไม้ประจำจังหวัด

สัตบรรณ ถือเป็นไม้มงคลของจังหวัดสมุทรสาคร เนื่องจากเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พุทธศักราช 2537 ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ได้รับพระราชทานพันธุ์ไม้ดังกล่าวจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธานเปิดวันรณรงค์โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ ปีที่ 50 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ และเพื่อความเป็นศิริมงคลของประชาชนชาวจังหวัดสมุทรสาครผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาครจึงได้นำพันธุ์ไม้สัตบรรณพระราชทานมาปลูกเป็นปฐมฤกษ์ ในกิจกรรมวันปลูกต้นไม้ตาม โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2537 ที่บริเวณสนามหน้าศาลากลางจังหวัดสมุทรสาคร จึงถือได้ว่าต้นสัตบรรณเป็นต้นไม้มงคลของจังหวัดสมุทรสาคร นอกจากนี้ต้นพญาสัตบรรณยังเป็นต้นไม้ประจำเขตพญาไท ในกรุงเทพมหานครอีกด้วย

การใช้ประโยชน์

ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เปลือกต้นพญาสัตบรรณรักษาโรคบิด ลำไส้ติดเชื้อ และมาลาเรีย ใบใช้ในการรักษาโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง ในประเทศอินเดียมีการนำส่วนต่าง ๆ ของต้น พญาสัตบรรณมาใช้เป็นพืชสมุนไพรเช่น ใช้เป็นยาสมุนไพรรักษาโรคมาลาเรียในชื่อ Ayush-64 ซึ่งมีขายทั่วไป นำยางสีขาวและใบรักษาแผล แผลเปื่อย และอาการปวดข้อ นอกจากนี้ ต้นพญาสัตบรรณยังเป็นแหล่งของสารอัลคาลอยด์ที่สาคัญ ในบอร์เนียว นำเนื้อไม้ไปทำทุ่นของแหและอวน

พญาสัตบรรณเป็นพืชที่มีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที สารสกัดจากใบสามารถยับยั้งการเจริญของคะน้าได้ สารสกัดจากเปลือกลำต้นสามารถยับยั้งการเจริญของข้าว ข้าวโพด คะน้า ถั่วเขียวผิวดำ ถั่วเขียวผิวมันได้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. World Conservation Monitoring Centre (1998). "Alstonia scholaris". The IUCN Red List of Threatened Species. IUCN. 1998: e.T32295A9688408. doi:10.2305/IUCN.UK.1998.RLTS.T32295A9688408.en.
  2. GBIF.org (7 June 2018) GBIF Occurrence Download https://doi.org/10.15468/dl.eokqvq Alstonia scholaris (L.) R.Br.
  3. "Alstonia scholaris". Germplasm Resources Information Network (GRIN). Agricultural Research Service (ARS), United States Department of Agriculture (USDA). สืบค้นเมื่อ 2012-03-30.
  4. ประไพรัตน์ สีพลไกร (มกราคม–มีนาคม 2012). (PDF). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 14 (1): 54–65. eISSN 2697-4142. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 มีนาคม 2016.
  5. . kasetonline.net. กรมวิชาการเกษตร. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 ตุลาคม 2007.
  6. "ต้นไม้ประจำเขต". สำนักงานเขตพญาไท. 31 สิงหาคม 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 มกราคม 2016. สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2016.
  7. ศานิต สวัสดิกาญจน์ สุวิทย์ เฑียรทอง เนาวรัตน์ ประดับเพ็ชร์ สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์ และวริสรา ปลื้มฤดี (2553). ผลของสารสกัดจากพืชบางชนิดต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของคะน้า. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 3–5 ก.พ. 2553. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 412–421. ISBN 978-616-7262-31-4.
  8. ศานิต สวัสดิกาญจน์ (2554). ผลของแอลลีโลพาธีของพืชสมุนไพร 6 ชนิดต่อการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียวผิวดำ. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 1–4 ก.พ. 2554. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 419–428. ISBN 978-616-7522-01-2.

แหล่งข้อมูลอื่น

  ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Alstonia scholaris ที่วิกิสปีชีส์

พญาส, ตบรรณ, สถานะการอน, กษ, ความเส, ยงต, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, plantaeไม, ได, ดลำด, angiospermsไม, ได, ดลำด, eudicotsไม, ได, ดลำด, asteridsอ, นด, gentianalesวงศ, apocynaceaeเผ, plumeriaeเผ, าย, อย, alstoniinaeสก, alstoniaสป, scholarisช,. phyastbrrnphyastbrrnsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 2 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Asteridsxndb Gentianaleswngs Apocynaceaeepha Plumeriaeephayxy Alstoniinaeskul Alstoniaspichis A scholarischuxthwinamAlstonia scholaris L R Br khxmulraykarcak GBIF 2 chuxphxng 3 Echites scholaris L phyastbrrn hrux stbrrn hrux tinepd chuxwithyasastr Alstonia scholaris epnimyuntnkhnadihymikhwamsungpraman 12 20 emtr xyuinwngs Apocynaceae mithindngediminexechiytawnxxkechiyngit aelaphbidthukphakhinpraethsithy 4 aelaepntnimpracacnghwdsmuthrsakhr enuxha 1 lksna 2 tnimpracacnghwd 3 karichpraoychn 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunlksna aekikhepluxkhnaaetepraa phiwtnmisaekdelk sikhawpnnatalkridducamiyangsikhawlatntrng aetkkingkansakhamaklksnaepnchn epluxkchninsinatal minayangsikhaw ibepnklumbriewnplaykingchxhnungmiibpraman 5 7 ib kanibsn aephnibrupriaekmrupkhxbkhnanthungruphxkaekmrupkhxbkhnan hruxrupmnaekmrupbrrthd playibepntingelknxy ibdanbnmisiekhiywekhm danlangmisikhawnwl thaeddkanibcamiyangsikhaw lksnaibyawriplayibmnokhnibaehlm khnadibyawpraman 10 12 esntiemtr xxkdxksiekhiywxxnepnchxtamplayking pakthxkhxngklibdxkmikhnyawpukpuy dxkmiklinchunrunaerng suddmephiyngelknxycarusukklinhxm haksuddmmakcarusukwingewiynsirsa chwngkhacasngklinaerngkwaewlaxun dxkepnklumkhlaydxkekhmchxhnungcamiklumdxkpraman 7 klum dxkmisikhawxmehluxng pkticaxxkdxkinchwngeduxntulakhmthungeduxnthnwakhm phlepnfkyaw fkkhuhruxediyw lksnaepnesn klmeriywyawpraman 20 30 esntiemtr emuxaekcaaetk mikhuysikhawkhlayfaypliwiptamlmidinfkmiemldelk tidxyukbkhuynn 5 tnimpracacnghwd aekikhstbrrn thuxepnimmngkhlkhxngcnghwdsmuthrsakhr enuxngcakemuxwnthi 9 phvsphakhm phuththskrach 2537 phuwarachkarcnghwdsmuthrsakhr idrbphrarachthanphnthuimdngklawcaksmedcphranangeca phrabrmrachininath inworkasthiesdcphrarachdaeninepnxngkhprathanepidwnrnrngkhokhrngkarplukpaechlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhwthrngkhrxngrachy pithi 50 n sunykarprachumaehngchatisirikiti aelaephuxkhwamepnsirimngkhlkhxngprachachnchawcnghwdsmuthrsakhrphuwarachkarcnghwdsmuthrsakhrcungidnaphnthuimstbrrnphrarachthanmaplukepnpthmvks inkickrrmwnpluktnimtam okhrngkarplukpathawrechlimphraekiyrti emuxwnthi 9 mithunayn phuththskrach 2537 thibriewnsnamhnasalaklangcnghwdsmuthrsakhr cungthuxidwatnstbrrnepntnimmngkhlkhxngcnghwdsmuthrsakhr nxkcaknitnphyastbrrnyngepntnimpracaekhtphyaith inkrungethphmhankhrxikdwy 6 karichpraoychn aekikhinexechiyitaelaexechiytawnxxkechiyngitichepluxktnphyastbrrnrksaorkhbid laistidechux aelamalaeriy ibichinkarrksaorkhrabbthangedinhayiceruxrng inpraethsxinediymikarnaswntang khxngtn phyastbrrnmaichepnphuchsmuniphrechn ichepnyasmuniphrrksaorkhmalaeriyinchux Ayush 64 sungmikhaythwip nayangsikhawaelaibrksaaephl aephlepuxy aelaxakarpwdkhx nxkcakni tnphyastbrrnyngepnaehlngkhxngsarxlkhalxydthisakhy 4 inbxreniyw naenuximipthathunkhxngaehaelaxwnphyastbrrnepnphuchthimivththithangxlliolphathi sarskdcakibsamarthybyngkarecriykhxngkhanaid 7 sarskdcakepluxklatnsamarthybyngkarecriykhxngkhaw khawophd khana thwekhiywphiwda thwekhiywphiwmnid 8 duephim aekikhraychuxphnthuimmngkhlphrarachthanpracacnghwdxangxing aekikh World Conservation Monitoring Centre 1998 Alstonia scholaris The IUCN Red List of Threatened Species IUCN 1998 e T32295A9688408 doi 10 2305 IUCN UK 1998 RLTS T32295A9688408 en GBIF org 7 June 2018 GBIF Occurrence Download https doi org 10 15468 dl eokqvq Alstonia scholaris L R Br Alstonia scholaris Germplasm Resources Information Network GRIN Agricultural Research Service ARS United States Department of Agriculture USDA subkhnemux 2012 03 30 4 0 4 1 praiphrtn siphlikr mkrakhm minakhm 2012 sarxinodlxlkhalxydaelavththithangchiwphaphkhxngtnphyastbrrn PDF warsarwithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalyxublrachthani 14 1 54 65 eISSN 2697 4142 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 5 minakhm 2016 23 karplukimephuxkhudkhay epnimpradbechn tnkhun sttbrrn xun kasetonline net krmwichakarekstr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 13 tulakhm 2007 tnimpracaekht sanknganekhtphyaith 31 singhakhm 2011 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 22 mkrakhm 2016 subkhnemux 9 mkrakhm 2016 sanit swsdikaycn suwithy ethiyrthxng enawrtn pradbephchr siriwrrn smiththixaphrn aelawrisra plumvdi 2553 phlkhxngsarskdcakphuchbangchnidtxkarybyngkarecriyetibotkhxngkhana eruxngetmkarprachumthangwichakarkhxngmhawithyalyekstrsastr khrngthi 48 3 5 k ph 2553 mhawithyalyekstrsastr hna 412 421 ISBN 978 616 7262 31 4 sanit swsdikaycn 2554 phlkhxngaexlliolphathikhxngphuchsmuniphr 6 chnidtxkarngxkaelakarecriyetibotkhxngthwekhiywphiwda eruxngetmkarprachumthangwichakarkhxngmhawithyalyekstrsastr khrngthi 49 1 4 k ph 2554 mhawithyalyekstrsastr hna 419 428 ISBN 978 616 7522 01 2 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phyastbrrn khxmulthiekiywkhxngkb Alstonia scholaris thiwikispichis ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phyastbrrn amp oldid 10051472, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม