fbpx
วิกิพีเดีย

Retinal bipolar cell

retinal bipolar cell เป็นส่วนของจอประสาทตา อยู่ระหว่างเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) กับ retinal ganglion cell (เรียกสั้น ๆ ว่า ganglion cell หรือ RGC) มีหน้าที่ส่งข้อมูลจากเซลล์รับแสงไปยัง ganglion cell ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม มักจะเรียกสั้น ๆ ว่า bipolar cell ในบทความที่กล่าวถึงเซลล์ในเรตินาเช่นบทความนี้

Retinal bipolar cell
เรตินา เซลล์สองขั้วแสดงเป็นสีแดง
รายละเอียด
ระบบระบบการเห็น
ที่ตั้งเรตินา (ชั้นนิวเคลียสส่วนใน)
รูปร่างสองขั้ว
หน้าที่ส่งข้อมูลมีลักษณะเป็นเกรเดียนต์จากเซลล์รับแสงไปยัง retinal ganglion cell
สารส่งผ่านประสาทGlutamate
การเชื่อมก่อนจุดประสานประสาทเซลล์รูปแท่ง, เซลล์รูปกรวย และ Horizontal cell
การเชื่อมหลังจุดประสานประสาทRetinal ganglion cell กับ amacrine cell
ตัวระบุ
MeSHD051245
นิวโรเล็กซ์ IDnifext_31
ศัพท์ทางกายวิภาคของประสาทกายวิภาคศาสตร์
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ]

อธิบายคร่าว ๆ

Bipolar cell (แปลว่าเซลล์มีสองขั้ว) มีชื่อดังนี้ก็เพราะว่ามีส่วนยื่นออกจากเซลล์ทั้งสองข้างโดยมีตัวเซลล์อยู่ตรงกลาง เป็นเซลล์ที่รับข้อมูลผ่านไซแนปส์จากเซลล์รูปแท่งหรือเซลล์รูปกรวย (แต่ไม่เชื่อมกับทั้งสองพร้อม ๆ กัน) และรับข้อมูลจาก horizontal cell อีกด้วย จากนั้น จึงส่งข้อมูลต่อไปยัง ganglion cell โดยตรง หรือโดยอ้อมผ่าน amacrine cell โดยที่ไม่เหมือนเซลล์ประสาทโดยมาก bipolar cell ส่งสัญญาณเป็น graded potential แทนที่ศักยะงาน

ลักษณะต่าง ๆ

Bipolar cell รับข้อมูลผ่านไซแนปส์จากเซลล์รูปแท่งหรือเซลล์รูปกรวย แต่ไม่ใช่ทั้งสองพร้อม ๆ กัน ดังนั้น จึงมีชื่อว่า rod bipolar cell หรือว่า cone bipolar cell ตามลำดับ แต่มี cone bipolar cell ถึง 10 ประเภท และมี rod bipolar cell เพียงแค่ประเภทเดียว เพราะว่า เซลล์รูปแท่งเกิดขึ้นในประวัติวิวัฒนาการภายหลังเซลล์รูปกรวย

ในที่มืด เซลล์รับแสงจะปล่อยสารสื่อประสาทกลูตาเมต ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้ง (ทำให้เกิด hyperpolarization) ต่อ ON bipolar cell และมีฤทธิ์กระตุ้น (depolarization) ต่อ OFF bipolar cell แต่ในที่สว่าง แสงที่มากระทบกับเซลล์รับแสง จะมีผลเป็นการยับยั้งเซลล์รับแสง (เป็น hyperpolarization) เพราะปลุกฤทธิ์ของ opsin ซึ่งจะปลุกฤทธิ์ของ 11-trans-Retinal มีผลเป็นการให้พลังงานเพื่อกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึก G-Protein coupled receptor ซึ่งปลุกฤทธิ์ของ phosphodiesterase (PDE) ที่แยก cGMP ออกเป็น GMP. ปกติแล้วในที่มืด เซลล์รับแสง จะมี cGMP เป็นจำนวนมาก มีผลเป็นการเปิดประตูโซเดียมที่เปิดปิดโดย cGMP (cGMP-gated Na Channel) และดังนั้น การปลุกฤทธิ์ของ PDE (ที่สืบเนื่องจากการมีแสงสว่าง) ก็จะลดจำนวนของ cGMP และลดจำนวนประตูโซเดียมที่เปิด มีผลเป็นภาวะ hyperpolarization ของเซลล์รับแสง ซึ่งนำไปสู่การลดการปล่อยสารสื่อประสาทกลูตาเมต กระบวนการนี้เป็นการระงับการยับยั้งของ ON bipolar cell ทำให้เซลล์เปลี่ยนสภาพเป็น depolarization คือเซลล์เริ่มส่งสัญญาณ ในขณะที่เป็นการระงับการเร้าของ OFF bipolar cell ทำให้เซลล์เปลี่ยนสภาพเป็น hyperpolarization คือเซลล์จะหยุดส่งสัญญาณ

Rod bipolar cell ไม่ได้เชื่อมไซแนปส์โดยตรงกับ retinal ganglion cell แต่เชื่อมกับ amacrine cell ประเภท A II ซึ่งทำการเร้า cone ON bipolar cell ผ่าน gap junction และทำการระงับ cone OFF bipolar cell ผ่านไซแนปส์แบบยับยั้งสื่อโดยไกลซีน และดังนั้นจึงเป็นการเข้ายึดวิถีประสาทของเซลล์รูปกรวย เพื่อใช้ส่งข้อมูลไปยัง ganglion cell ในที่สลัว

OFF bipolar cell มีไซแนปส์ในส่วนนอกของชั้น inner plexiform layer ของจอประสาทตา และ ON bipolar cell มีไซแนปส์ในส่วนในของชั้น inner plexiform layer

หน้าที่

Bipolar cell ส่งข้อมูลจากเซลล์รูปแท่งเซลล์รูปกรวยไปยัง ganglion cell แต่ว่า horizontal cellและ amacrine cell ทำกระบวนการนี้ให้ซับซ้อนยิ่งขึ้น คือ horizontal cell มีฤทธิ์ยับยั้ง horizontal cell ด้วยกัน คือมีกระบวนการ lateral inhibition มีผลเป็นลานรับสัญญาณแบบ center-surround เห็นได้ในลานรับสัญญาณของเรตินา แม้ amacrine cell ก็มีกระบวนการ lateral inhibition ด้วย แต่ว่าบทบาทของกระบวนการนี้ใน amacrine cell ยังไม่ชัดเจน

กลไกของข้อมูลกลางลานรับสัญญาณของ bipolar cell นั้นชัดเจนแล้ว คือมีการเชื่อมต่อทางประสาทโดยตรงจากเซลล์รับแสง ผ่านหน่วยรับความรู้สึก metabotropic (ON) หรือ ionotropic (OFF) แต่ว่า กลไกของข้อมูลมีสีเดียว (monochromatic) รอบ ๆ ลานรับสัญญาณ (surround) นั้นยังต้องทำการศึกษาต่อไป แม้ว่าจะรู้แล้วว่า เซลล์ที่มีความสำคัญต่อกลไกนี้รวมถึง horizontal cell แต่ว่า ทั้งหน่วยรับความรู้สึกและทั้งสารปลุกฤทธิ์หน่วยรับความรู้สึกยังไม่ชัดเจน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์ (พ.ศ. 2556). ประสาทกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน (ฺBasic neuroanatomy). กรุงเทพมหานคร: ศ.พญ. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. pp. 248–251. ISBN 978-616-335-105-0. Check date values in: |year= (help)
  2. "SENSORY AND MOTOR MECHANISM" (ppt). p. 11. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน 2557. Check date values in: |accessdate= (help)
  3. นพ. สมเกียรติ อธิคมกุลชัย (12 สิงหาคม 2549). "โรคอาร์พี - โรคทางพันธุกรรม ที่ทำให้ตาบอด". สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2557. Check date values in: |accessdate=, |date= (help)
  4. horizontal cell เป็นนิวรอนที่มีการเชื่อมต่อกันและกันในชั้น Inner nuclear layer ของเรตินาในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีหน้าที่ประสานและควบคุมข้อมูลที่มาจากเซลล์รับแสงหลายตัว ช่วยให้ตาสามารถเห็นได้ทั้งในที่สว่างและที่สลัว
  5. amacrine cell เป็น interneuron ในเรตินา retinal ganglion cell (ตัวย่อ RGC) รับข้อมูลถึง 70% จาก amacrine cell และ Bipolar cell ซึ่งส่งข้อมูล 30% ที่เหลือ มีการควบคุมโดย amacrine cell
  6. Kevin S. LaBar; Purves, Dale; Elizabeth M. Brannon; Cabeza, Roberto; Huettel, Scott A. (2007). Principles of Cognitive Neuroscience. Sunderland, Mass: Sinauer Associates Inc. p. 253. ISBN 0-87893-694-7.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  7. Stewart A. Bloomfield, Ramon F. Dacheux, Rod Vision: Pathways and Processing in the Mammalian Retina, Progress in Retinal and Eye Research, Volume 20, Issue 3, May 2001, Pages 351-384, ISSN 1350-9462, doi:10.1016/S1350-9462 (00) 00031-8. (http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1350946200000318)
  8. คือสำหรับ ON cell เมื่อแสงตกลงกลางลานรับสัญญาณแต่ไม่ตกลงที่รอบ ๆ เซลล์จะมีการเร้าระดับสูงสุด แต่เมื่อแสงตกลงที่รอบ ๆ และไม่ตกลงตรงกลาง เซลล์จะมีการเร้าในระดับที่ต่ำที่สุด ถ้าแสงตกลงที่ทั้งตรงกลางและรอบ ๆ เซลล์จะมีการเร้าแบบกลาง ๆ สำหรับ OFF cell ก็จจะมีนัยตรงกันข้ามเป็นต้นว่า เมื่อแสงตกลงกลางรับสัญญาณแต่ไม่ตกลงที่รอบ ๆ เซลล์จะมีการระงับระดับที่ต่ำสุด

บรรณานุกรม

  • Nicholls, John G.; A. Robert Martin; Bruce G. Wallace; Paul A. Fuchs (2001). From Neuron to Brain. Sunderland, Mass: Sinauer Associates. ISBN 0-87893-439-1.
  • Masland RH (2001). "The fundamental plan of the retina". Nat. Neurosci. 4 (9): 877–86. doi:10.1038/nn0901-877. PMID 11528418.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Diagram at mcgill.ca
  • NIF Search - Retinal Bipolar Cell via the Neuroscience Information Framework

retinal, bipolar, cell, บทความน, อเป, นภาษาอ, งกฤษ, เน, องจากช, อเป, นศ, พท, เฉพาะทางของกายว, ภาคศาสตร, ราชบ, ณฑ, ตยสถานย, งไม, ญญ, ภาษาไทย, หน, งส, อเฉพาะทางใช, พท, งกฤษretinal, bipolar, cell, เป, นส, วนของจอประสาทตา, อย, ระหว, างเซลล, บแสง, อเซลล, ปแท, งและเ. bthkhwamnimichuxepnphasaxngkvs enuxngcakchuxepnsphthechphaathangkhxngkaywiphakhsastr rachbnthitysthanyngimbyytiphasaithy hnngsuxechphaathangichsphthxngkvsretinal bipolar cell 1 2 3 epnswnkhxngcxprasathta xyurahwangesllrbaesng khuxesllrupaethngaelaesllrupkrwy kb retinal ganglion cell eriyksn wa ganglion cell hrux RGC mihnathisngkhxmulcakesllrbaesngipyng ganglion cell thngodytrngaelaodyxxm mkcaeriyksn wa bipolar cell inbthkhwamthiklawthungesllinertinaechnbthkhwamniRetinal bipolar cellertina esllsxngkhwaesdngepnsiaedngraylaexiydrabbrabbkarehnthitngertina chnniwekhliysswnin ruprangsxngkhwhnathisngkhxmulmilksnaepnekrediyntcakesllrbaesngipyng retinal ganglion cellsarsngphanprasathGlutamatekarechuxmkxncudprasanprasathesllrupaethng esllrupkrwy aela Horizontal cellkarechuxmhlngcudprasanprasathRetinal ganglion cell kb amacrine celltwrabuMeSHD051245niworelks IDnifext 31sphththangkaywiphakhkhxngprasathkaywiphakhsastr aekikhbnwikisneths enuxha 1 xthibaykhraw 2 lksnatang 3 hnathi 4 duephim 5 xangxing 6 brrnanukrm 7 aehlngkhxmulxunxthibaykhraw aekikhBipolar cell aeplwaesllmisxngkhw michuxdngnikephraawamiswnyunxxkcakesllthngsxngkhangodymitwesllxyutrngklang epnesllthirbkhxmulphanisaenpscakesllrupaethnghruxesllrupkrwy aetimechuxmkbthngsxngphrxm kn aelarbkhxmulcak horizontal cell 4 xikdwy caknn cungsngkhxmultxipyng ganglion cell odytrng hruxodyxxmphan amacrine cell 5 odythiimehmuxnesllprasathodymak bipolar cell sngsyyanepn graded potential aethnthiskyanganlksnatang aekikhBipolar cell rbkhxmulphanisaenpscakesllrupaethnghruxesllrupkrwy aetimichthngsxngphrxm kn dngnn cungmichuxwa rod bipolar cell hruxwa cone bipolar cell tamladb aetmi cone bipolar cell thung 10 praephth aelami rod bipolar cell ephiyngaekhpraephthediyw ephraawa esllrupaethngekidkhuninprawtiwiwthnakarphayhlngesllrupkrwy khxmulephimetim esllrbaesng karthayoxnaesng inthimud esllrbaesngcaplxysarsuxprasathklutaemt sungmivththiybyng thaihekid hyperpolarization tx ON bipolar cell aelamivththikratun depolarization tx OFF bipolar cell aetinthiswang aesngthimakrathbkbesllrbaesng camiphlepnkarybyngesllrbaesng epn hyperpolarization ephraaplukvththikhxng opsin sungcaplukvththikhxng 11 trans Retinal miphlepnkarihphlngnganephuxkratunhnwyrbkhwamrusuk G Protein coupled receptor sungplukvththikhxng phosphodiesterase PDE thiaeyk cGMP xxkepn GMP pktiaelwinthimud esllrbaesng cami cGMP epncanwnmak miphlepnkarepidpratuosediymthiepidpidody cGMP cGMP gated Na Channel aeladngnn karplukvththikhxng PDE thisubenuxngcakkarmiaesngswang kcaldcanwnkhxng cGMP aelaldcanwnpratuosediymthiepid miphlepnphawa hyperpolarization khxngesllrbaesng sungnaipsukarldkarplxysarsuxprasathklutaemt krabwnkarniepnkarrangbkarybyngkhxng ON bipolar cell thaihesllepliynsphaphepn depolarization khuxesllerimsngsyyan inkhnathiepnkarrangbkarerakhxng OFF bipolar cell thaihesllepliynsphaphepn hyperpolarization khuxesllcahyudsngsyyan 6 Rod bipolar cell imidechuxmisaenpsodytrngkb retinal ganglion cell aetechuxmkb amacrine cell 5 praephth A II sungthakarera cone ON bipolar cell phan gap junction aelathakarrangb cone OFF bipolar cell phanisaenpsaebbybyngsuxodyiklsin aeladngnncungepnkarekhayudwithiprasathkhxngesllrupkrwy ephuxichsngkhxmulipyng ganglion cell inthislw 7 OFF bipolar cell miisaenpsinswnnxkkhxngchn inner plexiform layer khxngcxprasathta aela ON bipolar cell miisaenpsinswninkhxngchn inner plexiform layerhnathi aekikhBipolar cell sngkhxmulcakesllrupaethngesllrupkrwyipyng ganglion cell aetwa horizontal cell 4 aela amacrine cell 5 thakrabwnkarniihsbsxnyingkhun khux horizontal cell mivththiybyng horizontal cell dwykn khuxmikrabwnkar lateral inhibition miphlepnlanrbsyyanaebb center surround 8 ehnidinlanrbsyyankhxngertina aem amacrine cell kmikrabwnkar lateral inhibition dwy aetwabthbathkhxngkrabwnkarniin amacrine cell yngimchdecnklikkhxngkhxmulklanglanrbsyyankhxng bipolar cell nnchdecnaelw khuxmikarechuxmtxthangprasathodytrngcakesllrbaesng phanhnwyrbkhwamrusuk metabotropic ON hrux ionotropic OFF aetwa klikkhxngkhxmulmisiediyw monochromatic rxb lanrbsyyan surround nnyngtxngthakarsuksatxip aemwacaruaelwwa esllthimikhwamsakhytxkliknirwmthung horizontal cell 4 aetwa thnghnwyrbkhwamrusukaelathngsarplukvththihnwyrbkhwamrusukyngimchdecnduephim aekikhRetinal ganglion cell ertinaxangxing aekikh s phy phasuk mhrrkhanuekhraah ph s 2556 prasathkaywiphakhsastrphunthan Basic neuroanatomy krungethphmhankhr s phy phasuk mhrrkhanuekhraah pp 248 251 ISBN 978 616 335 105 0 Check date values in year help SENSORY AND MOTOR MECHANISM ppt p 11 subkhnemux 13 mithunayn 2557 Check date values in accessdate help nph smekiyrti xthikhmkulchy 12 singhakhm 2549 orkhxarphi orkhthangphnthukrrm thithaihtabxd subkhnemux 3 mithunayn 2557 Check date values in accessdate date help 4 0 4 1 4 2 horizontal cell epnniwrxnthimikarechuxmtxknaelakninchn Inner nuclear layer khxngertinainstweliynglukdwynm mihnathiprasanaelakhwbkhumkhxmulthimacakesllrbaesnghlaytw chwyihtasamarthehnidthnginthiswangaelathislw 5 0 5 1 5 2 amacrine cell epn interneuron inertina retinal ganglion cell twyx RGC rbkhxmulthung 70 cak amacrine cell aela Bipolar cell sungsngkhxmul 30 thiehlux mikarkhwbkhumody amacrine cell Kevin S LaBar Purves Dale Elizabeth M Brannon Cabeza Roberto Huettel Scott A 2007 Principles of Cognitive Neuroscience Sunderland Mass Sinauer Associates Inc p 253 ISBN 0 87893 694 7 CS1 maint multiple names authors list link Stewart A Bloomfield Ramon F Dacheux Rod Vision Pathways and Processing in the Mammalian Retina Progress in Retinal and Eye Research Volume 20 Issue 3 May 2001 Pages 351 384 ISSN 1350 9462 doi 10 1016 S1350 9462 00 00031 8 http www sciencedirect com science article pii S1350946200000318 khuxsahrb ON cell emuxaesngtklngklanglanrbsyyanaetimtklngthirxb esllcamikareraradbsungsud aetemuxaesngtklngthirxb aelaimtklngtrngklang esllcamikarerainradbthitathisud thaaesngtklngthithngtrngklangaelarxb esllcamikareraaebbklang sahrb OFF cell kccaminytrngknkhamepntnwa emuxaesngtklngklangrbsyyanaetimtklngthirxb esllcamikarrangbradbthitasudbrrnanukrm aekikhNicholls John G A Robert Martin Bruce G Wallace Paul A Fuchs 2001 From Neuron to Brain Sunderland Mass Sinauer Associates ISBN 0 87893 439 1 Masland RH 2001 The fundamental plan of the retina Nat Neurosci 4 9 877 86 doi 10 1038 nn0901 877 PMID 11528418 aehlngkhxmulxun aekikhRetinal bipolar cells inhxsmudaephthysastraehngchatixemrikn sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH Diagram at mcgill ca NIF Search Retinal Bipolar Cell via the Neuroscience Information Frameworkekhathungcak https th wikipedia org w index php title Retinal bipolar cell amp oldid 9556189, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม