fbpx
วิกิพีเดีย

ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตก

ในวิชาสังคมวิทยา ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตก เป็นความแตกต่างที่รับรู้ระหว่างโลกตะวันออกและตะวันตก เขตแดนของตะวันออกและตะวันตกไม่มีการเจาะจง แต่เป็นการแบ่งทางวัฒนธรรมมากกว่าทางภูมิศาสตร์ ซึ่งแตกต่างกันตามเกณฑ์ที่แต่ละคนใช้ ในอดีต ทวีปเอเชีย (ยกเว้นไซบีเรีย) ถือเป็นตะวันออก และทวีปยุโรปถือเป็นตะวันตก ทุกวันนี้ "ตะวันตก" มักหมายถึงออสตราเลเซีย ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกา มโนทัศน์ดังกล่าวมีอภิปรายในการศึกษาอย่างการจัดการ เศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และภาษาศาสตร์ แนวคิดนี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากละเลยความเป็นลูกผสมของภูมิภาค

แผนที่โลกเน้น "โลกตะวันออก" ซึ่งหมายถึงทวีปเอเชีย หรือ "ตะวันออกไกล" ซึ่งประกอบด้วยภูมิภาควัฒนธรรมซ้อนทับกันสามแห่ง ได้แก่ เอเชียตะวันออก, เอเชียใต้ และ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สีเขียว, ส้มและน้ำเงินตามลำดับ)

การแบ่ง

เขตแดนตามแนวคิดเป็นเขตแดนทางวัฒนธรรมมากกว่าภูมิศาสตร์ ผลคือ ออสเตรเลียตรงแบบได้รับการจัดกลุ่มเป็นตะวันตก แม้ในทางภูมิศาสตร์อยู่ในซีกโลกตะวันออก ส่วนชาติอิสลามไม่ว่าอยู่ที่ใดจะจัดเป็นตะวันออก เส้นแบ่งวัฒนธรรมอาจจัดวางได้ยากในที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมอย่างบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งพลเมืองอาจระบุตนเองว่าเป็นตะวันออกหรือตะวันตกขึ้นอยู่กับภูมิหลังทางชาติพันธุ์หรือศาสนา ยิ่งไปกว่านั้น ผู้อยู่อาศัยในส่วนต่าง ๆ ของโลกอาจรับรู้เขตแดนต่างออกไป เช่น นักวิชาการยุโรปนิยามรัสเซียว่าเป็นตะวันออก แต่ส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่าเป็นส่วนเติมเต็มที่สองของตะวันตก และชาติอิสลามถือว่าตนและชาติที่ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์เป็นตะวันตก คำถามที่ยังไม่มีคำตอบอีกคำาถามหนึ่งคือไซบีเรีย (เอเชียเหนือ) เป็น "ตะวันออก" หรือ "ตะวันตก"

ความแตกต่างในประวัติศาสตร์ระหว่างตะวันออกและตะวันตก

ระหว่างยุคกลาง อารยธรรมมากมายที่ปรากฏทั้งในโลกตะวันออกและตะวันตกมีความคล้ายคลึงกันในหลายแง่ แต่บางแง่ก็แตกต่างกันมากจนเข้ากันไม่ได้ ประเด็นสำคัญหนึ่งได้แก่ข้อแตกต่างในระบบชนชั้นทางสังคมซึ่งมีผลต่อชีวิตหลายด้านเมื่อสังคมทั้งสองมีอันตรกิริยา การแบ่งแยกระหว่างระบบเจ้าขุนมูลนายและระบบสังคมแบบตะวันออก วิธีการค้าและเกษตรกรรมที่แข่งขันกัน และเสถียรภาพของรัฐบาลที่ต่างกันทำให้เกิดช่องว่างกว่าขึ้นเรื่อย ๆ ระหว่างวิถีชีวิตทั้งสองแบบ อารยธรรมตะวันตกและตะวันออกไม่เพียงแตกต่างกันเพราะที่ตั้งเท่านั้น แต่ยังเพราะระบบชนชั้นทางสังคม วิธีทำกินและลีลาความเป็นผู้นำ

ชีวิตประจำวันของสามัญชนในอารยธรรมตะวันตกและตะวันออกนั้นแตกต่างกันอย่างมากตามวิธีดำเนินการสังคมของพวกตน และสิ่งที่สังคมมุ่งเน้น ข้อแตกต่างสำคัญหนึ่งระหว่างอารยธรรมตะวันตกและตะวันออกได้แก่ระบบเจ้าขุนมูลนายและระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล (manorialism) ทั้งสองก่อให้เกิดชนการจัดช่วงชั้นทางสังคม และชีวิตในภาพรวมของสามัญชนในโลกตะวันออก ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัลตั้งขึ้นโดยมีเจ้า (lord) อยู่บนสุดที่เป็นเจ้าของที่ดินผืนใหญ่ เขามีทาสติดที่ดิน (serf) และชาวนาที่เขาว่าจ้าง ชาวนาจ่ายค่าเช่าเป็นธัญพืชเพื่อเป็นการตอบแทนที่ดินที่พวกเขาได้ทำงาน สังคมระบบเจ้าขุนมูลนายนี้เป็นระบบแก่งแย่งกันและไม่ช่วยขยายอารยธรรม

ระบบสังคมของโลกตะวันตกและตะวันออกต่างกัน มองโกเลียเจริญขึ้นมาจากเผ่าเร่ร่อนที่เจงกีสข่านรวมเป็นหนึ่งเดียว เขาพิชิตดินแดนแวดล้อมกว้างใหญ่และตั้งจักรวรรดิไพศาล ชาวมองโกลให้ผู้ป้องกันมีทางเลือกระหว่างเข้าร่วมหรือตาย ทัศนะที่โหดเหี้ยมนี้แสดงออกมาเมื่อพวกเขาพิชิตทวีปเอเชียส่วนใหญ่และทวีปยุโรปและตะวันออกกลางบางส่วน สิ่งหนึ่งที่ทำให้ราชวงศ์ถังของจีนต่างจากราชวงศ์อื่น ๆ ได้แก่ การเปลี่ยนสถานภาพทางสังคมที่เพิ่มขึ้น มีชุดการทดสอบซึ่งสามารถเข้ารับเพื่อให้ยกสถานภาพทางสังคม แทนที่จะสงวนตำแหน่งระดับสูงไว้สำหรับชนชั้นผู้ดีโดยเฉพาะ คนยากจนสามารถเข้าถึงตำแหน่งดังกล่าวได้ง่ายขึ้น ในมองโกเลีย บุคคลสามารถได้ยศในกองทัพได้ผ่านทักษะทางทหารเพราะสังคมตั้งอยู่บนทักษะทางทหาร ในอารยธรรมตะวันตก การเปลี่ยนสถานภาพทางสังคมเป็นไปได้ยากกว่า

อารยธรรมตะวันตกและตะวันออกมีความแตกต่างทางการเมืองเพราะสามัญชนในอารยธรรมตะวันออกไม่พอใจกับผู้นำของตนเสมอไป แม้อารยธรรมตะวันตกมีผู้ปกครองมากมายในช่วงเวลาสั้น ๆ แต่ไม่มีความไม่สงบในหมู่ประชาชน อารยธรรมตะวันออกมีกบฎและช่องว่างยาวระหว่างผู้ปกครองที่ทำให้เกิดความไม่สงบ ระหว่างสงครามใหญ่ในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 ประเทศอังกฤษมีการแย่งชิงบัลลังก์ซึ่งทำให้เกิดการนองเลือดหลายครั้ง ประเทศฝรั่งเศสก็มีปัญหาในการปกครองของตนเช่นกัน ตลอดเวลาดังกล่าว ประเทศอังกฤษยังสามารถต่อสู้ชาวฝรั่งเศสและเกือบชนะสงครามร้อยปี ในอารยธรรมตะวันออก รัฐบาลไม่มั่นคงเสมอไป ในประเทศจีน เหตุการณ์ที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดเหตุการณ์หนึ่งเกิดระหว่างราชวงศ์ถัง กบฏอันลูซันแสดงถึงความไร้เสถียรภาพของรัฐบาลจีน

ด้านเศรษฐกิจ อารยธรรมตะวันตกและตะวันออกแตกต่างกันมากเพราะวิธีทำกินต่างกัน ในประเทศจีน ปัจจัยทางเศรษฐกิจสำคัญหนึ่งคือการค้า ประเทศจีนเชื่อมโยงกับทวีปยุโรปผ่านเส้นทางสายไหม ซึ่งเป็นชุดเส้นทางการค้าจากเอเชียตะวันออกสู่ทวีปยุโรป เส้นทางสายไหมไม่ได้ใช้ค้าขายสินค้าเท่านั้น แต่ยังเป็นทางแลกเปลี่ยนสำหรับความคิดหรือศาสนาด้วย ชาวอังกฤษใช้ระบบเจ้าขุนมูลนายแบบพิเศษเรียก ระบบเจ้าขุนมูลนายปลอม (bastard feudalism) ระบบนี้ซึ่งโดดเด่นในสงครามดอกกุหลาบ แตกต่างจากระบบเจ้าขุนมูลนายปกติเพราะระบบริเริ่มเงินเข้าสู่ลำดับชั้นทางสังคม ขุนนางสามารถจ่ายเงินอัศวินสำหรับการรับใช้แทนการมอบที่ดิน การนี้ทำให้ระบบเจ้าขุนมูลนายเข้มแข็งขึ้นเพราะหากมีผู้ปกครองอ่อนแอ รัฐบาลขุนนางใหม่ที่เข้มแข็งจะสนับสนุนประชาชน ขุนนางบริติชยังสร้างมหากฎบัตรเพื่อลดพระราชอำนาจอีก การนำเงินเข้าสู่ระบบชนชั้นเปลี่ยนแปลงวิธีการปกครองของอังกฤษและทำให้มันต่างจากอารยธรรมตะวันออกมาก

มโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์

มโนทัศน์นี้มีใช้ทั้งในชาติ "ตะวันออก" และ "ตะวันตก" นักจีนศึกษาชาวญี่ปุ่น ทาชิบานะ ชิรากิ ในคริสต์ทศวรรษ 1920 เขียนถึงความจำเป็นในการรวมทวีปเอเชียให้เป็นหนึ่ง อันประกอบด้วยเอเชียตะวันออก เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไม่รวมเอเชียกลางและตะวันออกกลาง และตั้ง "ตะวันออกใหม่" ซึ่งอาจรวมกันทางวัฒนธรรมเพื่อถ่วงดุลตะวันตก ญี่ปุ่นยังคงใช้แนวคิดซึ่งเรียก แนวคิดรวมเอเชีย (Pan-Asianism) ตลอดสงครามโลกครั้งที่สอง ใน โฆษณาชวนเชื่อ ในประเทศจีนระหว่างสงครามเย็น ในสุนทรพจน์ปี 1957 ของเหมาเจ๋อตง ที่เปิดตัวคำขวัญเมื่อเขากล่าวว่า "นี่เป็นสงครามระหว่างสองโลก ลมตะวันตกไม่อาจชนะลมตะวันออก ลมตะวันออกถูกกำหนดมาให้ชนะลมตะวันตก"

สำหรับนักเขียนตะวันตกในคริสต์ทศวรรษ 1940 ทวิวิภาคดังกล่าวผูกมัดกับความคิดก้าวร้าว "ชาตินิยมไม่สำเร็จ" (frustrated nationalism) ซึ่งถูกมองว่า "ต่อต้านหรือไม่เป็นตะวันตกด้วยตัวมันเอง" นักสังคมนิยม แฟรงก์ ฟูเรดีเขียนว่า "การประเมินทางปัญญาที่มีอยู่แล้วของชาตินิยมยุโรปได้รับการดัดแปลงให้เข้ากับการเติบโตของชาตินิยมโลกที่สามโดยการพัฒนาคู่ชาตินิยมตะวันตกที่เติบโตเต็มที่กับชาตินิยมตะวันออกที่ยังไม่โตเต็มที่ ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกแบบนี้กลายเป็นทฤษฎีการเมืองตะวันตกที่ได้รับการยอมรับ"

หนังสือ โอเรียนทัลลิซึม (Orientalism) ปี 1978 โดย เอ็ดเวิร์ด ซาอิด มีอิทธิพลอย่างสูงในการตั้งมโนทัศน์ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกเพิ่มเติมในโลกตะวันตก โดยนำญัตติตะวันออกที่ "มีลักษณะโดยสภาพสัมผัสได้ของศาสนา ระเบียบสังคมแบบครอบครัวและประเพณีไม่เคยแก่" ตรงข้ามกับ "ความเป็นเหตุผล พลวัติทางวัตถุและเทคนิค และปัจเจกชนนิยม" แบบตะวันตกเข้าสู่เล็กเชอร์มหาวิทยาลัย

เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีการวางการแบ่งว่าอิสลามเป็น "ตะวันออก" และอเมริกาและยุโรป "ตะวันตก" นักวิจารณ์หมายเหตุว่าทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกระหว่างอิสลามกับศาสนาอื่นมีความยุ่งยากจากการแพร่กระจายของลัทธิมูลฐานนิยมอิสลามและความหลากหลายทางวัฒนธรรมในชาติอิสลาม โดยเคลื่อนการให้เหตุผล "นอกเหนือจากทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกและเข้าสู่สถานการณ์สามฝ่าย"

การประยุกต์

ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกมีใช้ในการศึกษาหัวข้อต่าง ๆ รวมถึงการจัดการ เศรษฐศาสตร์และภาษาศาสตร์ การสร้างสรรค์ละการจัดการ (ค.ศ. 2007) พิจารณาทวิวิภาคดังกล่าวว่าเป็นความแตกต่างในการเรียนรู้เชิงองค์การระหว่างวัฒนธรมตะวันตกและตะวันออก มีการใช้อย่างกว้างขวางในการสำรวจช่วงการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วที่เรียก "ปาฏิหารย์เอเชียตะวันออก" ในบางส่วนของเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสือเอเชีย หลัง สงครามโลกครั้งที่สอง นักสังคมวิทยาบางคนรับรู้การขยายตัวทางเศรษฐกิจว่าเป็นสัญญาณว่าภูมิภาคนั้น "กลายเป็นตะวันตก" ตามแนวกับโลกตะวันตกเป็นแบบจำลองความทันสมัยที่วางโดย อาร์โนลด์ เจ. ทอยน์บี แต่คนอื่นมองหาคำอธิบายในคุณลักษณะทางวัฒนธรรมหรือเชื้อชาติในโลกตะวันออก โดยรับมโนทัศน์อัตลักษณ์วัฒนธรรมตะวันออกที่คงที่ในปรากฏการณ์ที่อธิบายว่าเป็น "คตินิยมแบบตะวันออกใหม่" (New Orientalism) แนวทางการเข้าสู่ทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกทั้งสองแนวได้รับคำวิจารณ์ว่าไม่ได้นำความเป็นลูกผสมทางประวัติศาสตร์ของภูมิภาคดังกล่าวมาคิดด้วย

มโนทัศน์ดังกล่าวยังหยิบยกขึ้นมาเพื่อให้สัมพันธ์กับการพิจารณาการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม มีการอธิบายอย่างกว้างขวางว่าชาวเอเชียรับ "รูปแบบคำพูดอุปนัย" ซึ่งจะเลี่ยงการพูดประเด็นหลักตรง ๆ แต่กล่าวกันว่าสังคมตะวันตกใช้ "คำพูดนิรนัย" ซึ่งผู้พูดสร้างประเด็นของพวกตนในทันที สิ่งนี้มีการยกว่ามีความสำคัญสูงกว่าในหมู่ชาวเอเชียในความสัมพันธ์แบบสมานฉันท์ แต่ชาวตะวันตกกล่าวกันว่าให้ความสำคัญกับการสื่อสารโดยตรง หนังสือ Intercultural Communication: A Discourse Approach ในปี 2001 อธิบายทวิวิภาคตะวันออก–ตะวันตกทางภาษาศาสตร์ว่าเป็น "ทวิวิภาคเท็จ" โดยสังเกตว่าผู้พูดชาวเอเชียและตะวันตกใช้การสื่อสารทั้งสองแบบ

อ้างอิง

  1. Empty citation (help)
  2. https://www.academia.edu/616571/Metaphorical_politics_Is_Russia_western
  3. François Louis Ganshof (1944). Qu'est-ce que la féodalité. Translated into English by Philip Grierson as Feudalism, with a foreword by F. M. Stenton, 1st ed.: New York and London, 1952; 2nd ed: 1961; 3d ed: 1976.
  4. Andrew Jones, "The Rise and Fall of the Manorial System: A Critical Comment" The Journal of Economic History 32.4 (December 1972:938–944) p. 938; a comment on D. North and R. Thomas, "The rise and fall of the manorial system: a theoretical model", The Journal of Economic History 31 (December 1971:777–803).
  5. William Stubbs. The Constitutional History of England. Oxford: 1875.
  6. G. McMullan and D. Matthews, Reading the medieval in early modern England (Cambridge: Cambridge University Press, 2007), p. 231.
  7. Empty citation (help)
  8. H. Damico, J. B. Zavadil, D. Fennema, and K. Lenz, Medieval Scholarship: Philosophy and the arts: biographical studies on the formation of a discipline (Taylor & Francis, 1995), p. 80.
  9. Empty citation (help)
  10. Livery and Maintenance, Encyclopedia of The Wars of the Roses, ed. John A. Wagner, (ABC-CLIO, 2001), 145.
  11. "Feudalism", by Elizabeth A. R. Brown. Encyclopædia Britannica Online.
  12. "Feudalism?", by Paul Halsall. Internet Medieval Sourcebook.
  13. , by Robert Harbison, 1996, Western Kentucky University.
  14. Empty citation (help)
  15. Empty citation (help)
  16. Empty citation (help)
  17. Empty citation (help)
  18. Empty citation (help)
  19. Empty citation (help)
  20. Meštrovic, 63.
  21. See also Empty citation (help)
  22. Empty citation (help)
  23. Empty citation (help)
  24. Empty citation (help)
  25. Berger, 275.
  26. Empty citation (help)
  27. Cheng, 53.
  28. Empty citation (help)

ดูเพิ่ม

Balancing the East, Upgrading the West; U.S. Grand Strategy in an Age of Upheaval by Zbigniew Brzezinski January/February 2012 Foreign Affairs

ทว, ภาคตะว, นออก, ตะว, นตก, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดในว, ชาส, งคมว, ทยา, เป, นความแตกต, างท, บร, ระหว, างโลกตะว, . lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudinwichasngkhmwithya thwiwiphakhtawnxxk tawntk epnkhwamaetktangthirbrurahwangolktawnxxkaelatawntk ekhtaednkhxngtawnxxkaelatawntkimmikarecaacng aetepnkaraebngthangwthnthrrmmakkwathangphumisastr sungaetktangkntameknththiaetlakhnich inxdit thwipexechiy ykewnisbieriy thuxepntawnxxk aelathwipyuorpthuxepntawntk thukwnni tawntk mkhmaythungxxstraelesiy thwipyuorp aelathwipxemrika monthsndngklawmixphiprayinkarsuksaxyangkarcdkar esrsthsastr khwamsmphnthrahwangpraeths aelaphasasastr aenwkhidniidrbkarwiphakswicarncaklaelykhwamepnlukphsmkhxngphumiphakhaephnthiolkenn olktawnxxk sunghmaythungthwipexechiy hrux tawnxxkikl sungprakxbdwyphumiphakhwthnthrrmsxnthbknsamaehng idaek exechiytawnxxk exechiyit aela exechiytawnxxkechiyngit siekhiyw smaelanaengintamladb enuxha 1 karaebng 2 khwamaetktanginprawtisastrrahwangtawnxxkaelatawntk 3 monthsnthangprawtisastr 4 karprayukt 5 xangxing 6 duephimkaraebng aekikhekhtaedntamaenwkhidepnekhtaednthangwthnthrrmmakkwaphumisastr phlkhux xxsetreliytrngaebbidrbkarcdklumepntawntk aeminthangphumisastrxyuinsikolktawnxxk swnchatixislamimwaxyuthiidcacdepntawnxxk 1 esnaebngwthnthrrmxaccdwangidyakinthithimikhwamhlakhlaythangwthnthrrmxyangbxseniyaelaehxresokwina sungphlemuxngxacrabutnexngwaepntawnxxkhruxtawntkkhunxyukbphumihlngthangchatiphnthuhruxsasna 1 yingipkwann phuxyuxasyinswntang khxngolkxacrbruekhtaedntangxxkip echn nkwichakaryuorpniyamrsesiywaepntawnxxk aetswnihyehntrngknwaepnswnetimetmthisxngkhxngtawntk 2 aelachatixislamthuxwatnaelachatithiswnihynbthuxsasnakhristepntawntk 1 khathamthiyngimmikhatxbxikkhaathamhnungkhuxisbieriy exechiyehnux epn tawnxxk hrux tawntk khwamaetktanginprawtisastrrahwangtawnxxkaelatawntk aekikhrahwangyukhklang xarythrrmmakmaythipraktthnginolktawnxxkaelatawntkmikhwamkhlaykhlungkninhlayaeng aetbangaengkaetktangknmakcnekhaknimid praednsakhyhnungidaekkhxaetktanginrabbchnchnthangsngkhmsungmiphltxchiwithlaydanemuxsngkhmthngsxngmixntrkiriya karaebngaeykrahwangrabbecakhunmulnayaelarabbsngkhmaebbtawnxxk withikarkhaaelaekstrkrrmthiaekhngkhnkn aelaesthiyrphaphkhxngrthbalthitangknthaihekidchxngwangkwakhuneruxy rahwangwithichiwitthngsxngaebb xarythrrmtawntkaelatawnxxkimephiyngaetktangknephraathitngethann aetyngephraarabbchnchnthangsngkhm withithakinaelalilakhwamepnphuna 3 chiwitpracawnkhxngsamychninxarythrrmtawntkaelatawnxxknnaetktangknxyangmaktamwithidaeninkarsngkhmkhxngphwktn aelasingthisngkhmmungenn khxaetktangsakhyhnungrahwangxarythrrmtawntkaelatawnxxkidaekrabbecakhunmulnayaelarabbthuxkhrxngthidinsmyfiwdl manorialism 4 thngsxngkxihekidchnkarcdchwngchnthangsngkhm aelachiwitinphaphrwmkhxngsamychninolktawnxxk rabbthuxkhrxngthidinsmyfiwdltngkhunodymieca lord xyubnsudthiepnecakhxngthidinphunihy ekhamithastidthidin serf aelachawnathiekhawacang chawnacaykhaechaepnthyphuchephuxepnkartxbaethnthidinthiphwkekhaidthangan sngkhmrabbecakhunmulnayniepnrabbaekngaeyngknaelaimchwykhyayxarythrrm 5 6 rabbsngkhmkhxngolktawntkaelatawnxxktangkn mxngokeliyecriykhunmacakephaerrxnthiecngkiskhanrwmepnhnungediyw ekhaphichitdinaednaewdlxmkwangihyaelatngckrwrrdiiphsal chawmxngoklihphupxngknmithangeluxkrahwangekharwmhruxtay 7 thsnathiohdehiymniaesdngxxkmaemuxphwkekhaphichitthwipexechiyswnihyaelathwipyuorpaelatawnxxkklangbangswn singhnungthithaihrachwngsthngkhxngcintangcakrachwngsxun idaek karepliynsthanphaphthangsngkhmthiephimkhun michudkarthdsxbsungsamarthekharbephuxihyksthanphaphthangsngkhm aethnthicasngwntaaehnngradbsungiwsahrbchnchnphudiodyechphaa khnyakcnsamarthekhathungtaaehnngdngklawidngaykhun inmxngokeliy bukhkhlsamarthidysinkxngthphidphanthksathangthharephraasngkhmtngxyubnthksathangthhar inxarythrrmtawntk karepliynsthanphaphthangsngkhmepnipidyakkwaxarythrrmtawntkaelatawnxxkmikhwamaetktangthangkaremuxngephraasamychninxarythrrmtawnxxkimphxickbphunakhxngtnesmxip aemxarythrrmtawntkmiphupkkhrxngmakmayinchwngewlasn aetimmikhwamimsngbinhmuprachachn xarythrrmtawnxxkmikbdaelachxngwangyawrahwangphupkkhrxngthithaihekidkhwamimsngb rahwangsngkhramihyinkhriststwrrsthi 14 aela 15 praethsxngkvsmikaraeyngchingbllngksungthaihekidkarnxngeluxdhlaykhrng praethsfrngesskmipyhainkarpkkhrxngkhxngtnechnkn tlxdewladngklaw praethsxngkvsyngsamarthtxsuchawfrngessaelaekuxbchnasngkhramrxypi inxarythrrmtawnxxk rthbalimmnkhngesmxip 8 inpraethscin ehtukarnthimiphuesiychiwitmakthisudehtukarnhnungekidrahwangrachwngsthng kbtxnlusnaesdngthungkhwamiresthiyrphaphkhxngrthbalcin 9 danesrsthkic xarythrrmtawntkaelatawnxxkaetktangknmakephraawithithakintangkn inpraethscin pccythangesrsthkicsakhyhnungkhuxkarkha praethscinechuxmoyngkbthwipyuorpphanesnthangsayihm sungepnchudesnthangkarkhacakexechiytawnxxksuthwipyuorp esnthangsayihmimidichkhakhaysinkhaethann aetyngepnthangaelkepliynsahrbkhwamkhidhruxsasnadwy chawxngkvsichrabbecakhunmulnayaebbphiesseriyk rabbecakhunmulnayplxm bastard feudalism 10 rabbnisungoddedninsngkhramdxkkuhlab aetktangcakrabbecakhunmulnaypktiephraarabbrierimenginekhasuladbchnthangsngkhm 11 12 khunnangsamarthcayenginxswinsahrbkarrbichaethnkarmxbthidin karnithaihrabbecakhunmulnayekhmaekhngkhunephraahakmiphupkkhrxngxxnaex rthbalkhunnangihmthiekhmaekhngcasnbsnunprachachn khunnangbritichyngsrangmhakdbtrephuxldphrarachxanacxik karnaenginekhasurabbchnchnepliynaeplngwithikarpkkhrxngkhxngxngkvsaelathaihmntangcakxarythrrmtawnxxkmak 13 monthsnthangprawtisastr aekikhmonthsnnimiichthnginchati tawnxxk aela tawntk nkcinsuksachawyipun thachibana chiraki inkhristthswrrs 1920 ekhiynthungkhwamcaepninkarrwmthwipexechiyihepnhnung xnprakxbdwyexechiytawnxxk exechiyitaelaexechiytawnxxkechiyngit aetimrwmexechiyklangaelatawnxxkklang aelatng tawnxxkihm sungxacrwmknthangwthnthrrmephuxthwngdultawntk 14 yipunyngkhngichaenwkhidsungeriyk aenwkhidrwmexechiy Pan Asianism tlxdsngkhramolkkhrngthisxng in okhsnachwnechux 15 inpraethscinrahwangsngkhrameyn insunthrphcnpi 1957 khxngehmaecxtng 16 thiepidtwkhakhwyemuxekhaklawwa niepnsngkhramrahwangsxngolk lmtawntkimxacchnalmtawnxxk lmtawnxxkthukkahndmaihchnalmtawntk 17 sahrbnkekhiyntawntkinkhristthswrrs 1940 thwiwiphakhdngklawphukmdkbkhwamkhidkawraw chatiniymimsaerc frustrated nationalism sungthukmxngwa txtanhruximepntawntkdwytwmnexng nksngkhmniym aefrngk fuerdiekhiynwa karpraeminthangpyyathimixyuaelwkhxngchatiniymyuorpidrbkarddaeplngihekhakbkaretibotkhxngchatiniymolkthisamodykarphthnakhuchatiniymtawntkthietibotetmthikbchatiniymtawnxxkthiyngimotetmthi thwiwiphakhtawnxxk tawntkaebbniklayepnthvsdikaremuxngtawntkthiidrbkaryxmrb 18 hnngsux oxeriynthllisum Orientalism pi 1978 ody exdewird saxid mixiththiphlxyangsunginkartngmonthsnthwiwiphakhtawnxxk tawntkephimetiminolktawntk odynayttitawnxxkthi milksnaodysphaphsmphsidkhxngsasna raebiybsngkhmaebbkhrxbkhrwaelapraephniimekhyaek trngkhamkb khwamepnehtuphl phlwtithangwtthuaelaethkhnikh aelapceckchnniym aebbtawntkekhasuelkechxrmhawithyaly 19 emuxerw ni mikarwangkaraebngwaxislamepn tawnxxk aelaxemrikaaelayuorp tawntk 20 21 nkwicarnhmayehtuwathwiwiphakhtawnxxk tawntkrahwangxislamkbsasnaxunmikhwamyungyakcakkaraephrkracaykhxnglththimulthanniymxislamaelakhwamhlakhlaythangwthnthrrminchatixislam odyekhluxnkarihehtuphl nxkehnuxcakthwiwiphakhtawnxxk tawntkaelaekhasusthankarnsamfay 22 karprayukt aekikhthwiwiphakhtawnxxk tawntkmiichinkarsuksahwkhxtang rwmthungkarcdkar esrsthsastraelaphasasastr karsrangsrrkhlakarcdkar kh s 2007 phicarnathwiwiphakhdngklawwaepnkhwamaetktanginkareriynruechingxngkhkarrahwangwthnthrmtawntkaelatawnxxk 23 mikarichxyangkwangkhwanginkarsarwcchwngkaretibotthangesrsthkicxyangrwderwthieriyk patiharyexechiytawnxxk inbangswnkhxngexechiytawnxxk odyechphaaxyangyingesuxexechiy hlng sngkhramolkkhrngthisxng 24 nksngkhmwithyabangkhnrbrukarkhyaytwthangesrsthkicwaepnsyyanwaphumiphakhnn klayepntawntk tamaenwkbolktawntkepnaebbcalxngkhwamthnsmythiwangody xaronld ec thxynbi aetkhnxunmxnghakhaxthibayinkhunlksnathangwthnthrrmhruxechuxchatiinolktawnxxk odyrbmonthsnxtlksnwthnthrrmtawnxxkthikhngthiinpraktkarnthixthibaywaepn khtiniymaebbtawnxxkihm New Orientalism aenwthangkarekhasuthwiwiphakhtawnxxk tawntkthngsxngaenwidrbkhawicarnwaimidnakhwamepnlukphsmthangprawtisastrkhxngphumiphakhdngklawmakhiddwy 25 monthsndngklawynghyibykkhunmaephuxihsmphnthkbkarphicarnakarsuxsarrahwangwthnthrrm mikarxthibayxyangkwangkhwangwachawexechiyrb rupaebbkhaphudxupny sungcaeliyngkarphudpraednhlktrng aetklawknwasngkhmtawntkich khaphudnirny sungphuphudsrangpraednkhxngphwktninthnthi 26 singnimikarykwamikhwamsakhysungkwainhmuchawexechiyinkhwamsmphnthaebbsmanchnth aetchawtawntkklawknwaihkhwamsakhykbkarsuxsarodytrng 27 hnngsux Intercultural Communication A Discourse Approach inpi 2001 xthibaythwiwiphakhtawnxxk tawntkthangphasasastrwaepn thwiwiphakhethc odysngektwaphuphudchawexechiyaelatawntkichkarsuxsarthngsxngaebb 28 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Empty citation help https www academia edu 616571 Metaphorical politics Is Russia western Francois Louis Ganshof 1944 Qu est ce que la feodalite Translated into English by Philip Grierson as Feudalism with a foreword by F M Stenton 1st ed New York and London 1952 2nd ed 1961 3d ed 1976 Andrew Jones The Rise and Fall of the Manorial System A Critical Comment The Journal of Economic History 32 4 December 1972 938 944 p 938 a comment on D North and R Thomas The rise and fall of the manorial system a theoretical model The Journal of Economic History 31 December 1971 777 803 William Stubbs The Constitutional History of England Oxford 1875 G McMullan and D Matthews Reading the medieval in early modern England Cambridge Cambridge University Press 2007 p 231 Empty citation help H Damico J B Zavadil D Fennema and K Lenz Medieval Scholarship Philosophy and the arts biographical studies on the formation of a discipline Taylor amp Francis 1995 p 80 Empty citation help Livery and Maintenance Encyclopedia of The Wars of the Roses ed John A Wagner ABC CLIO 2001 145 Feudalism by Elizabeth A R Brown Encyclopaedia Britannica Online Feudalism by Paul Halsall Internet Medieval Sourcebook The Problem of Feudalism An Historiographical Essay by Robert Harbison 1996 Western Kentucky University Empty citation help Empty citation help Empty citation help Empty citation help Empty citation help Empty citation help Mestrovic 63 See also Empty citation help Empty citation help Empty citation help Empty citation help Berger 275 Empty citation help Cheng 53 Empty citation help duephim aekikhBalancing the East Upgrading the West U S Grand Strategy in an Age of Upheaval by Zbigniew Brzezinski January February 2012 Foreign Affairsekhathungcak https th wikipedia org w index php title thwiwiphakhtawnxxk tawntk amp oldid 8399727, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม