fbpx
วิกิพีเดีย

เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย

เขตรับรู้หน้าในรอยนูนรูปกระสวย (อังกฤษ: fusiform face area, ตัวย่อ FFA) เป็นส่วนหนึ่งของระบบการมองเห็นในมนุษย์ ซึ่งอาจจะทำหน้าที่เฉพาะในการรู้จำใบหน้า (face recogition) แต่ยังมีหลักฐานอื่นที่แสดงว่า FFA ประมวลข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของอารมณ์ โดยเฉพาะอารมณ์ที่คุ้นเคย โดยตำแหน่ง FFA อยู่ในรอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus) ซึ่งโดยกายวิภาคเป็นส่วนเดียวกับเขตบร็อดแมนน์ 37

ตำแหน่งในสมอง

FFA อยู่ในทางสัญญาณด้านล่างบนผิวด้านล่างของสมองกลีบขมับ ข้างๆ รอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus) และอยู่ทางด้านข้างของเขตสถานที่ในรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส (parahippocampal place area) ถึง FFA จะเป็นเขตที่มีอยู่ทั้งสองซีกของสมอง แต่ FFA ของสมองซีกขวามักจะมีขนาดใหญ่กว่า

FFA ถูกค้นพบและวิจัยในมนุษย์โดยใช้โพซิตรอนอีมิสชันโทโมกราฟี และ fMRI โดยปกติ ผู้รับการทดลองดูภาพใบหน้า สิ่งของ สถานที่ กาย ใบหน้าบิดเบือน สิ่งของบิดเบือน สถานที่บิดเบือน และกายบิดเบือน ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในการหาหน้าที่เจาะจงของสมองส่วนต่างๆ การเปรียบเทียบการตอบสนองของเซลล์ประสาทระหว่างใบหน้าและใบหน้าบิดเบือน ย่อมแสดงเขตสมองที่ตอบสนองต่อลักษณะต่างๆของใบหน้า ส่วนการเปรียบเทียบการตอบสนองระหว่างใบหน้าและวัตถุ ย่อมแสดงเขตที่มีการเลือกตัวกระตุ้นโดยใบหน้า

บทบาทหน้าที่

FFA ในมนุษย์ถูกพรรณนาครั้งแรกโดยจัสติน เซอร์เจนต์ ในปี ค.ศ. 1992 และโดยแนนซี แคนวิชเชอร์ ในปี ค.ศ. 1997ผู้เสนอว่าการมี FFA เป็นหลักฐานที่แสดงถึงการทำหน้าที่เฉพาะของเขตสมองในระบบการมองเห็น งานวิจัยต่อจากนั้นเสนอว่า FFA ไม่ใช่มีหน้าที่เพียงแค่ประมวลผลเกี่ยวกับใบหน้าเท่านั้น คือ นักวิจัยบางกลุ่มรวมทั้งอิสะเบล กอเทียร์ และอื่นๆ ยืนยันว่า FFA เป็นเขตที่รู้จำความแตกต่างอันละเอียดต่างๆ ของวัตถุ กอเทียร์และคณะทำการทดลองกับทั้งผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรถยนต์และทั้งผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับนก และพบว่า FFA ทำงานเมื่อผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรถยนต์กำลังระบุรถ และเมื่อผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับนกกำลังระบุนก งานวิจัยอีกงานหนึ่งโดยคาลานิต กริว-สเปคเตอร์และคณะ เสนอว่าการประมวลผลใน FFA นั้นไม่ใช่เป็นไปในใบหน้าเท่านั้น แต่มีการแก้ส่วนผิดที่พิมพ์ต่อในภายหลังแสดงงานวิจัยนั้นว่า มีความผิดพลาดในบางส่วน การถกเถียงกันถึงเรื่องบทบาทหน้าที่ของ FFA ก็ยังเป็นไปอยู่ในปัจจุบัน

งานวิจัยโดยใช้ magnetoencephalography ในปี ค.ศ. 2009 แสดงว่าวัตถุคล้ายใบหน้าที่ถูกรับรู้ว่าเป็นใบหน้าโดยบังเอิญ (ซึ่งเป็นตัวอย่างของ pareidolia) ทำให้ FFA เกิดการทำงานอย่างรวดเร็วภายใน 165 มิลลิวินาที ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ใกล้เคียงและมีตำแหน่งการทำงานในสมองที่ใกล้เคียง กับการทำงานของ FFA ที่เกิดจากใบหน้า ซึ่งเกิดขึ้นภายใน 130 มิลลิวินาที และโดยเปรียบเทียบกับวัตถุสามัญอื่นๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดการทำงานเช่นนี้ ผู้วิจัยเสนอว่า การรับรู้ใบหน้าที่เกิดจากวัตถุคล้ายใบหน้านั้นเป็นการปฏิบัตการที่รวดเร็ว ไม่ใช่เป็นการรับรู้ที่เกิดจากการตีความหมายซึ่งเกิดขึ้นช้ากว่า

งานศึกษาเรื่องโรค สภาวะไม่รู้หน้า (prosopagnosia) งานหนึ่งแสดงหลักฐานว่า ใบหน้าถูกประมวลผลโดยวิธีที่พิเศษ เป็นการศึกษากรณีของคนไข้ที่รู้จักโดยชื่อย่อว่า ซีเค ผู้มีสมองเสียหายเพราะอุบัติเหตุรถยนต์ และภายหลังเกิดมีภาวะเสียการระลึกรู้วัตถุ (object agnosia) ซีเคมีความลำบากในการรู้จำวัตถุ (object recognition) ในระดับขั้นพื้นฐาน รวมทั้งอวัยวะต่างๆ ของตน แต่สามารถรู้จำใบหน้าได้เป็นอย่างดี งานศึกษาหลังจากนั้นแสดงว่า ซีเคไม่สามารถรู้จำใบหน้าที่ถูกกลับหัวลงล่าง หรือว่ารูปใบหน้าที่ถูกบิดเบือนไป แม้ในกรณีที่คนปกติทั่วไปสามารถที่จะรู้จำใบหน้าเหล่านั้นได้ งานศึกษานี้ถูกถือเอาเป็นหลักฐานว่า FFA มีหน้าที่เฉพาะในการประมวลผลเกี่ยวกับใบหน้าที่อยู่ในแนวปกติ

โดยมีวิวัฒนาการที่กล่าวไปแล้วเป็นพื้นฐาน บริษัทไอบีเอ็มได้สมัครใบสิทธิบัตร สำหรับระบบการสกัดเอามโนภาพของหน้ามนุษย์จากสมองมนุษย์ ระบบที่ได้รับการสมัครใช้วงจรป้อนกลับ (feedback loop) ที่อาศัยการวัดค่าการทำงานของรอยนูนรูปกระสวยในสมองโดยตั้งสมมุติฐานว่า การทำงานในรอยนูนรูปกระสวยนั้น เป็นไปสมส่วนกับความคุ้นเคยกับใบหน้า

ดูเพิ่ม

อ้างอิงและหมายเหตุ

  1. Sergent J, Ohta S, MacDonald B (February 1992). "Functional neuroanatomy of face and object processing. A positron emission tomography study". Brain. 115 (1): 15–36. doi:10.1093/brain/115.1.15. PMID 1559150. |access-date= requires |url= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  2. Kanwisher N, McDermott J, Chun MM (1 June 1997). "The fusiform face area: a module in human extrastriate cortex specialized for face perception". J Neurosci. 17 (11): 4302–11. PMID 9151747. |access-date= requires |url= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  3. Gauthier I, Skudlarski P, Gore JC, Anderson AW (February 2000). "Expertise for cars and birds recruits brain areas involved in face recognition". Nat Neurosci. 3 (2): 191–7. doi:10.1038/72140. PMID 10649576. |access-date= requires |url= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  4. Grill-Spector K, Sayres R, Ress D (September 2006). "High-resolution imaging reveals highly selective nonface clusters in the fusiform face area". Nat Neurosci. 9 (9): 1177–85. doi:10.1038/nn1745. PMID 16892057. |access-date= requires |url= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  5. magnetoencephalography เป็นเทคนิคการทำแผนภาพของการทำงานในสมอง โดยใช้แมกเนโตมิเตอร์ที่มีความละเอียดอ่อนสูง บันทึกสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจากกระแสไฟฟ้าที่เป็นไปโดยธรรมชาติในสมอง
  6. pareidolia เป็นปรากฏการณ์ทางจิตที่เกี่ยวข้องกับตัวกระตุ้นที่ไม่ชัดเจนหรือไม่มีความหมาย (มักจะเป็นรูปภาพหรือเสียง) ที่ถูกรับรู้โดยเป็นสำคัญ ตัวอย่างทั่วๆไปก็คือการเห็นรูปสัตว์หรือรูปใบหน้าในก้อนเมฆ เห็นรูปผู้ชายในดวงจันทร์ เห็นรูปกระต่ายในดวงจันทร์ หรือได้ยินข้อความลับเมื่อเสียงอัดถูกเล่นถอยหลัง
  7. เพราะว่าการจะตีความหมายต้องอาศัยการใส่ใจ ต้องอาศัยวงจรประสาทที่มีการส่งสัญญาณป้อนกลับ จึงต้องใช้เวลามากกว่า 130-165 มิลลิวินาทีอย่างนี้
  8. Hadjikhani N, Kveraga K, Naik P, Ahlfors SP (2009). "Early (M170) activation of face-specific cortex by face-like objects". Neuroreport. 20 (4): 403–7. doi:10.1097/WNR.0b013e328325a8e1. PMC 2713437. PMID 19218867. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. prosopagnosia มาจากคำกรีกแปลว่า ไม่รู้ใบหน้า เป็นโรคมีอีกชื่อหนึ่งว่า สภาวะบอดใบหน้า (face blindness) เป็นโรคที่การรู้จำใบหน้าเสียหายไป ในขณะที่การประมวลผลทางตาแบบอื่นๆ เช่นการรู้ความแตกต่างระหว่างวัตถุ และการใช้สติปัญญาเช่นการตัดสินใจ ไม่เป็นอะไร เป็นโรคที่เกิดขึ้นเพราะความเสียหายในสมอง เพราะเป็นมาแต่เกิด หรือเพราะเกิดขึ้นในช่วงพัฒนาการ
  10. Behrmann M, Moscovitch M, Winocur G (1994). "Intact visual imagery and impaired visual perception in a patient with visual agnosia". J Exp Psychol Hum Percept Perform. 20 (5): 1068–87. doi:10.1037/0096-1523.20.5.1068. PMID 7964528. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  11. Moscovitch M, Winocur G, Behrmann M (1997). "What is special about face recognition? Nineteen experiments on a person with visual object agnosia and dyslexia but normal face recognition". J Cogn Neurosci. 9 (5): 555–604. doi:10.1162/jocn.1997.9.5.555.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  12. IBM Patent Application: Retrieving mental images of faces from the human brain

แหล่งข้อมูลอื่น

  • McKone et al., Trends in Cognitive Science, 2007
  • Carlson, Neil R., Physiology of Behavior, 9th ed., 2007. ISBN 0-205-46724-5
  • Bukach, C. M., I. Gauthier, and M. Tarr. 2006. Beyond faces and modularity: The power of an expertise framework. TRENDS in Cognitive Sciences 10:159-166.

เขตร, บร, หน, าในรอยน, นร, ปกระสวย, งกฤษ, fusiform, face, area, วย, เป, นส, วนหน, งของระบบการมองเห, นในมน, ษย, งอาจจะทำหน, าท, เฉพาะในการร, จำใบหน, face, recogition, แต, งม, หล, กฐานอ, นท, แสดงว, ประมวลข, อม, ลเก, ยวก, บประเภทของอารมณ, โดยเฉพาะอารมณ, นเคย, โดย. ekhtrbruhnainrxynunrupkraswy xngkvs fusiform face area twyx FFA epnswnhnungkhxngrabbkarmxngehninmnusy sungxaccathahnathiechphaainkarrucaibhna face recogition aetyngmihlkthanxunthiaesdngwa FFA pramwlkhxmulekiywkbpraephthkhxngxarmn odyechphaaxarmnthikhunekhy odytaaehnng FFA xyuinrxynunrupkraswy fusiform gyrus sungodykaywiphakhepnswnediywkbekhtbrxdaemnn 37 enuxha 1 taaehnnginsmxng 2 bthbathhnathi 3 duephim 4 xangxingaelahmayehtu 5 aehlngkhxmulxuntaaehnnginsmxng aekikhFFA xyuinthangsyyandanlangbnphiwdanlangkhxngsmxngklibkhmb khang rxynunrupkraswy fusiform gyrus aelaxyuthangdankhangkhxngekhtsthanthiinrxynunrxbhipopaekhmps parahippocampal place area thung FFA caepnekhtthimixyuthngsxngsikkhxngsmxng aet FFA khxngsmxngsikkhwamkcamikhnadihykwaFFA thukkhnphbaelawicyinmnusyodyichophsitrxnximischnothomkrafi aela fMRI odypkti phurbkarthdlxngduphaphibhna singkhxng sthanthi kay ibhnabidebuxn singkhxngbidebuxn sthanthibidebuxn aelakaybidebuxn sungepnwithihnunginkarhahnathiecaacngkhxngsmxngswntang karepriybethiybkartxbsnxngkhxngesllprasathrahwangibhnaaelaibhnabidebuxn yxmaesdngekhtsmxngthitxbsnxngtxlksnatangkhxngibhna swnkarepriybethiybkartxbsnxngrahwangibhnaaelawtthu yxmaesdngekhtthimikareluxktwkratunodyibhnabthbathhnathi aekikhFFA inmnusythukphrrnnakhrngaerkodycstin esxrecnt inpi kh s 1992 1 aelaodyaennsi aekhnwichechxr inpi kh s 1997 2 phuesnxwakarmi FFA epnhlkthanthiaesdngthungkarthahnathiechphaakhxngekhtsmxnginrabbkarmxngehn nganwicytxcaknnesnxwa FFA imichmihnathiephiyngaekhpramwlphlekiywkbibhnaethann khux nkwicybangklumrwmthngxisaebl kxethiyr aelaxun yunynwa FFA epnekhtthirucakhwamaetktangxnlaexiydtang khxngwtthu kxethiyraelakhnathakarthdlxngkbthngphuechiywchayekiywkbrthyntaelathngphuechiywchayekiywkbnk aelaphbwa FFA thanganemuxphuechiywchayekiywkbrthyntkalngraburth aelaemuxphuechiywchayekiywkbnkkalngrabunk 3 nganwicyxiknganhnungodykhalanit kriw sepkhetxraelakhna esnxwakarpramwlphlin FFA nnimichepnipinibhnaethann aetmikaraekswnphidthiphimphtxinphayhlngaesdngnganwicynnwa mikhwamphidphladinbangswn 4 karthkethiyngknthungeruxngbthbathhnathikhxng FFA kyngepnipxyuinpccubnnganwicyodyich magnetoencephalography 5 inpi kh s 2009 aesdngwawtthukhlayibhnathithukrbruwaepnibhnaodybngexiy sungepntwxyangkhxng pareidolia 6 thaih FFA ekidkarthanganxyangrwderwphayin 165 milliwinathi sungepnchwngewlathiiklekhiyngaelamitaaehnngkarthanganinsmxngthiiklekhiyng kbkarthangankhxng FFA thiekidcakibhna sungekidkhunphayin 130 milliwinathi aelaodyepriybethiybkbwtthusamyxun thiimkxihekidkarthanganechnni phuwicyesnxwa karrbruibhnathiekidcakwtthukhlayibhnannepnkarptibtkarthirwderw imichepnkarrbruthiekidcakkartikhwamhmaysungekidkhunchakwa 7 8 ngansuksaeruxngorkh sphawaimruhna prosopagnosia 9 nganhnungaesdnghlkthanwa ibhnathukpramwlphlodywithithiphiess epnkarsuksakrnikhxngkhnikhthiruckodychuxyxwa siekh phumismxngesiyhayephraaxubtiehturthynt aelaphayhlngekidmiphawaesiykarralukruwtthu object agnosia siekhmikhwamlabakinkarrucawtthu object recognition inradbkhnphunthan rwmthngxwywatang khxngtn aetsamarthrucaibhnaidepnxyangdi 10 ngansuksahlngcaknnaesdngwa siekhimsamarthrucaibhnathithukklbhwlnglang hruxwarupibhnathithukbidebuxnip aeminkrnithikhnpktithwipsamarththicarucaibhnaehlannid 11 ngansuksanithukthuxexaepnhlkthanwa FFA mihnathiechphaainkarpramwlphlekiywkbibhnathixyuinaenwpktiodymiwiwthnakarthiklawipaelwepnphunthan bristhixbiexmidsmkhribsiththibtr sahrbrabbkarskdexamonphaphkhxnghnamnusycaksmxngmnusy rabbthiidrbkarsmkhrichwngcrpxnklb feedback loop thixasykarwdkhakarthangankhxngrxynunrupkraswyinsmxngodytngsmmutithanwa karthanganinrxynunrupkraswynn epnipsmswnkbkhwamkhunekhykbibhna 12 duephim aekikhprasathsmphnthkhxngkarrbruxarmn smmutithanthangsyyansxngthang rxynunrupkraswyxangxingaelahmayehtu aekikh Sergent J Ohta S MacDonald B February 1992 Functional neuroanatomy of face and object processing A positron emission tomography study Brain 115 1 15 36 doi 10 1093 brain 115 1 15 PMID 1559150 access date requires url help CS1 maint multiple names authors list link Kanwisher N McDermott J Chun MM 1 June 1997 The fusiform face area a module in human extrastriate cortex specialized for face perception J Neurosci 17 11 4302 11 PMID 9151747 access date requires url help CS1 maint multiple names authors list link Gauthier I Skudlarski P Gore JC Anderson AW February 2000 Expertise for cars and birds recruits brain areas involved in face recognition Nat Neurosci 3 2 191 7 doi 10 1038 72140 PMID 10649576 access date requires url help CS1 maint multiple names authors list link Grill Spector K Sayres R Ress D September 2006 High resolution imaging reveals highly selective nonface clusters in the fusiform face area Nat Neurosci 9 9 1177 85 doi 10 1038 nn1745 PMID 16892057 access date requires url help CS1 maint multiple names authors list link magnetoencephalography epnethkhnikhkarthaaephnphaphkhxngkarthanganinsmxng odyichaemkenotmietxrthimikhwamlaexiydxxnsung bnthuksnamaemehlkthiekidkhuncakkraaesiffathiepnipodythrrmchatiinsmxng pareidolia epnpraktkarnthangcitthiekiywkhxngkbtwkratunthiimchdecnhruximmikhwamhmay mkcaepnrupphaphhruxesiyng thithukrbruodyepnsakhy twxyangthwipkkhuxkarehnrupstwhruxrupibhnainkxnemkh ehnrupphuchayindwngcnthr ehnrupkratayindwngcnthr hruxidyinkhxkhwamlbemuxesiyngxdthukelnthxyhlng ephraawakarcatikhwamhmaytxngxasykarisic txngxasywngcrprasaththimikarsngsyyanpxnklb cungtxngichewlamakkwa 130 165 milliwinathixyangni Hadjikhani N Kveraga K Naik P Ahlfors SP 2009 Early M170 activation of face specific cortex by face like objects Neuroreport 20 4 403 7 doi 10 1097 WNR 0b013e328325a8e1 PMC 2713437 PMID 19218867 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link prosopagnosia macakkhakrikaeplwa imruibhna epnorkhmixikchuxhnungwa sphawabxdibhna face blindness epnorkhthikarrucaibhnaesiyhayip inkhnathikarpramwlphlthangtaaebbxun echnkarrukhwamaetktangrahwangwtthu aelakarichstipyyaechnkartdsinic imepnxair epnorkhthiekidkhunephraakhwamesiyhayinsmxng ephraaepnmaaetekid hruxephraaekidkhuninchwngphthnakar Behrmann M Moscovitch M Winocur G 1994 Intact visual imagery and impaired visual perception in a patient with visual agnosia J Exp Psychol Hum Percept Perform 20 5 1068 87 doi 10 1037 0096 1523 20 5 1068 PMID 7964528 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link Moscovitch M Winocur G Behrmann M 1997 What is special about face recognition Nineteen experiments on a person with visual object agnosia and dyslexia but normal face recognition J Cogn Neurosci 9 5 555 604 doi 10 1162 jocn 1997 9 5 555 CS1 maint multiple names authors list link IBM Patent Application Retrieving mental images of faces from the human brainaehlngkhxmulxun aekikhMcKone et al Trends in Cognitive Science 2007 Carlson Neil R Physiology of Behavior 9th ed 2007 ISBN 0 205 46724 5 Bukach C M I Gauthier and M Tarr 2006 Beyond faces and modularity The power of an expertise framework TRENDS in Cognitive Sciences 10 159 166 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhtrbruhnainrxynunrupkraswy amp oldid 8411057, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม