fbpx
วิกิพีเดีย

บริเวณบรอดมันน์

เขตบร็อดแมนน์ (อังกฤษ: Brodmann area) เป็นการกำหนดเขตต่าง ๆ ในเปลือกสมองของมนุษย์ มีการจำกัดขอบเขตโดยโครงสร้างและการจัดระเบียบของเซลล์ (cytoarchitectonics)

เขตบร็อดแมนน์ 3-มิติ
ผิวด้านข้างของสมอง เขตบร็อดแมนน์ต่าง ๆ มีตัวเลขกำกับ

ประวัติ

เขตบร็อดแมนน์ต่าง ๆ ดั้งเดิมได้รับการกำหนดขอบเขตและกำหนดตัวเลข โดยนักกายวิภาคชาวเยอรมันชื่อว่า คอร์บิเนียน บร็อดแมนน์ (Korbinian Brodmann) ผู้กำหนดเขตเหล่านั้นโดยโครงสร้างและการจัดระเบียบของเซลล์ (cytoarchitectonics) ที่สังเกตเห็นได้ในเปลือกสมอง โดยใช้การย้อมสีแบบ Nissl

บร็อดแมนน์ตีพิมพ์แผนที่เขตเปลือกสมองของมนุษย์ ลิง และสปีชีส์อื่น ๆ ในปี ค.ศ. 1909 พร้อมกับข้อมูลและข้อสังเกตอื่น ๆ เกี่ยวกับประเภทของเซลล์ในสมอง และการจัดระเบียบเป็นชั้น ๆ ของคอร์เทกซ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (ให้สังเกตว่า เขตบร็อดแมนน์ที่มีหมายเลขเดียวกันในสปีชีส์ต่าง ๆ กัน อาจจะไม่ได้หมายถึงเขตที่มีกำเนิดเดียวกัน)

คอนสแตนติน วอน อีโคโนโม และจอร์จ คอสกินาส ได้ตีพิมพ์แผนที่ที่คล้าย ๆ กันแต่มีรายละเอียดมากกว่า ในปี ค.ศ. 1925

ความสำคัญในปัจจุบัน

เป็นระยะเวลาเป็นศตวรรษที่มีการสนทนาและอภิปรายถึงเขตบร็อดแมนน์อย่างละเอียดถี่ถ้วน และการกำหนดเขตและชื่อก็ได้รับการปรับปรุงมาโดยตลอด เขตบร็อดแมนน์ยังเป็นการจัดระบบโดย cytoarchitectonics ของเปลือกสมองมนุษย์ ที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางและอ้างอิงถึงมากที่สุด

จนกระทั่งถึงปัจจุบัน เขตบร็อดแมนน์ต่าง ๆ ที่กำหนดขอบเขตโดยระเบียบของเซลล์ประสาทเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ปรากฏว่าทำกิจหน้าที่ต่าง ๆ มากมายของสมอง ยกตัวอย่างเช่น เขตบร็อดแมนน์ 1-2-3 ก็คือ คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิ (primary somatosensory cortex) เขต 4 ก็คือ คอร์เทกซ์สั่งการปฐมภูมิ (primary motor cortex) เขต 17 ก็คือ คอร์เทกซ์การเห็นปฐมภูมิ (primary visual cortex) และเขต 41-42 ก็เกือบจะเหมือนคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิ (primary auditory cortex)

นอกจากนั้นแล้ว กิจหน้าที่ระดับสูง ๆ ยิ่งขึ้นไปของเขตสัมพันธ์ในเปลือกสมอง ก็ยังปรากฏว่ามีเขตจำกัดอยู่ในเขตที่บร็อดแมนน์กำหนดไว้นั้นแหละ ปรากฏโดยใช้วิธีต่าง ๆ รวมทั้ง เทคนิคทางประสาทสรีรวิทยา fMRI และวิธีอื่น ๆ. ตัวอย่างเช่น เขตโบรคา ซึ่งเป็นเขตทางการพูดและภาษา ก็จำกัดอยู่ในเขตบร็อดแมนน์ 44-45 ถึงแม้กระนั้น การสร้างภาพโดยกิจ (functional imaging) ก็สามารถเพียงแค่บ่งชี้ตำแหน่งอย่างคร่าว ๆ ของการทำงานในสมองโดยสัมพันธ์กับเขตบร็อดแมนน์ได้เท่านั้น เพราะว่า ขอบเขตจริง ๆ ของเขตสมองต่าง ๆ ต้องอาศัยการตรวจสอบโดยอ้างอิงวิทยาเนื้อเยื่อ

เขตบร็อดแมนน์ในมนุษย์และในไพรเมตอื่น

(*) เขตที่เจอในไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์เท่านั้น

เขตบร็อดแมนน์ดั้งเดิมมีส่วนย่อยลงไปอีกเป็นต้นว่า "23a" และ "23b"

แผนที่คลิ๊กได้: ผิวสมองด้านข้าง

เขต 3-1-2 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายขันปฐมเขต 4 - คอร์เทกซ์สั่งการหลักเขต 5 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายสัมพันธ์เขต 6 - Premotor cortex และ Supplementary Motor Cortex (Secondary Motor Cortex) (Supplementary motor area)เขต 7 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายสัมพันธ์เขต 8 - รวม Frontal eye fieldsเขต 9 - Dorsolateral prefrontal cortexเขต 10 - Anterior prefrontal cortexเขต 11 - Orbitofrontal areaเขต 17 - คอร์เทกซ์สายตาปฐมภูมิเขต 18 - เขตสายตา V2เขต 19 - คอร์เทกซ์สายตาสัมพันธ์ (V3 V4 V5)เขต 20 - Inferior temporal gyrusเขต 21 - Middle temporal gyrusเขต 22 - Superior temporal gyrusเขต 37 - รอยนูนรูปกระสวยเขต 38 - Temporopolar areaเขต 39 - Angular gyrusเขต 40 - Supramarginal gyrusเขต 41-42 - คอร์เทกซ์การได้ยินเขต 41-42 - คอร์เทกซ์การได้ยินเขต 43 - Primary gustatory cortexเขต 44 - pars opercularis เป็นส่วนของ Broca's areaเขต 45 - pars triangularis เป็นส่วนของ Broca's areaเขต 46 - Dorsolateral prefrontal cortexเขต 47 - Inferior prefontal gyrusImage Map 

แผนที่คลิ๊กได้: ผิวสมองส่วนใน (medial)

เขต 3-1-2 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายปฐมภูมิเขต 4 - primary motor cortexเขต 5 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายสัมพันธ์เขต 6 - Premotor cortex และ Supplementary Motor Cortex (Secondary Motor Cortex) (Supplementary motor area)เขต 7 - คอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกายสัมพันธ์เขต 8 - รวม Frontal eye fieldsเขต 9 - Dorsolateral prefrontal cortexเขต 10 - Anterior prefrontal cortexเขต 11 - Orbitofrontal areaเขต 12 - Orbitofrontal areaเขต 17 - เขตสายตา V1 (คอร์เทกซ์สายตาขั้น)ปฐม)เขต 18 - เขตสายตา V2เขต 19 - เขตสายตาสัมพันธ์ (V3)เขต 19 - เขตสายตาสัมพันธ์ (V3)เขต 18 - เขตสายตา V2เขต 23 - Ventral Posterior cingulate cortexเขต 24 - Ventral Anterior cingulate cortexเขต 25 - Subgenual cortex (เป็นส่วนของ Ventromedial prefontal cortex)เขต 26 - Ectosplenial portion of the retrosplenial region of the cerebral cortexเขต 27 - คอร์เทกซ์รูปชมพู่ (Piriform cortex)เขต 28 - Posterior Entorhinal Cortexเขต 29 - Retrosplenial cingulate cortexเขต 30 - ส่วนของ cingulate cortexเขต 31 - Dorsal Posterior cingulate cortexเขต 32 - Dorsal anterior cingulate cortexเขต 33 - Part of anterior cingulate cortexเขต 34 - Anterior Entorhinal Cortex (บนรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส)เขต 35 - Perirhinal cortex (บนรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัส)เขต 20 - Inferior temporal gyrusเขต 37 - Fusiform gyrusเขต 3-1-2 - คอรเทกซ์ความรู้สึกทางกายปฐมภูมิเขต 38 - Temporopolar areaImage Map 

ข้อวิจาร

เมื่อวอน โบนิน และเบล์ลี ทำแผนที่สมองในลิงแม็กแคก จึงพบว่าการพรรณนาของบร็อดแมนน์นั้นไม่สมบูรณ์พอ จึงได้บันทึกไว้ว่า

"ในปี ค.ศ. 1907 เป็นความจริงที่บร็อดแมนน์ได้สร้างแผนที่ของสมองมนุษย์ที่ได้เผยแพร่ไปอย่างกว้างขวาง แต่โชคไม่ดีว่า ข้อมูลที่แผนที่นั้นอิงอาศัย ไม่เคยได้รับการเผยแพร่"

และจึงได้ใช้แผนที่ cytoarchitectonics ของ คอนสแตนติน วอน อีโคโนโม และจอร์จ คอสกินาส ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1925 ซึ่งมี

"การพรรณนาที่ละเอียดของคอร์เทกซ์ในมนุษย์ ในระดับที่ใช้ได้เพียงเท่านั้น"

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Brodmann K. Vergleichende Lokalisationslehre der Grosshirnrinde. Leipzig : Johann Ambrosius Barth, 1909
  2. Garey LJ. Brodmann's Localisation in the Cerebral Cortex. New York : Springer, 2006 (ISBN 0-387-26917-7) (ISBN 978-0387-26917-7)
  3. Economo, C., Koskinas, G.N. (1925). Die Cytoarchitektonik der Hirnrinde des erwachsenen Menschen. Wien: Springer Verlag.
  4. http://ukpmc.ac.uk/articles/PMC2268639;jsessionid=BBF4DB8DAFCFCB452BEA9AB7368AB5C6.jvm4
  5. Brent A. Vogt, Deepak N. Pandya, Douglas L. Rosene (1987). "Cingulate cortex of the rhesus monkey: I. Cytoarchitecture and thalamic afferents". The Journal of Comparative Neurology. 262 (2): 256–270. doi:10.1002/cne.902620207. PMID 3624554. Unknown parameter |month= ignored (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  6. Gerhardt von Bonin & Percival Bailey (1925). The Neocortex of Macaca Mulatta. Urbana, Illinois: The University of Illinois Press.
  7. Constantin von Economo & Georg N. Koskinas (1925). Die Cytoarchitektonik der Hirnrinde des erwachsenen Menschen. Vienna and Berlin: Julius Springer.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • brodmann x func — Functional categorization of Brodmann areas.
  • Brodmann, Mark Dubin pages on Brodmann areas.
  • Brodmann areas Brodmann areas of cortex involved in language.
  • Illustrations More Illustrations.

บร, เวณบรอดม, นน, เขตบร, อดแมนน, งกฤษ, brodmann, area, เป, นการกำหนดเขตต, าง, ในเปล, อกสมองของมน, ษย, การจำก, ดขอบเขตโดยโครงสร, างและการจ, ดระเบ, ยบของเซลล, cytoarchitectonics, เขตบร, อดแมนน, วด, านข, างของสมอง, เขตบร, อดแมนน, าง, วเลขกำก, เน, อหา, ประว, ความส. ekhtbrxdaemnn xngkvs Brodmann area epnkarkahndekhttang inepluxksmxngkhxngmnusy mikarcakdkhxbekhtodyokhrngsrangaelakarcdraebiybkhxngesll cytoarchitectonics ekhtbrxdaemnn 3 miti phiwdankhangkhxngsmxng ekhtbrxdaemnntang mitwelkhkakb enuxha 1 prawti 2 khwamsakhyinpccubn 3 ekhtbrxdaemnninmnusyaelainiphremtxun 3 1 aephnthikhlikid phiwsmxngdankhang 3 2 aephnthikhlikid phiwsmxngswnin medial 4 khxwicar 5 duephim 6 echingxrrthaelaxangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikhekhtbrxdaemnntang dngedimidrbkarkahndkhxbekhtaelakahndtwelkh odynkkaywiphakhchaweyxrmnchuxwa khxrbieniyn brxdaemnn Korbinian Brodmann phukahndekhtehlannodyokhrngsrangaelakarcdraebiybkhxngesll cytoarchitectonics thisngektehnidinepluxksmxng odyichkaryxmsiaebb Nisslbrxdaemnntiphimphaephnthiekhtepluxksmxngkhxngmnusy ling aelaspichisxun inpi kh s 1909 1 phrxmkbkhxmulaelakhxsngektxun ekiywkbpraephthkhxngesllinsmxng aelakarcdraebiybepnchn khxngkhxrethkskhxngstweliynglukdwynm ihsngektwa ekhtbrxdaemnnthimihmayelkhediywkninspichistang kn xaccaimidhmaythungekhtthimikaenidediywkn 2 khxnsaetntin wxn xiokhonom aelacxrc khxskinas idtiphimphaephnthithikhlay knaetmiraylaexiydmakkwa inpi kh s 1925 3 khwamsakhyinpccubn aekikhepnrayaewlaepnstwrrsthimikarsnthnaaelaxphipraythungekhtbrxdaemnnxyanglaexiydthithwn aelakarkahndekhtaelachuxkidrbkarprbprungmaodytlxd ekhtbrxdaemnnyngepnkarcdrabbody cytoarchitectonics khxngepluxksmxngmnusy thiruckknxyangkwangkhwangaelaxangxingthungmakthisudcnkrathngthungpccubn ekhtbrxdaemnntang thikahndkhxbekhtodyraebiybkhxngesllprasathephiyngxyangediywethann praktwathakichnathitang makmaykhxngsmxng yktwxyangechn ekhtbrxdaemnn 1 2 3 kkhux khxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi primary somatosensory cortex ekht 4 kkhux khxrethkssngkarpthmphumi primary motor cortex ekht 17 kkhux khxrethkskarehnpthmphumi primary visual cortex aelaekht 41 42 kekuxbcaehmuxnkhxrethkskaridyinpthmphumi primary auditory cortex nxkcaknnaelw kichnathiradbsung yingkhunipkhxngekhtsmphnthinepluxksmxng kyngpraktwamiekhtcakdxyuinekhtthibrxdaemnnkahndiwnnaehla praktodyichwithitang rwmthng ethkhnikhthangprasathsrirwithya fMRI aelawithixun twxyangechn ekhtobrkha sungepnekhtthangkarphudaelaphasa kcakdxyuinekhtbrxdaemnn 44 45 thungaemkrann karsrangphaphodykic functional imaging ksamarthephiyngaekhbngchitaaehnngxyangkhraw khxngkarthanganinsmxngodysmphnthkbekhtbrxdaemnnidethann ephraawa khxbekhtcring khxngekhtsmxngtang txngxasykartrwcsxbodyxangxingwithyaenuxeyuxekhtbrxdaemnninmnusyaelainiphremtxun aekikhekht 3 1 2 khux khxrethksrbkhwamrusukthangkaypthmphumi primary somatosensory cortex mkcaxangxingepnekht 3 1 2 odyniym ekht 4 khxrethkssngkarpthmphumi primary motor cortex ekht 5 khxrethksrbkhwamrusukthangkaysmphnth somatosensory association cortex ekht 6 Premotor cortex aela Supplementary Motor Cortex hrux Secondary Motor Cortex ekht 7 khxrethksrbkhwamrusukthangkaysmphnth somatosensory association cortex ekht 8 rwmthng Frontal eye fields ekht 9 Dorsolateral prefrontal cortex ekht 10 Anterior prefrontal cortex swnhnasudkhxng superior frontal gyrus aela middle frontal gyrus ekht 11 swnhnungkhxng Orbitofrontal cortex khux orbital gyrus rectus gyrus aelaswnhnungkhxngdanhnasudkhxng superior frontal gyrus ekht 12 swnhnungkhxng Orbitofrontal cortex khuxkalkhrnghnungepnswnkhxng ekht 11 epnekhtinrahwang superior frontal gyrus aela inferior rostral sulcus ekht 13 aela ekht 14 Insular cortex ekht 15 Anterior Temporal Lobe ekht 17 ekhtsayta V1 khxrethkssaytapthmphumi ekht 18 ekhtsayta V2 ekht 19 khxrethkssaytasmphnth V3 V4 aela V5 ekht 20 rxynunsmxngklibkhmblang Inferior temporal gyrus ekht 21 rxynunsmxngklibkhmbklang Middle temporal gyrus ekht 22 rxynunsmxngklibkhmbbn Superior temporal gyrus sungdanhangidrbkarphicarnawamiekhtewxrniek Wernicke s area ekht 23 Ventral posterior cingulate cortex ekht 24 Ventral anterior cingulate cortex ekht 25 Subgenual area epnswnkhxng Ventromedial prefrontal cortex 4 ekht 26 epnswnhnungkhxng retrosplenial region ekht 27 Piriform cortex ekht 28 Ventral entorhinal cortex ekht 29 Retrosplenial cingulate cortex ekht 30 swnhnungkhxng cingulate cortex ekht 31 Dorsal Posterior cingulate cortex ekht 32 Dorsal anterior cingulate cortex ekht 33 swnhnungkhxng anterior cingulate cortex ekht 34 Dorsal entorhinal cortex bnrxynunrxbhipopaekhmps Parahippocampal gyrus ekht 35 Perirhinal cortex in rhinal sulcus ekht 36 swnkhxng perirhinal cortex in rhinal sulcus ekht 37 rxynunrupkraswy Fusiform gyrus ekht 38 swnhnungkhxngsmxngklibkhmb xyuthangdanhnasungeriykwa temporal pole ekht 39 Angular gyrus bangkhnphicarnawaepnswnkhxng ekhtewxrniek ekht 40 Supramarginal gyrus bangkhnphicarnawaepnswnkhxng ekhtewxrniek ekht 41 42 khxrethkskaridyin Auditory cortex ekht 43 Primary gustatory cortex ekht 44 Pars opercularis epnswnkhxng Broca s area ekht 45 Pars triangularis epnswnkhxng Broca s area ekht 46 Dorsolateral prefrontal cortex ekht 47 epnswnkhxng inferior frontal gyrus ekht 48 swnelk swnhnungkhxngphiwin medial khxngsmxngklibkhmb ekht 49 Parasubiculum khxng stwfnaetha ekht 52 xyuthirxyechuxmkhxngsmxngklibkhmb aela Insular cortex ekhtthiecxiniphremtthiimichmnusyethannekhtbrxdaemnndngedimmiswnyxylngipxikepntnwa 23a aela 23b 5 aephnthikhlikid phiwsmxngdankhang aekikh aephnthikhlikid phiwsmxngswnin medial aekikh khxwicar aekikhemuxwxn obnin aelaeblli thaaephnthismxnginlingaemkaekhk cungphbwakarphrrnnakhxngbrxdaemnnnnimsmburnphx cungidbnthukiwwa inpi kh s 1907 epnkhwamcringthibrxdaemnnidsrangaephnthikhxngsmxngmnusythiidephyaephripxyangkwangkhwang aetochkhimdiwa khxmulthiaephnthinnxingxasy imekhyidrbkarephyaephr 6 aelacungidichaephnthi cytoarchitectonics khxng khxnsaetntin wxn xiokhonom aelacxrc khxskinas thiphimphinpi kh s 1925 7 sungmi karphrrnnathilaexiydkhxngkhxrethksinmnusy inradbthiichidephiyngethann duephim aekikhsmxng epluxksmxngechingxrrthaelaxangxing aekikhbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk November 2007 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir Brodmann K Vergleichende Lokalisationslehre der Grosshirnrinde Leipzig Johann Ambrosius Barth 1909 Garey LJ Brodmann s Localisation in the Cerebral Cortex New York Springer 2006 ISBN 0 387 26917 7 ISBN 978 0387 26917 7 Economo C Koskinas G N 1925 Die Cytoarchitektonik der Hirnrinde des erwachsenen Menschen Wien Springer Verlag http ukpmc ac uk articles PMC2268639 jsessionid BBF4DB8DAFCFCB452BEA9AB7368AB5C6 jvm4 Brent A Vogt Deepak N Pandya Douglas L Rosene 1987 Cingulate cortex of the rhesus monkey I Cytoarchitecture and thalamic afferents The Journal of Comparative Neurology 262 2 256 270 doi 10 1002 cne 902620207 PMID 3624554 Unknown parameter month ignored help CS1 maint multiple names authors list link Gerhardt von Bonin amp Percival Bailey 1925 The Neocortex of Macaca Mulatta Urbana Illinois The University of Illinois Press Constantin von Economo amp Georg N Koskinas 1925 Die Cytoarchitektonik der Hirnrinde des erwachsenen Menschen Vienna and Berlin Julius Springer aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb briewnbrxdmnnbrodmann x func Functional categorization of Brodmann areas Brodmann Mark Dubin pages on Brodmann areas Brodmann areas Brodmann areas of cortex involved in language Illustrations More Illustrations ekhathungcak https th wikipedia org w index php title briewnbrxdmnn amp oldid 8322095, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม