fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก

ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก เรียกย่อว่า จีพีเอส (อังกฤษ: Global Positioning System : GPS) หรือรู้จักในชื่อ นาฟสตาร์ (Navstar) คือระบบดาวเทียมนำร่องโลก (Global Navigation Satellite System : GNSS) เพื่อระบุข้อมูลของตำแหน่งและเวลาโดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากตำแหน่งของดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่รอบโลกทำให้สามารถระบุตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลกและในทุกสภาพอากาศ รวมถึงสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางเพื่อนำมาใช้ร่วมกับแผนที่ในการนำทางได้

เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์

ประวัติ

จีพีเอสมีแนวคิดในการการพัฒนาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957 เมื่อนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ติดตามการส่งดาวเทียมสปุตนิกของสหภาพโซเวียต และพบปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ของคลื่นวิทยุที่ส่งมาจากดาวเทียม จึงพบว่าหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนบนพื้นผิวโลกก็สามารถระบุตำแหน่งของดาวเทียมได้จากการตรวจวัดดอปเปลอร์ และหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนของดาวเทียมก็สามารถระบุตำแหน่งบนพื้นโลกได้ในทางกลับกัน

กองทัพเรือสหรัฐได้ทดลองระบบนำทางด้วยดาวเทียมระบบแรกคือ ทรานซิส (TRANSIT) ในปี ค.ศ. 1960 และดาวเทียมที่ใช้ในจีพีเอส (GPS Block-I) ส่งขึ้นทดลองเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1978 เพื่อใช้ในทางการทหาร อย่างไรก็ตามในปี ค.ศ. 1983 หลังจากเหตุการณ์โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 ของเกาหลีใต้ บินพลัดหลงเข้าไปในน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต และถูกยิงตก ทำให้ผู้โดยสาร 269 คนเสียชีวิตทั้งหมด โรนัลด์ เรแกน ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ประกาศว่าเมื่อพัฒนาจีพีเอสเสร็จแล้วจะอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปใช้งานได้

คุณสมบัติดาวเทียม

ดาวเทียมของจีพีเอสเป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit: MEO) ที่ระดับความสูงประมาณ 20,000 กิโลเมตร จากพื้นโลก ใช้การยืนยันตำแหน่งโดยอาศัยพิกัดจากดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกเป็นเวลา 4-8 ชั่วโมงต่อหนึ่งรอบ ที่ความเร็ว 4 กิโลเมตร/วินาที การโคจรแต่ละรอบนั้นสามารถได้เป็น 6 ระนาบ ระนาบละ 4 ดวง ทำมุม 55 องศา โดยทั้งระบบจะต้องมีดาวเทียม 24 ดวง หรือมากกว่า เพื่อให้สามารถยืนยันตำแหน่งได้ครอบคลุมทุกจุดบนผิวโลก ปัจจุบัน เป็นดาวเทียม GPS Block-II มีดาวเทียมสำรองประมาณ 4-61 ดวง

เทคนิคการหาตำแหน่ง

 
การคำนวณพิกัดโดยระบบจีพีเอส ใช้ดาวเทียมสี่ดวงเป็นอย่างน้อยเพื่อความแม่นยำ
ดูเพิ่มเติมที่: ระยะทางแบบยุคลิด

การหาตำแหน่งมาจากแนวความคิดง่าย ๆ ที่ว่า ถ้าเรารู้ตำแหน่งของดาวเทียม และเรารู้ระยะทางจากดาวเทียมถึงเครื่องรับ เราจะสามารถหาตำแหน่งของเครื่องรับสัญญาณได้ เช่น ถ้าลองพิจารณาใน 2 มิติ แล้วทั้งตำแหน่งที่กำหนดให้ 2 จุด และระยะจากจุดทั้ง 2 ถึงจุดที่ต้องการหา (x,y) เราสามารถใช้วงเวียนเขียนเส้น โดยมีจุดที่กำหนดให้เป็นศูนย์กลาง รัศมีวงเวียนเท่ากับระยะทางที่รู้ เส้นวงกลมที่ได้จะตัดกัน 2 จุด โดยหนึ่งจุดเป็นคำตอบที่ถูกต้อง ทีนี้สมการอย่างง่ายเขียนได้เป็น

ระยะจากจุดที่ 1 (X1, Y1)  

ระยะจากจุดที่ 2 (X2, Y2)  

ถ้าเป็นสามมิติก็สามารถทำได้ในลักษณะเดียวกัน โดยมีจุดที่กำหนดให้ 3 จุด ในทำนองเดียวกัน สมการอย่างง่าย

ระยะจากจุดที่ 1  

ระยะจากจุดที่ 2  

ระยะจากจุดที่ 3  

สำหรับระยะทางนั้น เครื่องรับสัญญาณจีพีเอสสามารถคำนวณโดยการจับเวลาที่สัญญาณเดินทางจากดาวเทียมถึงเครื่องรับ แล้วคูณด้วยความเร็วแสง ก็จะได้ระยะ ณ เสี้ยวเวลา (epoch) ที่ดาวเทียมห่างจากเครื่องรับ ถ้าไรก็ดี เนื่องจากคลื่นเดินทางด้วยความเร็วแสง นาฬิกาที่จับเวลาที่เครื่องรับมีคุณภาพเหมือนนาฬิกาควอตซ์ทั่วไป ความผิดพลาดจากการจับเวลา (dt) แม้เพียงเล็กน้อยก็ทำให้ระยะผิดไปมาก ความผิดพลาดดังกล่าวจึงนับเป็นตัวแปรสำคัญในการคำนวณตำแหน่ง ด้วยเหตุนี้ การหาตำแหน่งจึงมีตัวแปรพื้นฐานที่สำคัญรวม 4 ตัวแปร ได้แก่ ตำแหน่งที่ต้องการหาใน 3 มิติ (x,y,z) และ ความผิดพลาดอันเนื่องมาจากนาฬิกาที่ใช้ ทำให้เราต้องการดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง เพื่อสร้าง 4 สมการ ในการแก้ตัวแปรทั้ง 4 สมการอย่างง่ายจึงกลายเป็น

ระยะจากจุดที่ 1  

ระยะจากจุดที่ 2  

ระยะจากจุดที่ 3  

ระยะจากจุดที่ 4  

เมื่อ c เป็นความเร็วแสง

ในกรณีที่มีจำนวนดาวเทียมมากกว่านี้ ก็จะมีจำนวนสมการมากขึ้นเท่ากับจำนวนดาวเทียมสังเกตการณ์

ปัจจัยที่มีผลต่อความถูกต้องของตำแหน่ง

ความถูกต้องของตำแหน่งที่หาได้จากระบบพิกัดดาวเทียมนั้น มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องจำนวนมาก เช่น

  • จำนวนดาวเทียม จำนวนยิ่งมากยิ่งมีโอกาสที่จะได้ความถูกต้องที่สูงขึ้นจากการวิเคราะห์ตำแหน่ง
  • ตำแหน่งและการเรียงตัวของดาวเทียม (satellite configuration) (ซึ่งสามารถสังเกตได้จากค่าการลดสัดส่วนของความแม่นยำ DOP (Dilution of Precision))
  • ชนิดของสัญญาณที่นำมาใช้วิเคราะห์ (code หรือ phase หรือทั้งสองอย่าง)
  • จำนวนสัญญาณคลื่นความถี่ (ความถี่เดี่ยว หรือ ความถี่คู่ หรือ มากกว่า)
  • วิธีการวิเคราะห์ (วิเคราะห์ตำแหน่งแบบเชิงเดี่ยว (single หรือ precise point positioning) หรือ ตำแหน่งสัมพัทธ์ (relative positioning)
  • เทคนิคการขจัดผลกระทบเนื่องจากชั้นไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere เป็นชั้นอากาศเบาบาง ที่ประกอบด้วยแก๊สที่แตกตัวเป็นประจุไฟฟ้าบวกและลบ)
  • เทคนิคการประมาณผลกระทบจากโทรโปสเฟียร์ (troposphere เป็นชั้นอากาศที่เราอาศัยอยู่)
  • คุณภาพของข้อมูลตำแหน่งของดาวเทียมว่าใช้จากแหล่งใด (ข้อมูลนำหนnavigation message หรือ ข้อมูลจาก IGS (final ephemeris product SP3))
  • ผลกระทบเนื่องจากสหวิถี (multi-path) ซึ่งเป็นผลจาการสะท้อนของสัญญาณ
  • การผสมผสานระบบดาวเทียมหลาย ๆ อย่าง (ที่เรียก GNSS (Global Navigation Satellite System))
  • ผลกระทบอื่น ๆ (random noise error)
  • ความสามารถในการกรองข้อมูล (data filtering technique)

ระบบอื่น ๆ

ระบบบอกพิกัดด้วยดาวเทียมอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกับระบบจีพีเอส ในปัจจุบันมีหลายระบบ ได้แก่

  • GLONASS (GLObal NAvigation Satellite System) เป็นระบบของรัสเซีย ที่พัฒนาเพื่อแข่งขันกับสหรัฐอเมริกา ใช้งานได้สมบูรณ์ทั่วโลกตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2555
  • Galileo เป็นระบบที่กำลังพัฒนาโดยสหภาพยุโรป ร่วมกับจีน อิสราเอล อินเดีย โมร็อกโก ซาอุดิอาระเบีย เกาหลีใต้ และยูเครน จะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2553
  • Beidou เป็นระบบที่กำลังพัฒนาโดยประเทศจีน โดยให้บริการเฉพาะบางพื้นที่ แต่ในอนาคตมีแผนที่จะพัฒนาโดยให้ครอบคลุมทั้วโลกโดยจะใช้ชื่อว่า COMPASS
  • QZSS ระบบดาวเทียมของญี่ปุ่น ทำหน้าที่หลากหลาย ช่วยเสริมการหาตำแหน่งด้วย GPS โดยเน้นพื้นที่ประเทศญี่ปุ่น ที่มีอาคารสูงบดบังสัญญาณ GPS สำหรับ QZSS ถูกออกแบบให้มีวงโคจรเป็นเลข 8 โดยเต็มระบบจะประกอบด้วยดาวเทียม 3-4 ดวง

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน (สืบค้นออนไลน์)
  2. Witchayangkoon, B. and P. Dumrongchai. 2009. Computational Linearized Least Square for 2D Positioning Analysis Using MathCad Programming. KMUTT Research and Development Journal.
  3. บุญทรัพย์ วิชญางกูร. 2009. private communication. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  4. Witchayangkoon, B. "GPS-based vehicular velocity determination on the Chalermmahanakhon Expressway." Proc. the First Conference on Civil and Environmental Engineering (ICCEE-2002). Higashi-Hiroshima, Japan. Oct 30-31, 2002: 215-221.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์เผยแพร่ความรู้จีพีเอส ของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา (อังกฤษ)

ระบบกำหนดตำแหน, งบนโลก, บทความน, อาจต, องเข, ยนใหม, งหมดเพ, อให, เป, นไปตามมาตรฐานค, ณภาพของว, เด, หร, อกำล, งดำเน, นการอย, ณช, วยเราได, หน, าอภ, ปรายอาจม, อเสนอแนะ, เร, ยกย, อว, เอส, งกฤษ, global, positioning, system, หร, อร, กในช, นาฟสตาร, navstar, อระบบดาวเ. bthkhwamnixactxngekhiynihmthnghmdephuxihepniptammatrthankhunphaphkhxngwikiphiediy hruxkalngdaeninkarxyu khunchwyeraid hnaxphiprayxacmikhxesnxaenarabbkahndtaaehnngbnolk 1 eriykyxwa ciphiexs xngkvs Global Positioning System GPS hruxruckinchux nafstar Navstar khuxrabbdawethiymnarxngolk Global Navigation Satellite System GNSS ephuxrabukhxmulkhxngtaaehnngaelaewlaodyxasykarkhanwncakkhwamthisyyannalikathisngmacaktaaehnngkhxngdawethiymtang thiokhcrxyurxbolkthaihsamarthrabutaaehnng n cudthisamarthrbsyyanidthwolkaelainthuksphaphxakas rwmthungsamarthkhanwnkhwamerwaelathisthangephuxnamaichrwmkbaephnthiinkarnathangidekhruxngrbsyyanciphiexs aemeklln eblesxr enuxha 1 prawti 2 khunsmbtidawethiym 3 ethkhnikhkarhataaehnng 2 3 4 pccythimiphltxkhwamthuktxngkhxngtaaehnng 4 5 rabbxun 6 xangxing 7 duephim 8 aehlngkhxmulxunprawti aekikhciphiexsmiaenwkhidinkarkarphthnatngaetpi kh s 1957 emuxnkwithyasastrkhxngshrthxemrika tidtamkarsngdawethiymsputnikkhxngshphaphosewiyt aelaphbpraktkarndxpeplxrkhxngkhlunwithyuthisngmacakdawethiym cungphbwahakthrabtaaehnngthiaennxnbnphunphiwolkksamarthrabutaaehnngkhxngdawethiymidcakkartrwcwddxpeplxr aelahakthrabtaaehnngthiaennxnkhxngdawethiymksamarthrabutaaehnngbnphunolkidinthangklbknkxngthpheruxshrthidthdlxngrabbnathangdwydawethiymrabbaerkkhux thransis TRANSIT inpi kh s 1960 aeladawethiymthiichinciphiexs GPS Block I sngkhunthdlxngepnkhrngaerkemux kh s 1978 ephuxichinthangkarthhar xyangirktaminpi kh s 1983 hlngcakehtukarnokheriynaexriln ethiywbinthi 007 khxngekahliit binphldhlngekhaipinnanfakhxngshphaphosewiyt aelathukyingtk thaihphuodysar 269 khnesiychiwitthnghmd ornld eraekn prathanathibdishrthxemrika prakaswaemuxphthnaciphiexsesrcaelwcaxnuyatihprachachnthwipichnganidkhunsmbtidawethiym aekikhdawethiymkhxngciphiexsepndawethiymthimiwngokhcrradbklang Medium Earth Orbit MEO thiradbkhwamsungpraman 20 000 kiolemtr cakphunolk ichkaryunyntaaehnngodyxasyphikdcakdawethiymxyangnxy 4 dwng dawethiymcaokhcrrxbolkepnewla 4 8 chwomngtxhnungrxb thikhwamerw 4 kiolemtr winathi karokhcraetlarxbnnsamarthidepn 6 ranab ranabla 4 dwng thamum 55 xngsa odythngrabbcatxngmidawethiym 24 dwng hruxmakkwa ephuxihsamarthyunyntaaehnngidkhrxbkhlumthukcudbnphiwolk pccubn epndawethiym GPS Block II midawethiymsarxngpraman 4 61 dwngethkhnikhkarhataaehnng 2 3 aekikh karkhanwnphikdodyrabbciphiexs ichdawethiymsidwngepnxyangnxyephuxkhwamaemnya duephimetimthi rayathangaebbyukhlid karhataaehnngmacakaenwkhwamkhidngay thiwa thaerarutaaehnngkhxngdawethiym aelaerarurayathangcakdawethiymthungekhruxngrb eracasamarthhataaehnngkhxngekhruxngrbsyyanid echn thalxngphicarnain 2 miti aelwthngtaaehnngthikahndih 2 cud aelarayacakcudthng 2 thungcudthitxngkarha x y erasamarthichwngewiynekhiynesn odymicudthikahndihepnsunyklang rsmiwngewiynethakbrayathangthiru esnwngklmthiidcatdkn 2 cud odyhnungcudepnkhatxbthithuktxng thinismkarxyangngayekhiynidepnrayacakcudthi 1 X1 Y1 D 1 X 1 x 2 Y 1 y 2 displaystyle D 1 sqrt X 1 x 2 Y 1 y 2 rayacakcudthi 2 X2 Y2 D 2 X 2 x 2 Y 2 y 2 displaystyle D 2 sqrt X 2 x 2 Y 2 y 2 thaepnsammitiksamarththaidinlksnaediywkn odymicudthikahndih 3 cud inthanxngediywkn smkarxyangngayrayacakcudthi 1 D 1 X 1 x 2 Y 1 y 2 Z 1 z 2 displaystyle D 1 sqrt X 1 x 2 Y 1 y 2 Z 1 z 2 rayacakcudthi 2 D 2 X 2 x 2 Y 2 y 2 Z 2 z 2 displaystyle D 2 sqrt X 2 x 2 Y 2 y 2 Z 2 z 2 rayacakcudthi 3 D 3 X 3 x 2 Y 3 y 2 Z 3 z 2 displaystyle D 3 sqrt X 3 x 2 Y 3 y 2 Z 3 z 2 sahrbrayathangnn ekhruxngrbsyyanciphiexssamarthkhanwnodykarcbewlathisyyanedinthangcakdawethiymthungekhruxngrb aelwkhundwykhwamerwaesng kcaidraya n esiywewla epoch thidawethiymhangcakekhruxngrb thairkdi enuxngcakkhlunedinthangdwykhwamerwaesng nalikathicbewlathiekhruxngrbmikhunphaphehmuxnnalikakhwxtsthwip khwamphidphladcakkarcbewla dt aemephiyngelknxykthaihrayaphidipmak khwamphidphladdngklawcungnbepntwaeprsakhyinkarkhanwntaaehnng dwyehtuni karhataaehnngcungmitwaeprphunthanthisakhyrwm 4 twaepr idaek taaehnngthitxngkarhain 3 miti x y z aela khwamphidphladxnenuxngmacaknalikathiich thaiheratxngkardawethiymxyangnxy 4 dwng ephuxsrang 4 smkar inkaraektwaeprthng 4 smkarxyangngaycungklayepnrayacakcudthi 1 D 1 X 1 x 2 Y 1 y 2 Z 1 z 2 c d t displaystyle D 1 sqrt X 1 x 2 Y 1 y 2 Z 1 z 2 c dt rayacakcudthi 2 D 2 X 2 x 2 Y 2 y 2 Z 2 z 2 c d t displaystyle D 2 sqrt X 2 x 2 Y 2 y 2 Z 2 z 2 c dt rayacakcudthi 3 D 3 X 3 x 2 Y 3 y 2 Z 3 z 2 c d t displaystyle D 3 sqrt X 3 x 2 Y 3 y 2 Z 3 z 2 c dt rayacakcudthi 4 D 4 X 4 x 2 Y 4 y 2 Z 4 z 2 c d t displaystyle D 4 sqrt X 4 x 2 Y 4 y 2 Z 4 z 2 c dt emux c epnkhwamerwaesnginkrnithimicanwndawethiymmakkwani kcamicanwnsmkarmakkhunethakbcanwndawethiymsngektkarnpccythimiphltxkhwamthuktxngkhxngtaaehnng 4 aekikhkhwamthuktxngkhxngtaaehnngthihaidcakrabbphikddawethiymnn mipccythiekiywkhxngcanwnmak echn canwndawethiym canwnyingmakyingmioxkasthicaidkhwamthuktxngthisungkhuncakkarwiekhraahtaaehnng taaehnngaelakareriyngtwkhxngdawethiym satellite configuration sungsamarthsngektidcakkhakarldsdswnkhxngkhwamaemnya DOP Dilution of Precision chnidkhxngsyyanthinamaichwiekhraah code hrux phase hruxthngsxngxyang canwnsyyankhlunkhwamthi khwamthiediyw hrux khwamthikhu hrux makkwa withikarwiekhraah wiekhraahtaaehnngaebbechingediyw single hrux precise point positioning hrux taaehnngsmphthth relative positioning ethkhnikhkarkhcdphlkrathbenuxngcakchnixoxonsefiyr ionosphere epnchnxakasebabang thiprakxbdwyaeksthiaetktwepnpracuiffabwkaelalb ethkhnikhkarpramanphlkrathbcakothropsefiyr troposphere epnchnxakasthieraxasyxyu khunphaphkhxngkhxmultaaehnngkhxngdawethiymwaichcakaehlngid khxmulnahnnavigation message hrux khxmulcak IGS final ephemeris product SP3 phlkrathbenuxngcakshwithi multi path sungepnphlcakarsathxnkhxngsyyan karphsmphsanrabbdawethiymhlay xyang thieriyk GNSS Global Navigation Satellite System phlkrathbxun random noise error khwamsamarthinkarkrxngkhxmul data filtering technique rabbxun aekikhrabbbxkphikddwydawethiymxun thikhlaykhlungkbrabbciphiexs inpccubnmihlayrabb idaek GLONASS GLObal NAvigation Satellite System epnrabbkhxngrsesiy thiphthnaephuxaekhngkhnkbshrthxemrika ichnganidsmburnthwolktngaeteduxn tulakhm 2555 Galileo epnrabbthikalngphthnaodyshphaphyuorp rwmkbcin xisraexl xinediy omrxkok saxudixaraebiy ekahliit aelayuekhrn caaelwesrcinpi ph s 2553 Beidou epnrabbthikalngphthnaodypraethscin odyihbrikarechphaabangphunthi aetinxnakhtmiaephnthicaphthnaodyihkhrxbkhlumthwolkodycaichchuxwa COMPASS QZSS rabbdawethiymkhxngyipun thahnathihlakhlay chwyesrimkarhataaehnngdwy GPS odyennphunthipraethsyipun thimixakharsungbdbngsyyan GPS sahrb QZSS thukxxkaebbihmiwngokhcrepnelkh 8 odyetmrabbcaprakxbdwydawethiym 3 4 dwngxangxing aekikh sphthbyyti rachbnthitysthan subkhnxxniln Witchayangkoon B and P Dumrongchai 2009 Computational Linearized Least Square for 2D Positioning Analysis Using MathCad Programming KMUTT Research and Development Journal buythrphy wichyangkur 2009 private communication phakhwichawiswkrrmoytha khnawiswkrrmsastr mhawithyalythrrmsastr Witchayangkoon B GPS based vehicular velocity determination on the Chalermmahanakhon Expressway Proc the First Conference on Civil and Environmental Engineering ICCEE 2002 Higashi Hiroshima Japan Oct 30 31 2002 215 221 duephim aekikhphxythexechiydxtkhxm sxftaewrithythithanganindanciphiexs rabbnathanginrthynt aehlngkhxmulxun aekikhewbistephyaephrkhwamruciphiexs khxngrthbalshrthxemrika xngkvs ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbkahndtaaehnngbnolk amp oldid 9414297, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม