fbpx
วิกิพีเดีย

นกขุนทอง

นกขุนทอง
นกขุนทองในที่เลี้ยง
 เสียงร้องของนกขุนทอง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Aves
อันดับ: Passeriformes
วงศ์: Sturnidae
สกุล: Gracula
สปีชีส์: G.  religiosa
ชื่อทวินาม
Gracula religiosa
(Linnaeus, 1758)
ชนิดย่อย
8 ชนิด (ดูในรายละเอียด)
ชื่อพ้อง
  • Gracila indica (Cuvier, 1829)
ภาพแสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง

นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) (ชื่อวิทยาศาสตร์: Gracula religiosa) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง

ชนิดย่อย

นกขุนทองมีชนิดย่อยทั้งหมด 8 ชนิด ได้แก่

  • G. r. andamanensis (Beavan, 1867) พบในเทือกเขาอันดามัน หมู่เกาะอันดามัน บริเวณตรงกลางของหมู่เกาะนิโคบาร์
  • G. r. batuensis พบในเกาะบาตูและเกาะมันตาวี
  • G. r. halibrecta (Oberholser, 1926) พบในส่วนอื่นของหมู่เกาะนิโคบาร์
  • G. r. intermedia ภาคเหนือและภาคตะวันตกของอินโดนีเซียและตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียและจีนตอนใต้ (นกขุนทองเหนือ)
  • G. r. palawanensis พบในเกาะปาลาวันของฟิลิปปินส์
  • G. r. peninsularis พบในภาคกลางของอินเดีย
  • G. r. religiosa พบในภูมิภาคซุนดา (ยกเว้นเกาะซูลาเวซี) และมาเลเซียตะวันตก (นกขุนทองใต้)
  • G. r. venerata พบในภาคตะวันตกของภูมิภาคซุนดา

ลักษณะทั่วไป

นกขุนทองมีความยาวเฉลี่ยประมาณ 29 เซนติเมตร ลำตัวป้อมสีดำ หางสั้น ปีกแหลมยาว เท้าแข็งแรง มีเหนียง คือ แผ่นหนังสีเหลืองอมส้มคลุมทั่วท้ายทอยและเหนียงสีเหลืองแดงสดใต้ตา ขนสีดำเหลือบเขียว มีเงาสีม่วงบริเวณหัวและคอ มีสีขาวแซมใต้ปีก ปากสีแดงส้ม ขาสีเหลืองสด ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะคล้ายกัน

 
นกขุนทองในธรรมชาติที่อุทยานแห่งชาติบาโก รัฐซาราวัก มาเลเซีย

การกระจายพันธุ์และถิ่นอาศัย

ถิ่นแพร่พันธุ์หลักของนกขุนทองพบได้ในบริเวณโคนเทือกเขาหิมาลัย ใกล้เขตแดนอินเดีย, เนปาล, และภูฏาน แต่สามารถพบได้ในศรีลังกา, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, จังหวัดปาลาวันของฟิลิปปินส์, ตอนเหนือของอินโดนีเซีย, และถูกนำเข้าไปในสหรัฐอเมริกา รวมถึงปวยร์โตรีโกด้วย

นกขุนทองชอบอาศัยอยู่ในป่าที่มีความชื้น ที่ระดับความสูง 0-2,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยจะพบทุกภาคยกเว้นที่ราบลุ่มภาคกลาง ในประเทศไทยพบได้ 2 ชนิดย่อย คือ G. r. intermedia ที่พบในพื้นที่ภาคเหนือ และ G. r. religiosa ที่ตัวใหญ่กว่าชนิดแรก พบในพื้นที่ภาคใต้ จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "นกขุนทองควาย"

พฤติกรรม

ชอบร้องเวลาเช้าตรู่และพลบค่ำ ร้องเป็นเสียหวีดสูงตามด้วยเสียงอื่น ๆ เคลื่อนไหวบนกิ่งโดยเน้นการกระโดดข้างแทนการเดินต่างจากนกเอี้ยงทั่วไป นกขุนทองเป็นนกที่รักความสะอาดเพราะ มักชอบอาบน้ำ ไซร้ขนหรือตกแต่งขนอยู่ตลอดเวลา ชอบทำรังอยู่บริเวณโพรงไม้เก่า ๆ สูงระหว่าง 3-5 เมตร อาศัยอยู่เป็นกลุ่มประมาณ 6 ตัวขึ้นไป วางไข่ครั้งละ 2-3 ฟอง นกขุนทองกินทุกอย่างทั้งพืชและสัตว์ เช่นผลไม้, ลูกไม้, น้ำดอกไม้ และแมลงต่าง ๆ

นกขุนทองนั้นมีชื่อเสียงเรื่องเสียงร้องหลากหลายชนิด ทั้งหวีด กรีดร้อง กลั้ว ร้องเป็นทำนอง รวมถึงเลียนแบบเสียงมนุษย์ ซึ่งทำได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย นกหนึ่งตัวจะมีเสียงร้องตั้งแต่ 3 ถึง 13 แบบ มีการเลียนแบบเสียงร้องกันโดยเฉพาะในเพศเดียวกัน แต่รัศมีในการเรียนรู้นี้ส่วนใหญ่น้อยกว่า 15 กิโลเมตรลงไป มีความเข้าใจผิดทั่วไปว่านกขุนทองนั้นชอบเลียนแบบเสียงร้องนกพันธุ์อื่น ๆ แต่ที่จริงแล้วพฤติกรรมนี้ไม่มีโดยธรรมชาติ แต่เฉพาะในสัตว์เลี้ยงเท่านั้น

สถานะภาพ

ในประเทศไทย นกขุนทองจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535

อ้างอิง

  1. BirdLife International (2012). "Gracula religiosa". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2013.2. International Union for Conservation of Nature. สืบค้นเมื่อ 26 November 2013.CS1 maint: ref=harv (link)
  2. ขุนทอง น. ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  • นกขุนทอง
  • นกขุนทอง

แหล่งข้อมูลอื่น

นกข, นทอง, ในท, เล, ยง, เส, ยงร, องของ, ใช, อม, สถานะการอน, กษ, ความเส, ยงต, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, chordataช, avesอ, นด, passeriformesวงศ, sturnidaeสก, graculaสป, religiosaช, อทว, นามgracula, religiosa, linnaeus, 1758, ชน, ด. nkkhunthxngnkkhunthxnginthieliyng esiyngrxngkhxngnkkhunthxng withiich khxmul sthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Avesxndb Passeriformeswngs Sturnidaeskul Graculaspichis G religiosachuxthwinamGracula religiosa Linnaeus 1758 chnidyxy8 chnid duinraylaexiyd chuxphxngGracila indica Cuvier 1829 phaphaesdngihehnthunghwkhxngnkkhunthxngchnidyxytang sungaetktangknthiehniyng nkkhunthxng hrux nkexiyngkha khaemuxng 2 chuxwithyasastr Gracula religiosa epnnkinwngsnkexiyngaelankkingokhrng Sturnidae mithinxasyxyuthwipinexechiyitaelaexechiyxakheny mikhwamsamartheliynesiyngmnusyidehmuxnnkaekw cungniymeliyngepnstweliyngknsung enuxha 1 chnidyxy 2 lksnathwip 3 karkracayphnthuaelathinxasy 4 phvtikrrm 5 sthanaphaph 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunchnidyxy aekikhnkkhunthxngmichnidyxythnghmd 8 chnid idaek G r andamanensis Beavan 1867 phbinethuxkekhaxndamn hmuekaaxndamn briewntrngklangkhxnghmuekaaniokhbar G r batuensis phbinekaabatuaelaekaamntawi G r halibrecta Oberholser 1926 phbinswnxunkhxnghmuekaaniokhbar G r intermedia phakhehnuxaelaphakhtawntkkhxngxinodniesiyaelatawntkechiyngehnuxkhxngxinediyaelacintxnit nkkhunthxngehnux G r palawanensis phbinekaapalawnkhxngfilippins G r peninsularis phbinphakhklangkhxngxinediy G r religiosa phbinphumiphakhsunda ykewnekaasulaewsi aelamaelesiytawntk nkkhunthxngit G r venerata phbinphakhtawntkkhxngphumiphakhsundalksnathwip aekikhnkkhunthxngmikhwamyawechliypraman 29 esntiemtr latwpxmsida hangsn pikaehlmyaw ethaaekhngaerng miehniyng khux aephnhnngsiehluxngxmsmkhlumthwthaythxyaelaehniyngsiehluxngaedngsditta khnsidaehluxbekhiyw miengasimwngbriewnhwaelakhx misikhawaesmitpik paksiaedngsm khasiehluxngsd thngtwphuaelatwemiymilksnakhlaykn nkkhunthxnginthrrmchatithixuthyanaehngchatibaok rthsarawk maelesiykarkracayphnthuaelathinxasy aekikhthinaephrphnthuhlkkhxngnkkhunthxngphbidinbriewnokhnethuxkekhahimaly iklekhtaednxinediy enpal aelaphutan aetsamarthphbidinsrilngka phma ithy law kmphucha ewiydnam cnghwdpalawnkhxngfilippins txnehnuxkhxngxinodniesiy aelathuknaekhaipinshrthxemrika rwmthungpwyrotriokdwynkkhunthxngchxbxasyxyuinpathimikhwamchun thiradbkhwamsung 0 2 000 emtrcakradbnathael inpraethsithycaphbthukphakhykewnthirablumphakhklang inpraethsithyphbid 2 chnidyxy khux G r intermedia thiphbinphunthiphakhehnux aela G r religiosa thitwihykwachnidaerk phbinphunthiphakhit cungmichuxeriykxikchuxhnungwa nkkhunthxngkhway 2 phvtikrrm aekikhchxbrxngewlaechatruaelaphlbkha rxngepnesiyhwidsungtamdwyesiyngxun ekhluxnihwbnkingodyennkarkraoddkhangaethnkaredintangcaknkexiyngthwip nkkhunthxngepnnkthirkkhwamsaxadephraa mkchxbxabna isrkhnhruxtkaetngkhnxyutlxdewla chxbtharngxyubriewnophrngimeka sungrahwang 3 5 emtr xasyxyuepnklumpraman 6 twkhunip wangikhkhrngla 2 3 fxng nkkhunthxngkinthukxyangthngphuchaelastw echnphlim lukim nadxkim aelaaemlngtang nkkhunthxngnnmichuxesiyngeruxngesiyngrxnghlakhlaychnid thnghwid kridrxng klw rxngepnthanxng rwmthungeliynaebbesiyngmnusy sungthaidthngtwphuaelatwemiy nkhnungtwcamiesiyngrxngtngaet 3 thung 13 aebb mikareliynaebbesiyngrxngknodyechphaainephsediywkn aetrsmiinkareriynruniswnihynxykwa 15 kiolemtrlngip mikhwamekhaicphidthwipwankkhunthxngnnchxbeliynaebbesiyngrxngnkphnthuxun aetthicringaelwphvtikrrmniimmiodythrrmchati aetechphaainstweliyngethannsthanaphaph aekikhinpraethsithy nkkhunthxngcdepnstwpakhumkhrxngtamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa phuththskrach 2535xangxing aekikh BirdLife International 2012 Gracula religiosa IUCN Red List of Threatened Species Version 2013 2 International Union for Conservation of Nature subkhnemux 26 November 2013 CS1 maint ref harv link 2 0 2 1 khunthxng n tamphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 nkkhunthxng nkkhunthxngaehlngkhxmulxun aekikh khxmulekiywkhxngkb Gracula religiosa cakwikispichiskhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb Gracula religiosaekhathungcak https th wikipedia org w index php title nkkhunthxng amp oldid 9293892, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม