fbpx
วิกิพีเดีย

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล (อังกฤษ: Herschel Space Observatory) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศขององค์การอวกาศยุโรป ริเริ่มโครงการตั้งแต่ ค.ศ. 1982 ด้วยความร่วมมือของบรรดานักวิทยาศาสตร์ในยุโรป ชื่อโครงการตั้งขึ้นในเวลาต่อมาตามชื่อของ เซอร์ วิลเลียม เฮอร์เชล นักวิทยาศาสตร์ผู้ค้นพบสเปกตรัมอินฟราเรด และเป็นผู้ค้นพบดาวยูเรนัส

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเฮอร์เชล
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่น Far Infrared and Submillimetre Telescope (FIRST)
รหัส NSSDC 2009-026A
องค์กรองค์การอวกาศยุโรป (ESA) โดยมี Thales Alenia Space เป็นผู้รับเหมาหลัก
วันขึ้นสู่อวกาศ 14 May 2009 13:12:02 UTC
ขึ้นจาก Guiana Space Centre
French Guiana
ยานขนส่ง Ariane 5
ระยะเวลาภารกิจ elapsed: 5 months and 2 days
มวล3,300 kg (7,300 lb)
ประเภทวงโคจร Lissajous orbit
ความสูงวงโคจร 1,500,000 km (930,000 mi)
คาบการโคจร 1 year
ความเร็วโคจร 7,500 m/s (27,000 km/h)
ตำแหน่งLagrangian point L2
ชนิดกล้องโทรทรรศน์ Ritchey-Chrétien
ความยาวคลื่น60 to 670 µm (0.0024 ถึง 0.026 นิ้ว) (อินฟราเรด)
เส้นผ่านศูนย์กลาง3,500 mm (140 in), f/0.5
พื้นที่ 9.6 m2 (103 sq ft)
ความยาวโฟกัส 28.5 m (94 ft), f/8.7
เครื่องมือ
HIFI Heterodyne Instrument for the Far Infrared
PACS Photodetector Array Camera and Spectrometer
SPIRE Spectral and Photometric Imaging Receiver
เว็บไซต์
herschel.esac.esa.int


กล้องเฮอร์เชลสามารถตรวจจับวัตถุในอวกาศที่เย็นจัดและมัวจัดที่สุดจากการบดบังของฝุ่นได้ เช่นในเขตหมอกฝุ่นซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดดาวฤกษ์ หรือดาราจักรขุ่นมัวที่เริ่มก่อตัวขึ้นจากการรวมกลุ่มของดาวฤกษ์ใหม่ การสังเกตการณ์สามารถมองทะลุเมฆที่กำเนิดดาวฤกษ์ได้ และสามารถตรวจจับโมเลกุลที่เป็นต้นกำเนิดของชีวิต เช่น น้ำ ได้ว่ากำลังก่อตัวขึ้นหรือไม่

องค์การนาซา มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาเครื่องมือวัดสำคัญของโครงการนี้จำนวน 2 ใน 3 ชิ้น รวมถึงจะมีบทบาทในการวิเคราะห์ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญด้วย ห้องทดลองการขับเคลื่อนด้วยไอพ่นขององค์การนาซาในเมืองคาลิฟได้พัฒนาและสร้าง โบโลมิเตอร์ "โครงข่ายใยแมงมุม" สำหรับเครื่องรับภาพแบบแสงและสเปกตรัม (spectral and photometric imaging receiver; SPIRE) ให้แก่กล้องเฮอร์เชล ซึ่งมีความละเอียดสูงกว่ารุ่นก่อนหน้าถึง 40 เท่า นอกจากนี้ยังสร้างโครงข่ายอุปกรณ์กำเนิดและรวมสัญญาณ และอุปกรณ์ขยายสัญญาณสำหรับคลื่นอินฟราเรดไกล (heterodyne instrument for the far infrared; HIFI) ด้วย

อ้างอิง

  1. "Herschel Factsheet". European Space Agency. 17 April 2009. สืบค้นเมื่อ 2009-05-12.
  2. "Herschel: Exploring the Birth of Stars and Galaxies". NASA.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ESA Herschel Science Centre
  • ESA Information on Herschel
  • NASA Herschel website
  • ESA Herschel operations page
  • ESA video on YouTube

กล, องโทรทรรศน, อวกาศเฮอร, เชล, งกฤษ, herschel, space, observatory, เป, นกล, องโทรทรรศน, อวกาศขององค, การอวกาศย, โรป, เร, มโครงการต, งแต, 1982, วยความร, วมม, อของบรรดาน, กว, ทยาศาสตร, ในย, โรป, อโครงการต, งข, นในเวลาต, อมาตามช, อของ, เซอร, ลเล, ยม, เฮอร, เชล, . klxngothrthrrsnxwkasehxrechl xngkvs Herschel Space Observatory epnklxngothrthrrsnxwkaskhxngxngkhkarxwkasyuorp rierimokhrngkartngaet kh s 1982 dwykhwamrwmmuxkhxngbrrdankwithyasastrinyuorp chuxokhrngkartngkhuninewlatxmatamchuxkhxng esxr wileliym ehxrechl nkwithyasastrphukhnphbsepktrmxinfraerd aelaepnphukhnphbdawyuerns 1 klxngothrthrrsnxwkasehxrechlkhxmulthwipchuxxun Far Infrared and Submillimetre Telescope FIRST rhs NSSDC 2009 026Axngkhkrxngkhkarxwkasyuorp ESA odymi Thales Alenia Space epnphurbehmahlkwnkhunsuxwkas 14 May 2009 13 12 02 UTCkhuncak Guiana Space CentreFrench Guianayankhnsng Ariane 5rayaewlapharkic elapsed 5 months and 2 daysmwl3 300 kg 7 300 lb praephthwngokhcr Lissajous orbitkhwamsungwngokhcr 1 500 000 km 930 000 mi khabkarokhcr 1 yearkhwamerwokhcr 7 500 m s 27 000 km h taaehnngLagrangian point L2chnidklxngothrthrrsn Ritchey Chretienkhwamyawkhlun60 to 670 µm 0 0024 thung 0 026 niw xinfraerd esnphansunyklang3 500 mm 140 in f 0 5phunthi 9 6 m2 103 sq ft khwamyawofks 28 5 m 94 ft f 8 7ekhruxngmux HIFI Heterodyne Instrument for the Far InfraredPACS Photodetector Array Camera and SpectrometerSPIRE Spectral and Photometric Imaging Receiver ewbistherschel esac esa intklxngehxrechlsamarthtrwccbwtthuinxwkasthieyncdaelamwcdthisudcakkarbdbngkhxngfunid echninekhthmxkfunsungepnaehlngkaeniddawvks hruxdarackrkhunmwthierimkxtwkhuncakkarrwmklumkhxngdawvksihm karsngektkarnsamarthmxngthaluemkhthikaeniddawvksid aelasamarthtrwccbomelkulthiepntnkaenidkhxngchiwit echn na idwakalngkxtwkhunhruximxngkhkarnasa mibthbathsakhyinkarphthnaekhruxngmuxwdsakhykhxngokhrngkarnicanwn 2 in 3 chin rwmthungcamibthbathinkarwiekhraahkhxmulthangwithyasastrthisakhydwy hxngthdlxngkarkhbekhluxndwyixphnkhxngxngkhkarnasainemuxngkhalifidphthnaaelasrang obolmietxr okhrngkhayiyaemngmum sahrbekhruxngrbphaphaebbaesngaelasepktrm spectral and photometric imaging receiver SPIRE ihaekklxngehxrechl sungmikhwamlaexiydsungkwarunkxnhnathung 40 etha nxkcakniyngsrangokhrngkhayxupkrnkaenidaelarwmsyyan aelaxupkrnkhyaysyyansahrbkhlunxinfraerdikl heterodyne instrument for the far infrared HIFI dwy 2 xangxing aekikh Herschel Factsheet European Space Agency 17 April 2009 subkhnemux 2009 05 12 Herschel Exploring the Birth of Stars and Galaxies NASA aehlngkhxmulxun aekikhESA Herschel Science Centre ESA Information on Herschel NASA Herschel website ESA Herschel operations page ESA video on YouTube bthkhwamekiywkbkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasekhathungcak https th wikipedia org w index php title klxngothrthrrsnxwkasehxrechl amp oldid 4958644, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม