fbpx
วิกิพีเดีย

การตายเฉพาะส่วน

การตายเฉพาะส่วน (อังกฤษ: Necrosis; มาจากภาษากรีก: Νεκρός Nekros ตาย) เป็นการตายของเซลล์และเนื้อเยื่อซึ่งจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องตามมาอย่างมาก ได้แก่การบวมของเซลล์, การย่อยสลายโครมาติน, และการเสื่อมสภาพของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ ในระยะต่อมาจะเกิดการย่อยสลายดีเอ็นเอ, การเกิดช่องว่าง (vacuolation) ของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (endoplasmic reticulum) , การสลายของออร์แกเนลล์, และเกิดการสลายเซลล์ หลังจากเยื่อหุ้มเซลล์แตกสลายจะมีการปล่อยองค์ประกอบภายในเซลล์ซึ่งทำให้เกิดการอักเสบ กระบวนการดังกล่าวแยกออกจากการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย (Postmortem change) และจากการคงสภาพเนื้อเยื่อโดยฟอร์มาลิน

การตายของเนื้อเยื่อหลังจากเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง

การตายของเซลล์แบบนี้แตกต่างจากการตายแบบอะพอพโทซิส (apoptosis) เพราะซากของเซลล์จะถูกเซลล์กลืนกิน (phagocyte) ของระบบภูมิคุ้มกันเข้ามากำจัดได้ยากเนื่องจากการตายเฉพาะส่วนไม่มีการส่งสัญญาณของเซลล์ (cell signals) ซึ่งกระตุ้นให้เซลล์กลืนกินข้างเคียงเข้ามาจัดการซาก ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถจะระบุตำแหน่งของการตายและไม่สามารถนำองค์ประกอบของเซลล์ที่ตายกลับมาใช้ใหม่ดังเช่นการตายแบบอะพอพโทซิส

สาเหตุ

สาเหตุของการตายเฉพาะส่วนได้แก่การได้รับการบาดเจ็บ การติดเชื้อ มะเร็ง เนื้อตายเหตุขาดเลือด (infarction) สารพิษ และการอักเสบอย่างต่อเนื่อง การทำลายระบบที่จำเป็นภายในเซลล์อย่างรุนแรงจะทำให้เกิดการกระตุ้นการทำลายระบบอื่นๆ ภายในเซลล์เป็นลูกโซ่ เรียกว่า "cascade of effects" การตายเฉพาะส่วนอาจเกิดขึ้นจากการดูแลบริเวณบาดแผลอย่างไม่เหมาะสม การตายแบบนี้จะมีการหลั่งเอนไซม์พิเศษที่เก็บเอาไว้ในไลโซโซม (lysosome) ซึ่งสามารถย่อยสลายองค์ประกอบของเซลล์หรือย่อยสลายทั้งเซลล์ หลังจากที่เซลล์ได้รับความบาดเจ็บจะมีการสลายเยื่อหุ้มไลโซโซมเป็นการเริ่มต้นลูกโซ่ปฏิกิริยาซึ่งทำให้เกิดการปล่อยเอนไซม์ออกมา และออกมายังภายนอกเซลล์จึงทำให้เกิดการทำลายเซลล์ข้างเคียงด้วย ซึ่งต่างจากการตายแบบอะพอพโทซิส

ในการตัดเนื้อออกตรวจ (biopsy) กระบวนการ fixation เนื้อเยื่อหรือการแช่เย็นจะช่วยหยุดปฏิกิริยาการตายเฉพาะส่วน ในงูพิษและแมงมุมหลายชนิดสามารถผลิตสารพิษซึ่งทำให้เนื้อเยื่อบริเวณถูกกัดเกิดการตายเฉพาะส่วนได้

รูปแบบการตายของเนื้อเยื่อ

ลักษณะการตายเฉพาะส่วนของเนื้อเยื่อแบ่งออกเป็น 7 รูปแบบเด่นๆ ได้ดังนี้

  • Coagulative necrosis ลักษณะเนื้อตายแน่น แข็ง ซีด เนื้อเยื่อที่ตายเห็นขอบเขตชัดเจน เซลล์ในบริเวณเนื้อตายจะคงโครงรูปเอาไว้ซึ่งสามารถมองเห็นได้จากกล้องจุลทรรศน์ พบได้จากภาวะเลือดมีออกซิเจนน้อย (hypoxia) เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (myocardial infarction) , ม้ามขาดเลือด (splenic infarction)
  • Liquefactive necrosis ลักษณะเนื้อตายยุ่ย นุ่ม เหลว เซลล์ในบริเวณนี้จะไม่เหลือโครงสร้างของเนื้อเยื่อเดิมไว้ มักจะเกี่ยวข้องกับการทำลายเซลล์และการเกิดหนอง (pus) เช่น โรคปอดบวม (pneumonia) ซึ่งทั่วไปแล้วเกี่ยวกับการติดเชื้อแบคทีเรียหรือราเพราะเป็นเชื้อจุลชีพก่อโรคที่สามารถกระตุ้นการอักเสบได้ อย่างไรก็ตามการขาดเลือดเฉพาะที่ (ischemia) ของสมองสามารถทำให้เกิดการตายแบบนี้มากกว่าเกิดการตายแบบ coagulative necrosis เนื่องจากเนื้อเยื่อสมองไม่มีโครงสร้างที่ช่วยค้ำจุน
  • Gummatous necrosis เป็นลักษณะเนื้อตายเฉพาะที่เกี่ยวกับการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดเกลียว (spirochaet) เช่น ซิฟิลิส
  • Haemorrhagic necrosis เป็นเนื้อตายเฉพาะส่วนจากการอุดกั้นของการระบายเลือดดำของอวัยวะหรือเนื้อเยื่อ ทำให้มีเลือดออกนอกช่องทางเดินเลือดหรือหลอดเลือด เช่น การบิดของอัณฑะ (testicular torsion) หรือเมื่อลำไส้ขาดเลือด
  • Caseous necrosis เป็นลักษณะการตายแบบ coagulation necrosis ที่จำเพาะต่อเชื้อไมโคแบคทีเรีย (mycobacteria) (เช่นวัณโรค) , เชื้อรา, และวัตถุแปลกปลอมบางชนิด บริเวณที่ตายจะออกสีเหลืองเหมือนเนย ไม่เป็นช่องว่าง ในกล้องจุลทรรศน์จะเห็นเป็นปื้นสีชมพู อาจกล่าวได้ว่าเป็นการตายรูปแบบผสมระหว่าง coagulative และ liquefactive necroses
  • Fat necrosis เป็นผลจากการทำงานของเอนไซม์ไลเปสย่อยเนื้อเยื่อไขมัน ลักษณะเนื้อตายเป็นสีเหลืองซีด อาจเห็นจุดขาวคล้ายชอล์ค ในกล้องจุลทรรศน์จะเห็นบริเวณเซลล์ไขมันที่ถูกเอนไซม์ย่อยเป็นปื้นสีชมพูอมม่วง ในขณะที่เซลล์ที่ตายแบบไม่มีเอนไซม์ย่อยจะเห็นเซลล์ไขมันเสื่อมปะปนกับฮิสติโอไซต์ (histiocyte) ในบางครั้งอาจพบปฏิกิริยาการเปลี่ยนเป็นสบู่ (saponification) ในเนื้อเยื่อได้ พบในตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน และการตายของเนื้อเยื่อเต้านม
  • Fibrinoid necrosis เกิดจากการทำลายผนังหลอดเลือดจากผลของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เกิดการสะสมของสารโปรตีนที่ดูคล้ายไฟบริน (fibrin-like) ในผนังหลอดเลือดแดง ซึ่งเมื่อย้อมดูใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็นลักษณะเป็นปื้นสีชมพูติดสีกรด (eosinophilic)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. มานะ ทวีวิศิษฎ์ (บรรณาธิการ) , พยาธิวิทยาพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพยาธิวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. ISBN 974-9980-70-0

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Necrosis causes, details and definition 2009-05-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Undersea and Hyperbaric Medical Society. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2008-07-05. สืบค้นเมื่อ 2008-07-25.

การตายเฉพาะส, วน, งกฤษ, necrosis, มาจากภาษากร, Νεκρός, nekros, ตาย, เป, นการตายของเซลล, และเน, อเย, อซ, งจะม, กระบวนการเปล, ยนแปลงต, อเน, องตามมาอย, างมาก, ได, แก, การบวมของเซลล, การย, อยสลายโครมาต, และการเส, อมสภาพของเย, อห, มเซลล, และเย, อห, มออร, แกเนลล, ใน. kartayechphaaswn xngkvs Necrosis macakphasakrik Nekros Nekros tay epnkartaykhxngesllaelaenuxeyuxsungcamikrabwnkarepliynaeplngtxenuxngtammaxyangmak idaekkarbwmkhxngesll karyxyslayokhrmatin aelakaresuxmsphaphkhxngeyuxhumesllaelaeyuxhumxxraekenll inrayatxmacaekidkaryxyslaydiexnex karekidchxngwang vacuolation khxngexnodphlasmikertikhulm endoplasmic reticulum karslaykhxngxxraekenll aelaekidkarslayesll hlngcakeyuxhumesllaetkslaycamikarplxyxngkhprakxbphayinesllsungthaihekidkarxkesb krabwnkardngklawaeykxxkcakkarepliynaeplnghlngkartay Postmortem change aelacakkarkhngsphaphenuxeyuxodyfxrmalin 1 kartaykhxngenuxeyuxhlngcakekidaephlihmxyangrunaerng kartaykhxngesllaebbniaetktangcakkartayaebbxaphxphothsis apoptosis ephraasakkhxngesllcathukesllklunkin phagocyte khxngrabbphumikhumknekhamakacdidyakenuxngcakkartayechphaaswnimmikarsngsyyankhxngesll cell signals sungkratunihesllklunkinkhangekhiyngekhamacdkarsak thaihrabbphumikhumknimsamarthcarabutaaehnngkhxngkartayaelaimsamarthnaxngkhprakxbkhxngesllthitayklbmaichihmdngechnkartayaebbxaphxphothsis enuxha 1 saehtu 2 rupaebbkartaykhxngenuxeyux 3 duephim 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunsaehtu aekikhsaehtukhxngkartayechphaaswnidaekkaridrbkarbadecb kartidechux maerng enuxtayehtukhadeluxd infarction sarphis aelakarxkesbxyangtxenuxng karthalayrabbthicaepnphayinesllxyangrunaerngcathaihekidkarkratunkarthalayrabbxun phayinesllepnlukos eriykwa cascade of effects kartayechphaaswnxacekidkhuncakkarduaelbriewnbadaephlxyangimehmaasm kartayaebbnicamikarhlngexnismphiessthiekbexaiwinilososm lysosome sungsamarthyxyslayxngkhprakxbkhxngesllhruxyxyslaythngesll hlngcakthiesllidrbkhwambadecbcamikarslayeyuxhumilososmepnkarerimtnlukosptikiriyasungthaihekidkarplxyexnismxxkma aelaxxkmayngphaynxkesllcungthaihekidkarthalayesllkhangekhiyngdwy sungtangcakkartayaebbxaphxphothsisinkartdenuxxxktrwc biopsy krabwnkar fixation enuxeyuxhruxkaraecheyncachwyhyudptikiriyakartayechphaaswn innguphisaelaaemngmumhlaychnidsamarthphlitsarphissungthaihenuxeyuxbriewnthukkdekidkartayechphaaswnidrupaebbkartaykhxngenuxeyux aekikhlksnakartayechphaaswnkhxngenuxeyuxaebngxxkepn 7 rupaebbedn iddngni Coagulative necrosis lksnaenuxtayaenn aekhng sid enuxeyuxthitayehnkhxbekhtchdecn esllinbriewnenuxtaycakhngokhrngrupexaiwsungsamarthmxngehnidcakklxngculthrrsn 1 phbidcakphawaeluxdmixxksiecnnxy hypoxia echn klamenuxhwickhadeluxd myocardial infarction mamkhadeluxd splenic infarction Liquefactive necrosis lksnaenuxtayyuy num ehlw esllinbriewnnicaimehluxokhrngsrangkhxngenuxeyuxedimiw 1 mkcaekiywkhxngkbkarthalayesllaelakarekidhnxng pus echn orkhpxdbwm pneumonia sungthwipaelwekiywkbkartidechuxaebkhthieriyhruxraephraaepnechuxculchiphkxorkhthisamarthkratunkarxkesbid xyangirktamkarkhadeluxdechphaathi ischemia khxngsmxngsamarththaihekidkartayaebbnimakkwaekidkartayaebb coagulative necrosis enuxngcakenuxeyuxsmxngimmiokhrngsrangthichwykhacun Gummatous necrosis epnlksnaenuxtayechphaathiekiywkbkartidechuxaebkhthieriychnidekliyw spirochaet echn sifilis Haemorrhagic necrosis epnenuxtayechphaaswncakkarxudknkhxngkarrabayeluxddakhxngxwywahruxenuxeyux thaihmieluxdxxknxkchxngthangedineluxdhruxhlxdeluxd 1 echn karbidkhxngxntha testicular torsion hruxemuxlaiskhadeluxd Caseous necrosis epnlksnakartayaebb coagulation necrosis thicaephaatxechuximokhaebkhthieriy mycobacteria echnwnorkh echuxra aelawtthuaeplkplxmbangchnid briewnthitaycaxxksiehluxngehmuxneny imepnchxngwang inklxngculthrrsncaehnepnpunsichmphu 1 xacklawidwaepnkartayrupaebbphsmrahwang coagulative aela liquefactive necroses Fat necrosis epnphlcakkarthangankhxngexnismilepsyxyenuxeyuxikhmn lksnaenuxtayepnsiehluxngsid xacehncudkhawkhlaychxlkh inklxngculthrrsncaehnbriewnesllikhmnthithukexnismyxyepnpunsichmphuxmmwng inkhnathiesllthitayaebbimmiexnismyxycaehnesllikhmnesuxmpapnkbhistioxist histiocyte inbangkhrngxacphbptikiriyakarepliynepnsbu saponification inenuxeyuxid 1 phbintbxxnxkesbechiybphln aelakartaykhxngenuxeyuxetanm Fibrinoid necrosis ekidcakkarthalayphnnghlxdeluxdcakphlkhxngrabbphumikhumkn thaihekidkarsasmkhxngsaroprtinthidukhlayifbrin fibrin like inphnnghlxdeluxdaedng sungemuxyxmduitklxngculthrrsncaehnlksnaepnpunsichmphutidsikrd eosinophilic duephim aekikhenuxtayena enuxtayehtuirhlxdeluxd kartaykhxngkraduk xaphxphothsisxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 mana thwiwisisd brrnathikar phyathiwithyaphunthan krungethph phakhwichaphyathiwithya culalngkrnmhawithyaly 2549 ISBN 974 9980 70 0aehlngkhxmulxun aekikhNecrosis causes details and definition Archived 2009 05 31 thi ewyaebkaemchchin Undersea and Hyperbaric Medical Society Necrotizing Soft Tissue Infections khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2008 07 05 subkhnemux 2008 07 25 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kartayechphaaswn amp oldid 9558875, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม