fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบประสาท

ระบบประสาทของสัตว์ มีหน้าที่ในการออกคำสั่งการทำงานของกล้ามเนื้อ ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย และประมวลข้อมูลที่รับมาจากประสาทสัมผัสต่างๆ และสร้างคำสั่งต่าง ๆ (action) ให้อวัยวะต่าง ๆ ทำงาน (ดูเพิ่มเติมที่ ระบบประสาทกลาง)

ระบบประสาทของมนุษย์

ระบบประสาทของสัตว์ที่มีสมองจะมีความคิดและอารมณ์ ระบบประสาทจึงเป็นส่วนของร่างกายที่ทำให้สัตว์มีการเคลื่อนไหว (ยกเว้นสัตว์ชั้นต่ำที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เช่น ฟองน้ำ) สารเคมีที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทหรือเส้นประสาท (nerve) เรียกว่า สารที่มีพิษต่อระบบประสาท (neurotoxin) ซึ่งมักจะมีผลทำให้เป็นอัมพาต หรือตายได้

ลักษณะทางกายวิภาค

ระบบประสาทประกอบด้วยเซลล์สองประเภท คือ

  • เซลล์ประสาท (nerve cell) หรือ นิวรอน (neuron) เป็นเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบหลักของระบบประสาท
  • เซลล์เกลีย (glia) เป็นเซลล์สำคัญรองจากนิวรอนมีหน้าที่ในการลำเลียงอาหารมาให้เซลล์ประสาท และเป็นองค์ประกอบของโครงสร้างของระบบประสาท

การส่งสัญญาณภายในระบบประสาทเกิดขึ้นได้ด้วยกลไกสองอย่าง คือ

ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังสามารถแบ่งได้เป็นสองส่วน คือ ระบบประสาทกลาง หรือ ซีเอ็นเอส(central nervous system - CNS) และ ระบบประสาทนอกส่วนกลาง หรือ พีเอ็นเอส (peripheral nervous system - PNS) ระบบประสาทกลางประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ระบบประสาทนอกส่วนกลางประกอบด้วยเส้นประสาทและนิวรอนที่ไม่ได้อยู่ในระบบประสาทกลาง โดยทั่วไปเรียกส่วนหลักของระบบประสาทนอกส่วนกลางว่า เส้นประสาท (ซึ่งจริง ๆ แล้วเป็น แกนประสาท หรือ แอกซอน (axon) ของเซลล์ประสาท) ระบบประสาทนอกส่วนกลางยังสามารถแบ่งออกเป็นระบบประสาทกาย (somatic nervous system) และระบบประสาทอิสระ (autonomic nervous system)

การจัดระบบของระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทนอกส่วนกลาง
(peripheral nervous system)
ระบบประสาทกาย
(somatic nervous system)
ระบบประสาทอิสระ
(autonomic nervous system)
ระบบประสาทซิมพาเทติก
(sympathetic nervous system)
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
(parasympathetic nervous system)
ระบบประสาทเอนเทอริก
(enteric nervous system)
ระบบประสาทกลาง
(central nervous system)

ระบบประสาทกาย มีหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายและรับสิ่งเร้า (stimulus) ต่าง ๆ จากภายนอกร่างกาย ระบบประสาทอิสระเป็นส่วนที่ไม่สามารถสั่งงานได้และมีหน้าที่ควบคุมอวัยวะภายในต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น หัวใจ, ปอด เป็นต้น

ระบบประสาทอิสระ ยังสามารถแบ่งออกเป็น ระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ระบบประสาทซิมพาเทติกจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นอันตรายหรือสถานการณ์ที่ตึงเครียด ระบบประสาทอันนี้ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นและเพิ่มความดันเลือด และเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย และทำให้เกิดความรู้สึกตื่นเต้น ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะทำงานตรงกันข้ามกับระบบประสาทซิมพาเทติก กล่าวคือ ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกจะทำงานเมื่อร่างกายรู้สึกผ่อนคลายหรือกำลังพัก มีผลทำให้รูม่านตาหดตัว, หัวใจเต้นช้าลง, เส้นเลือดขยายตัว และกระตุ้นให้ระบบย่อยอาหาร, ระบบสืบพันธุ์ และระบบขับถ่ายทำงานอีกด้วย

ระบบประสาทกลาง

ระบบประสาทกลาง ประกอบด้วย สมอง และไขสันหลัง

สมอง

ดูบทความหลักที่ สมอง

สมอง (brain) แบ่งออกเป็น 3 ส่วน

  • สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencepphalon) ประกอบด้วยเทเลนเซฟาลอน (telencephalo) และไดเอนเซฟาลอน (diencephalon) เทเลนเซฟาลอนคือสมองใหญ่ (cerebrum) ส่วนไดเอนเซฟาลอนประกอบด้วยไฮโปทาลามัส (hypothalamus) ทาลามัส (thalamus)
  • สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) ทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของก้านสมองและเป็นจุดศูนย์กลางของรีเฟล็กซ์เกี่ยวกับการมองเห็น (visual reflex) และรีเฟล็กซ์เกี่ยวกับการได้ยิน (auditory reflex) ประกอบด้วยซีรีบรัล พีดังเคิล (cerebral peduncle) และคอร์พอรา ควอไดรเจมินา (corpora quadrigemina) ซึ่งแบ่งออกเป็น ซุพีเรียร์ คอลลิคูไล (superior colliculi) 2 พู (lob) และอินฟีเรียร์ คอลลิคูไล (inferior colliculi) 2 พู
  • สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon) ประกอบด้วยเมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongate) สมองน้อย หรือ ซีรีเบลลัม (cerebellum) และ พอนส์ (pons)

สมอง มี 2 ชั้น (ตรงข้ามกับไขสันหลัง)

  1. เนื้อเทา (Gray matter) เป็นที่อยู่ของกระแสประสาทและแกนประสาท ที่ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม
  2. เนื้อขาว (White matter) เป็นที่อยู่ของแกนประสาทที่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม

เยื่อหุ้มสมอง

ดูบทความหลักที่: เยื่อหุ้มสมอง

เยื่อหุ้มสมอง (Meninges) 3 ชั้น คือ

  1. เยื่อหุ้มสมองชั้นนอก (Dura mater) เหนียว แข็งแรงมากโดยมีหน้าที่ป้องกันการกระทบกระเทือน
  2. เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง (Arachoid mater) เป็นเยื่อบางๆ
  3. เยื่อหุ้มสมองชั้นใน (Pia mater) มีเส้นเลือดแทรกมากมายทำหน้าที่ส่งอาหารไปเลี้ยงสมอง ในระหว่างชั้นกลางกับชั้นในจะมีการบรรจุของเหลวที่เรียกว่า น้ำเลี้ยงสมองไขสันหลัง โดยจะทำหน้าที่ให้สมองและไขสันหลังเปียกชื้นอยู่เสมอ

ไขสันหลัง

ไขสันหลัง (spinal cord) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ส่วน คือ

  1. เนื้อขาว (White matter) เป็นส่วนที่มีสีขาวรอบนอก ไม่มีเซลล์ประสาทจะมีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม
  2. เนื้อเทา (Gray matter) เป็นส่วนสีเทา ประกอบด้วยใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอิลินหุ้ม และตัวเซลล์ประสาทซึ่งมีทั้งประเภทประสานงานและนำคำสั่ง

โครงสร้างของไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง

  1. ปีกบน (dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก
  2. ปีกล่าง (ventral horn) เป็นบริเวณนำคำสั่ง
  3. ปีกข้าง (lateral horn) เป็นบริเวณระบบประสาท

เซลล์ประสาท

ดูบทความหลักที่ เซลล์ประสาท

เซลล์ประสาท ส่วนประกอบของเซลล์ประสาท

  1. ตัวเซลล์ (cell body หรือ soma) มีส่วนประกอบเหมือนเซลล์ทั่วๆไป เช่น นิวเคลียส ไมโทคอนเดรีย
  2. ใยประสาท (nerve fiber) คือส่วนของโปรโตพลาสซึมของเซลล์ที่ยื่นออกไปมี 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทขั้วเดียว เซลล์ประสาท 2 ขั้ว และเซลล์ประสาทหลายขั้ว

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Neuroscience for Kids
  • The Human Brain Project Homepage
  • Kimball's Biology Pages, CNS
  • Kimball's Biology Pages, PNS
  • Addrena Reviews

ระบบประสาท, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, ของส, ตว, หน, าท, ในการออ. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir rabbprasathkhxngstw mihnathiinkarxxkkhasngkarthangankhxngklamenux khwbkhumkarthangankhxngxwywatang inrangkay aelapramwlkhxmulthirbmacakprasathsmphstang aelasrangkhasngtang action ihxwywatang thangan duephimetimthi rabbprasathklang rabbprasathkhxngmnusy rabbprasathkhxngstwthimismxngcamikhwamkhidaelaxarmn rabbprasathcungepnswnkhxngrangkaythithaihstwmikarekhluxnihw ykewnstwchntathiimsamarthekhluxnihwidechn fxngna sarekhmithimivththitxrabbprasathhruxesnprasath nerve eriykwa sarthimiphistxrabbprasath neurotoxin sungmkcamiphlthaihepnxmphat hruxtayid enuxha 1 lksnathangkaywiphakh 2 rabbprasathkhxngstwmikraduksnhlng 3 rabbprasathklang 3 1 smxng 3 1 1 eyuxhumsmxng 3 2 ikhsnhlng 3 2 1 okhrngsrangkhxngikhsnhlngaelaesnprasathikhsnhlng 4 esllprasath 5 duephim 6 aehlngkhxmulxunlksnathangkaywiphakh aekikhrabbprasathprakxbdwyesllsxngpraephth khux esllprasath nerve cell hrux niwrxn neuron epnesllthiepnswnprakxbhlkkhxngrabbprasath esllekliy glia epnesllsakhyrxngcakniwrxnmihnathiinkarlaeliyngxaharmaihesllprasath aelaepnxngkhprakxbkhxngokhrngsrangkhxngrabbprasathkarsngsyyanphayinrabbprasathekidkhuniddwykliksxngxyang khux karsngsyyanphayinesniyprasath nerve fiber odywithikhxngskyangan action potential karsngsyyanrahwangniwrxnodyxasysarsuxprasath neurotransmitter briewncudprasanprasath synapse rabbprasathkhxngstwmikraduksnhlng aekikhrabbprasathkhxngstwmikraduksnhlngsamarthaebngidepnsxngswn khux rabbprasathklang hrux siexnexs central nervous system CNS aela rabbprasathnxkswnklang hrux phiexnexs peripheral nervous system PNS rabbprasathklangprakxbdwysmxngaelaikhsnhlng rabbprasathnxkswnklangprakxbdwyesnprasathaelaniwrxnthiimidxyuinrabbprasathklang odythwiperiykswnhlkkhxngrabbprasathnxkswnklangwa esnprasath sungcring aelwepn aeknprasath hrux aexksxn axon khxngesllprasath rabbprasathnxkswnklangyngsamarthaebngxxkepnrabbprasathkay somatic nervous system aelarabbprasathxisra autonomic nervous system karcdrabbkhxngrabbprasathinstwmikraduksnhlng rabbprasathnxkswnklang peripheral nervous system rabbprasathkay somatic nervous system rabbprasathxisra autonomic nervous system rabbprasathsimphaethtik sympathetic nervous system rabbprasathpharasimphaethtik parasympathetic nervous system rabbprasathexnethxrik enteric nervous system rabbprasathklang central nervous system rabbprasathkay mihnathikhwbkhumkarekhluxnihwkhxngrangkayaelarbsingera stimulus tang cakphaynxkrangkay rabbprasathxisraepnswnthiimsamarthsngnganidaelamihnathikhwbkhumxwywaphayintang inrangkay echn hwic pxd epntnrabbprasathxisra yngsamarthaebngxxkepn rabbprasathsimphaethtik aelarabbprasathpharasimphaethtik rabbprasathsimphaethtikcatxbsnxngtxsingerathiepnxntrayhruxsthankarnthitungekhriyd rabbprasathxnnithaihhwicetnerwkhunaelaephimkhwamdneluxd aelaepliynaeplngsrirwithyakhxngrabbtang khxngrangkay aelathaihekidkhwamrusuktunetn rabbprasathpharasimphaethtikcathangantrngknkhamkbrabbprasathsimphaethtik klawkhux rabbprasathpharasimphaethtikcathanganemuxrangkayrusukphxnkhlayhruxkalngphk miphlthaihrumantahdtw hwicetnchalng esneluxdkhyaytw aelakratunihrabbyxyxahar rabbsubphnthu aelarabbkhbthaythanganxikdwyrabbprasathklang aekikhrabbprasathklang prakxbdwy smxng aelaikhsnhlng smxng aekikh dubthkhwamhlkthi smxngsmxng brain aebngxxkepn 3 swn smxngswnhna forebrain hrux prosencepphalon prakxbdwyethelnesfalxn telencephalo aelaidexnesfalxn diencephalon ethelnesfalxnkhuxsmxngihy cerebrum swnidexnesfalxnprakxbdwyihopthalams hypothalamus thalams thalamus smxngswnklang midbrain hrux mesencephalon thahnathiepnswnhnungkhxngkansmxngaelaepncudsunyklangkhxngrieflksekiywkbkarmxngehn visual reflex aelarieflksekiywkbkaridyin auditory reflex prakxbdwysiribrl phidngekhil cerebral peduncle aelakhxrphxra khwxidrecmina corpora quadrigemina sungaebngxxkepn suphieriyr khxllikhuil superior colliculi 2 phu lob aelaxinfieriyr khxllikhuil inferior colliculi 2 phu smxngswnthay hindbrain hrux rhombencephalon prakxbdwyemdllaxxblxngkata medulla oblongate smxngnxy hrux siriebllm cerebellum aela phxns pons smxng mi 2 chn trngkhamkbikhsnhlng enuxetha Gray matter epnthixyukhxngkraaesprasathaelaaeknprasath thiimmieyuximxilinhum enuxkhaw White matter epnthixyukhxngaeknprasaththimieyuximxilinhumeyuxhumsmxng aekikh dubthkhwamhlkthi eyuxhumsmxng eyuxhumsmxng Meninges 3 chn khux eyuxhumsmxngchnnxk Dura mater ehniyw aekhngaerngmakodymihnathipxngknkarkrathbkraethuxn eyuxhumsmxngchnklang Arachoid mater epneyuxbang eyuxhumsmxngchnin Pia mater miesneluxdaethrkmakmaythahnathisngxaharipeliyngsmxng inrahwangchnklangkbchnincamikarbrrcukhxngehlwthieriykwa naeliyngsmxngikhsnhlng odycathahnathiihsmxngaelaikhsnhlngepiykchunxyuesmxikhsnhlng aekikh ikhsnhlng spinal cord prakxbdwyenuxeyux 2 swn khux enuxkhaw White matter epnswnthimisikhawrxbnxk immiesllprasathcamiechphaaiyprasaththimieyuximxilinhum enuxetha Gray matter epnswnsietha prakxbdwyiyprasaththiimmieyuximxilinhum aelatwesllprasathsungmithngpraephthprasannganaelanakhasngokhrngsrangkhxngikhsnhlngaelaesnprasathikhsnhlng aekikh pikbn dorsal horn epnbriewnrbkhwamrusuk piklang ventral horn epnbriewnnakhasng pikkhang lateral horn epnbriewnrabbprasathesllprasath aekikhdubthkhwamhlkthi esllprasathesllprasath swnprakxbkhxngesllprasath twesll cell body hrux soma miswnprakxbehmuxnesllthwip echn niwekhliys imothkhxnedriy iyprasath nerve fiber khuxswnkhxngoprotphlassumkhxngesllthiyunxxkipmi 2 chnidkhux esllprasathkhwediyw esllprasath 2 khw aelaesllprasathhlaykhwduephim aekikhprasathwithyasastr prasathsmphs prasathkaridyin prasathkarmxngehn prasathkaridklin prasathkarrbrs prasaththangrangkayaehlngkhxmulxun aekikhNeuroscience for Kids The Human Brain Project Homepage Kimball s Biology Pages CNS Kimball s Biology Pages PNS Addrena Reviews bthkhwamekiywkbkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi okhrngkarwikikaywiphakhsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbprasath amp oldid 9430592, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม