ปรัชญาการเมือง (อังกฤษ: political philosophy) เป็นสาขาวิชาหนึ่งขององค์ความรู้ในวิชารัฐศาสตร์ ปรัชญาการเมืองเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดเนื่องจากเป็นวิชาที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ราวศตววษที่ 5 ก่อนคริสตกาลในดินแดนคาบสมุทธเพลอพอนเนซุส หรือดินแดนของประเทศกรีซในปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของวิชาปรัชญาการเมืองเกิดขึ้นในนครรัฐที่ชื่อว่าเอเธนส์ในช่วงที่เอเธนส์เริ่มเปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากระบบอภิสิทธ์ชนธิปไตย (Aristocracy) มาเป็นประชาธิปไตยโบราณ (Demokratia)
นิยาม
สารานุกรมปรัชญาของรูธเลท (Routledge Internet Encyclopedia of Philosophy) นิยามวิชาปรัชญาการเมืองว่าเป็นกระบวนการสะท้อนความคิดทางปรัชญา ในเรื่องการจัดการชีวิตสาธารณะให้มีความเหมาะสม เหมาะควร ผ่านการครุ่นคิดว่าสถาบันทางการเมืองแบบใดที่ดีที่สุด กิจกรรมทางการเมืองแบบใดที่ดีที่สุด ฯลฯ ส่วนสารานุกรรมปรัชญา (Internet Encyclopedia of Philosophy) อธิบายว่า ปรัชญาการเมืองคือการแสวงหาชีวิตที่ดี แสวงหาชีวิตที่ควรจะเป็น แสวงหาค่านิยมที่ดีในการปกครอง สถาบันทางสังคมที่ดีในการปกครอง
เมื่อแยกพิจารณาคำว่าปรัชญาการเมืองในภาษาอังกฤษโดยทางนิรุกติศาสตร์แล้ว จะพบว่า Philosophy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณว่า Φιλοσοφος (philosophos) เกิดจากการสนธิของคำว่า philos (มิตรภาพ) และ sophia (ปัญญา) ที่แปลตรงตัวว่า “มิตรภาพกับปัญญา” หรือแปลเทียบเคียงได้ว่า “การไฝ่รู้หรือความไฝ่รู้” อย่างไรก็ดีในวงวิชาการไทยมักแปลผิดเป็น "ความรักในความรู้" ทั้งที่คำว่าความรักในภาษากรีกนั้นคือ 'ερως ('eros) หรือ αγάπη (aga'pe) ซึ่งมักเป็นคำที่ถูกใช้แสดงอารมณ์ ส่วนคำว่าความรู้นั้นคือ επιστήμη (episte'me) ซึ่งหมายถึงความรู้ที่แท้จริงที่มนุษย์อาจเข้าถึงหรือเข้าไม่ถึงก็ได้ ปรัชญาจึงไม่ใช่ความรอบรู้ นักปรัชญาจึงไม่ใช่ผู้รู้หรือครู (sophist) การแปลคำว่าปรัชญาในภาษาอังกฤษว่า "ความรักในความรู้" จึงถือว่าแปลไม่ถูกต้องตามรากศัพท์ เพราะไม่ได้ครอบคลุมนิยามที่ว่าปรัชญาเป็นความรักที่จะเรียนรู้หรือแสวงหาความรู้ นักปรัชญาจึงมีลักษณะแบบนักสงสัย (sceptic) และนักแสวงหาความรู้ ว่าไปแล้วนักปรัชญาจึงมีลักษณะของนักเรียนตลอดชีพมากกว่าผู้รู้ที่ทรงภูมิตามความหมายแบบตะวันออก
ส่วนคำว่าการเมืองในทางรัฐศาสตร์เป็นเรื่องทางสังคมศาสตร์ของการกำหนดมุมมองของผู้คนให้มองเห็น หรือเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ในทางรัฐศาสตร์การเมืองนั้นมีความหมายอย่างน้อย 2 ระดับ (senses) คือ
- ในระดับที่แคบที่สุดคือ รัฐบาล (the narrowest sense : what governments do?) ซึ่งเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐหรือรัฐบาลกระทำสิ่งใดขึ้นมา และ
- ในระดับที่กว้างที่สุดคือความสัมพันธ์ในสังคม (the widest sense : people exercising power over others) เป็นเรื่องที่คนในสังคมการเมืองใช้อำนาจต่อกัน
นอกจากนี้การเมืองยังได้สร้างสำนึกในเรื่องความรับผิดชอบขึ้นด้วยเพราะการเมืองพยายามสร้างการรับผิดชอบต่อสิ่งที่เป็นส่วนรวม/สาธารณะ (public affairs) อาทิ การเมือง ธุรกิจ การค้า การทำงาน ศิลปะ ฯลฯ) ไม่ใช่เพียงคิดถึงเรื่องส่วนตัว (private sphere) ในขณะเดียวกันพื้นที่ส่วนตัว อาทิ ครอบครัว เรื่องในบ้าน ความสัมพันธ์ส่วนตัว ฯลฯ ควรเป็นเรื่องของเสรีภาพของคน รัฐไม่ควรเข้าไปแทรกแซง
ดังนั้นหากกล่าวโดยสรุป "ปรัชญาการเมืองจึงเป็นวิชาที่เป็นการแสวงหาความเข้าใจในแนวคิดต่างๆที่นำเสนอกระบวนการทางอำนาจในการกำหนดมุมมองของผู้คนให้มองเห็น หรือเข้าใจในสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม"
อ้างอิง
- Thomas Alan Sinclair. A History Of Greek Political Thought. Cleveland and New York: Meridian, 1967.
- http://www.rep.routledge.com/article/S099
- http://www.iep.utm.edu/polphil/
- พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ความรู้พื้นฐานในทางรัฐศาสตร์ (ภาคความคิด). มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552
- Stephen D. Tansey. Politics : the basic. (3rd Edition) (London : Routledge, 2004), p.3.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
prchyakaremuxng xngkvs political philosophy epnsakhawichahnungkhxngxngkhkhwamruinwicharthsastr prchyakaremuxngepnwichathiekaaekthisudenuxngcakepnwichathiekidkhunmatngaetrawstwwsthi 5 kxnkhristkalindinaednkhabsmuththephlxphxnensus hruxdinaednkhxngpraethskrisinpccubn cuderimtnkhxngwichaprchyakaremuxngekidkhuninnkhrrththichuxwaexethnsinchwngthiexethnserimepliynrupaebbkarpkkhrxngcakrabbxphisiththchnthipity Aristocracy maepnprachathipityobran Demokratia ephlot say aela xrisotetil khwa ecakhxngphlnganprchyathangkaremuxngthithrngxiththiphl xutmrthaela insmykrikobranniyamsaranukrmprchyakhxngruthelth Routledge Internet Encyclopedia of Philosophy niyamwichaprchyakaremuxngwaepnkrabwnkarsathxnkhwamkhidthangprchya ineruxngkarcdkarchiwitsatharnaihmikhwamehmaasm ehmaakhwr phankarkhrunkhidwasthabnthangkaremuxngaebbidthidithisud kickrrmthangkaremuxngaebbidthidithisud l swnsaranukrrmprchya Internet Encyclopedia of Philosophy xthibaywa prchyakaremuxngkhuxkaraeswnghachiwitthidi aeswnghachiwitthikhwrcaepn aeswnghakhaniymthidiinkarpkkhrxng sthabnthangsngkhmthidiinkarpkkhrxng emuxaeykphicarnakhawaprchyakaremuxnginphasaxngkvsodythangniruktisastraelw caphbwa Philosophy miraksphthmacakphasakrikobranwa Filosofos philosophos ekidcakkarsnthikhxngkhawa philos mitrphaph aela sophia pyya thiaepltrngtwwa mitrphaphkbpyya hruxaeplethiybekhiyngidwa karifruhruxkhwamifru xyangirkdiinwngwichakarithymkaeplphidepn khwamrkinkhwamru thngthikhawakhwamrkinphasakriknnkhux erws eros hrux agaph aga pe sungmkepnkhathithukichaesdngxarmn swnkhawakhwamrunnkhux episthmh episte me sunghmaythungkhwamruthiaethcringthimnusyxacekhathunghruxekhaimthungkid prchyacungimichkhwamrxbru nkprchyacungimichphuruhruxkhru sophist karaeplkhawaprchyainphasaxngkvswa khwamrkinkhwamru cungthuxwaaeplimthuktxngtamraksphth ephraaimidkhrxbkhlumniyamthiwaprchyaepnkhwamrkthicaeriynruhruxaeswnghakhwamru nkprchyacungmilksnaaebbnksngsy sceptic aelankaeswnghakhwamru waipaelwnkprchyacungmilksnakhxngnkeriyntlxdchiphmakkwaphuruthithrngphumitamkhwamhmayaebbtawnxxk swnkhawakaremuxnginthangrthsastrepneruxngthangsngkhmsastrkhxngkarkahndmummxngkhxngphukhnihmxngehn hruxekhaicinsingtang thiekidkhuninsngkhm inthangrthsastrkaremuxngnnmikhwamhmayxyangnxy 2 radb senses khux inradbthiaekhbthisudkhux rthbal the narrowest sense what governments do sungepneruxngthiekiywkberuxngthirthhruxrthbalkrathasingidkhunma aela inradbthikwangthisudkhuxkhwamsmphnthinsngkhm the widest sense people exercising power over others epneruxngthikhninsngkhmkaremuxngichxanactxkn nxkcaknikaremuxngyngidsrangsanukineruxngkhwamrbphidchxbkhundwyephraakaremuxngphyayamsrangkarrbphidchxbtxsingthiepnswnrwm satharna public affairs xathi karemuxng thurkic karkha karthangan silpa l imichephiyngkhidthungeruxngswntw private sphere inkhnaediywknphunthiswntw xathi khrxbkhrw eruxnginban khwamsmphnthswntw l khwrepneruxngkhxngesriphaphkhxngkhn rthimkhwrekhaipaethrkaesng dngnnhakklawodysrup prchyakaremuxngcungepnwichathiepnkaraeswnghakhwamekhaicinaenwkhidtangthinaesnxkrabwnkarthangxanacinkarkahndmummxngkhxngphukhnihmxngehn hruxekhaicinsingtang thiekidkhuninsngkhm xangxingThomas Alan Sinclair A History Of Greek Political Thought Cleveland and New York Meridian 1967 http www rep routledge com article S099 http www iep utm edu polphil phisisthikul aekwngam khwamruphunthaninthangrthsastr phakhkhwamkhid mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 p 3 duephimrthsastr thvsdikaremuxng xudmkarnthangkaremuxng bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk