fbpx
วิกิพีเดีย

การกระจายอย่างเป็นธรรม

การกระจายอย่างเป็นธรรม (Distributive Justice) เป็นหลักการพื้นฐานที่สุดที่ใช้กำกับหรือกำหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ของคนและสถาบันในสังคม อันเกี่ยวข้องกับการกระจายประโยชน์ และสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม การเข้าถึงทรัพยากร รวมถึงโอกาสที่จะได้รับสิทธิบางอย่าง และการกำหนดภาระหน้าที่ให้แก่สมาชิกในสังคม (Kurian, 2011: 446; Rawls, 1971: 4) การกระจายอย่างเป็นธรรมมีหลายแนวคิดแตกต่างกันออกไป เช่น หลักการกระจายที่เน้นความเท่าเทียมกันอย่างเด็ดขาด (Strict Egalitarianism) หลักการกระจายแบบประโยชน์นิยม (Utilitarianism–Based Principle) หลักที่มีฐานจากความแตกต่าง (Difference-Based Principle) หลักการกระจายแบบเสรีภาพนิยม ที่ขึ้นอยู่กับความสามารถของคนบุคคล (Libertarian Principle) และหลักการกระจายตามความเหมาะสม (Desert-based Principle) เป็นต้น

อรรถาธิบาย

สำหรับที่มาของแนวคิดการกระจายอย่างเป็นธรรม พบว่ามีการถกเถียงในประเด็นนี้ตั้งแต่สมัยโบราณ ถ้านับย้อนไปก็จะเห็นได้ชัดเจนในงานของอริสโตเติลเรื่อง “Politics” และแนวคิดดังกล่าวได้กลายมาเป็นข้อถกเถียงที่สำคัญและเผยแพร่ไปตามที่ต่างๆ อย่างกว้างขวางในช่วงทศวรรษ 1970s เมื่อนักปรัชญาอเมริกัน จอห์น รอลส์ (John Rawls) ได้เขียนงานชิ้นสำคัญเรื่อง “ทฤษฎีความเป็นธรรม” (A Theory of Justice, ค.ศ. 1971) งานชิ้นนี้ได้เสนอหลักการกระจายผลประโยชน์ในสังคมว่า ความไม่เท่าเทียมใดๆ ในสังคมนั้น จะยอมให้เกิดขึ้นได้ก็เพียงเพื่อให้คนที่ด้อยโอกาสที่สุดในสังคมได้รับโอกาสยกระดับฐานะของตัวเองให้เท่าเทียมขึ้น หลักการดังกล่าวของรอลส์นี้เรียกว่า หลักที่มีฐานจากความแตกต่าง (Difference-Based Principle) หลักการดังกล่าวได้กลายมาเป็นหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมที่มีอิทธิพลที่สุดแบบหนึ่งในปัจจุบัน

หลังจากงานของรอลส์ ที่ได้นำเสนอแนวคิดความเป็นธรรมออกมาสู่สังคม ก็เกิดการถกเถียงอย่างกว้างขวาง โดยผู้ที่ไม่เห็นด้วยท่านหนึ่งที่ถือได้ว่าโจมตีงานของรอลส์ มากที่สุดก็คือ โรเบิร์ต โนซิค (Robert Nozick) โนซิคได้เขียนงานเพื่อโจมตีรอลส์โดยตรงพร้อมกับเสนอความเป็นธรรมอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า ความเป็นธรรมแบบเสรีนิยม (Liberalism) งานของโนซิคชื่อว่า “State, Anarchy and Utopia” ความเป็นธรรมแบบเสรีนิยมของโนซิค ตั้งอยู่บนฐานคิดในเรื่องกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนบุคคล (Rights of Private Property) กล่าวคือรัฐควรปล่อยให้ทุกๆคนทำมาหากินตามความสามารถของตน และเมื่อใดก็ตามที่เอกชนหาทรัพย์สินมาได้ด้วยวิธีการตามกฎหมาย รัฐก็ไม่สามารถไปยึดเอาทรัพย์สินของเอกชนมาจัดสรรใหม่ให้กับคนด้อยโอกาสในสังคม โนซิคมีมุมมองว่าการที่รัฐไปยึดเอาทรัพย์สินบุคคลไม่ว่าจะเป็นไปในรูปของการเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า หรือด้วยวิธีการอื่นใด เป็นเรื่องที่ไม่ชอบธรรม เพราะบุคคลเป็นคนลงมือลงแรงจนได้ทรัพย์สินมา แต่กระนั้นคนรวยหรือเอกชนอาจจะแบ่งปันผลประโยชน์ให้กับคนด้อยโอกาสในรูปของการสงเคราะห์ด้วยความสมัครใจได้ แต่จะไม่ใช่ด้วยการใช้อำนาจรัฐเข้าไปยึดมาเพื่อกระจายแบ่งสรร (Nozick, 2001)

นอกจากนี้ ยังมีหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมในแบบอื่นๆ อีก ยกตัวอย่างเช่น แบบดั้งเดิมที่สุดก็คือ การกระจายผลประโยชน์แบบเท่าเทียมกันอย่างเข้มงวด กล่าวคือทุกคนได้รับผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกันโดยที่จะไม่นำความด้อยโอกาส ความต้องการ หรือความสามารถมาพิจารณาร่วม เช่น แม่อยากแบ่งเค้กให้กับลูกสามคน คนโตตัวผอมกินได้น้อย คนกลางมีกระเพาะใหญ่ต้องกินมากถึงจะอิ่ม ส่วนคนเล็กไม่ชอบกินเค้ก เมื่อถึงเวลาแบ่งเค้กแม่แบ่งโดยให้ทั้งสามคนเท่าๆ กัน วิธีการแบ่งแบบนี้คือการแบ่งโดยยึดหลักการเท่าเทียมกันอย่างเข้มงวด

หลักการกระจายอย่างเป็นธรรมในแบบสุดท้ายที่จะกล่าวถึงในที่นี้ก็คือ การกระจายแบบประโยชน์นิยม ซึ่งหลักประโยชน์นิยมนั้นมีวิธีคิดสำคัญคือ จะก่อให้เกิดประโยชน์ หรือความสุขที่มากที่สุดต่อคนจำนวนมากที่สุด ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามีการกระจายผลประโยชน์แก่คนจนแล้วจะทำให้เกิดความสุขมากที่สุดต่อคนจำนวนมากที่สุด นโยบายดังกล่าวก็ถือว่าเป็นการกระจายตามหลักการนี้ แต่กระนั้นถ้าสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปจนมีเหตุให้ความสุขของคนจำนวนมากลดน้อยลง นโยบายนั้นก็จำเป็นจะต้องเปลี่ยนแปลงไป กล่าวง่ายๆ ก็คือหลักการของพวกประโยชน์นิยมไม่มีวิธีการที่ตายตัวเหมือนอย่างหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมแบบอื่น เพราะสิ่งเดียวที่นักคิดแบบประโยชน์นิยมคำนึงก็คือ การทำให้เกิดความสุขมากที่สุดแก่คนจำนวนมากที่สุด

ประเด็นเรื่องการกระจายและจัดสรรผลประโยชน์ ในหลายกรณีสัมพันธ์กับแนวคิดอนุรักษ์นิยม และแนวคิดเสรีนิยม โดยแนวคิดอนุรักษ์นิยมจะมองว่าการแบ่งสรรที่เป็นธรรม คือทุกคนต่างขวนขวายแย่งชิงทรัพยากรและสิ่งที่มีค่าในสังคมบนความสามารถและคุณสมบัติของตัวเอง ไม่ว่าจะแข็งแรงกว่า สูงกว่า รวยกว่า หรือมีคุณสมบัติอื่นๆ ที่เอื้อต่อการต่อสู้แย่งชิง แต่หากมองในมุมของแนวคิดเสรีนิยมแล้ว สังคมควรปรับให้การขวนขวายเข้าถึงทรัพยากรมีความเป็นธรรมโดยเอื้อให้คนที่แข็งแรงน้อยกว่า หรือด้อยโอกาสกว่าสามารถเข้าถึงทรัพยากรได้เท่าๆ กับคนที่แข็งแรงกว่า

ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย

ในประเทศไทยนั้น แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอย่างเป็นธรรมปรากฏในหลักข้อที่สามของหลักหกประการของคณะราษฎรอันได้แก่ “เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา" หลักเศรษฐกิจที่คณะราษฎรต้องการจัดการทางเศรษฐกิจโดยไม่ปล่อยให้ประชาชนอดอยาก ถือว่าตั้งอยู่บนหลักการกระจายอย่างเป็นธรรม มากไปกว่านั้น ในสมุดปกเหลือง หรือ เค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ก็มีการจัดวางรูปแบบทางเศรษฐกิจที่ผสมผสานหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมในหลายๆ แบบ ด้วยเหตุนี้ จึงกล่าวได้ว่าแนวคิดในเรื่องการกระจายประโยชน์ในสังคมได้เริ่มก่อรูปก่อร่างตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ต่อมาในช่วงที่เกิดวิกฤติการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 สังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ความเป็นสมัยใหม่มากขึ้น ความคิดของคนมีลักษณะก้าวหน้าซึ่งนำไปสู่การตั้งคำถามในหลายๆ เรื่องเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันและเรื่องหนึ่งที่ไม่สามารถหลีกหนีพ้นได้นั่นก็คือ การกระจายรายได้หรือทรัพยากรในสังคม ซึ่งประเด็นหลักที่ผู้คนในสมัยนั้นโดยเฉพาะนิสิตนักศึกษาตั้งคำถาม คือทำไมประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเมื่อเทียบกับอดีต แต่ยิ่งมีความเจริญมากขึ้นเท่าไรความเหลื่อมล้ำของประชาชนยิ่งทวีมากขึ้นตามไปด้วย ความไม่พอใจในการกระจายที่ไม่เป็นธรรม ได้กลายเป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การโค่นล้มเผด็จการทหารและสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ้นมาในช่วงสั้นๆ (กุลภา วจนสาร, 2554, 32)

ในปัจจุบัน การตั้งคำถามถึงความเป็นธรรมในการกระจายประโยชน์ยิ่งพบเห็นได้มากขึ้น ท่ามกลางการชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง ประเด็นหนึ่งที่กลุ่มคนเสื้อแดงพยายามที่จะชูขึ้นก็คือการเรียกร้องให้มีการกระจายรายได้ (ซึ่งรวมถึงสิทธิต่างๆ ของพลเมือง) ให้เท่าเทียมมากขึ้น (นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2554) หากพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์จีนี (Gini coefficient) ซึ่งเป็นดัชนีบ่งชี้ความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้หรือการกระจายความร่ำรวยของคนในสังคมแล้ว จะพบว่าประเทศไทย มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี ที่สะท้อนระดับของการกระจายรายได้ต่ำ และความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ในโลก

อ้างอิง

  1. Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
  2. Rawls, John (1971). A theory of justice. Cambridge : The Belknap Press of Harvard University Press.
  3. Nozick, Robert (2001). Anarchy, state, and utopia. Oxford: Blackwell.
  4. Barry, Brian (1989). Theories of Justice. London: Harvester Wheatsheaf.
  5. กุลภา วจนสาระ (2554). มองหาความเป็นธรรมในสังคมไทยผ่านคนชายขอบ. เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www2.ipsr.mahidol.ac.th/ConferenceVIII/Download/Article_Files/1-SocialJustice-Kulapa.pdf.
  6. นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2554). ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นนำและการเมืองภาคประชาชน. เข้าถึงวันที่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.prachatham.com/detail.htm?code=i1_14072011_01.

การกระจายอย, างเป, นธรรม, distributive, justice, เป, นหล, กการพ, นฐานท, ดท, ใช, กำก, บหร, อกำหนดโครงสร, างความส, มพ, นธ, ของคนและสถาบ, นในส, งคม, นเก, ยวข, องก, บการกระจายประโยชน, และส, งท, ณค, าในส, งคม, การเข, าถ, งทร, พยากร, รวมถ, งโอกาสท, จะได, บส, ทธ, บาง. karkracayxyangepnthrrm Distributive Justice epnhlkkarphunthanthisudthiichkakbhruxkahndokhrngsrangkhwamsmphnthkhxngkhnaelasthabninsngkhm xnekiywkhxngkbkarkracaypraoychn aelasingthimikhunkhainsngkhm karekhathungthrphyakr rwmthungoxkasthicaidrbsiththibangxyang aelakarkahndpharahnathiihaeksmachikinsngkhm Kurian 2011 446 Rawls 1971 4 1 2 karkracayxyangepnthrrmmihlayaenwkhidaetktangknxxkip echn hlkkarkracaythiennkhwamethaethiymknxyangeddkhad Strict Egalitarianism hlkkarkracayaebbpraoychnniym Utilitarianism Based Principle hlkthimithancakkhwamaetktang Difference Based Principle hlkkarkracayaebbesriphaphniym thikhunxyukbkhwamsamarthkhxngkhnbukhkhl Libertarian Principle aelahlkkarkracaytamkhwamehmaasm Desert based Principle epntnxrrthathibay aekikhsahrbthimakhxngaenwkhidkarkracayxyangepnthrrm phbwamikarthkethiynginpraednnitngaetsmyobran thanbyxnipkcaehnidchdecninngankhxngxrisotetileruxng Politics aelaaenwkhiddngklawidklaymaepnkhxthkethiyngthisakhyaelaephyaephriptamthitang xyangkwangkhwanginchwngthswrrs 1970s emuxnkprchyaxemrikn cxhn rxls John Rawls idekhiynnganchinsakhyeruxng thvsdikhwamepnthrrm A Theory of Justice kh s 1971 nganchinniidesnxhlkkarkracayphlpraoychninsngkhmwa khwamimethaethiymid insngkhmnn cayxmihekidkhunidkephiyngephuxihkhnthidxyoxkasthisudinsngkhmidrboxkasykradbthanakhxngtwexngihethaethiymkhun hlkkardngklawkhxngrxlsnieriykwa hlkthimithancakkhwamaetktang Difference Based Principle hlkkardngklawidklaymaepnhlkkarkracayxyangepnthrrmthimixiththiphlthisudaebbhnunginpccubnhlngcakngankhxngrxls thiidnaesnxaenwkhidkhwamepnthrrmxxkmasusngkhm kekidkarthkethiyngxyangkwangkhwang odyphuthiimehndwythanhnungthithuxidwaocmtingankhxngrxls makthisudkkhux orebirt onsikh Robert Nozick onsikhidekhiynnganephuxocmtirxlsodytrngphrxmkbesnxkhwamepnthrrmxikrupaebbhnungthieriykwa khwamepnthrrmaebbesriniym Liberalism ngankhxngonsikhchuxwa State Anarchy and Utopia khwamepnthrrmaebbesriniymkhxngonsikh tngxyubnthankhidineruxngkrrmsiththiinthrphysinswnbukhkhl Rights of Private Property klawkhuxrthkhwrplxyihthukkhnthamahakintamkhwamsamarthkhxngtn aelaemuxidktamthiexkchnhathrphysinmaiddwywithikartamkdhmay rthkimsamarthipyudexathrphysinkhxngexkchnmacdsrrihmihkbkhndxyoxkasinsngkhm onsikhmimummxngwakarthirthipyudexathrphysinbukhkhlimwacaepnipinrupkhxngkarekbphasixtrakawhna hruxdwywithikarxunid epneruxngthiimchxbthrrm ephraabukhkhlepnkhnlngmuxlngaerngcnidthrphysinma aetkrannkhnrwyhruxexkchnxaccaaebngpnphlpraoychnihkbkhndxyoxkasinrupkhxngkarsngekhraahdwykhwamsmkhricid aetcaimichdwykarichxanacrthekhaipyudmaephuxkracayaebngsrr Nozick 2001 3 nxkcakni yngmihlkkarkracayxyangepnthrrminaebbxun xik yktwxyangechn aebbdngedimthisudkkhux karkracayphlpraoychnaebbethaethiymknxyangekhmngwd klawkhuxthukkhnidrbphlpraoychnxyangethaethiymknodythicaimnakhwamdxyoxkas khwamtxngkar hruxkhwamsamarthmaphicarnarwm echn aemxyakaebngekhkihkbluksamkhn khnottwphxmkinidnxy khnklangmikraephaaihytxngkinmakthungcaxim swnkhnelkimchxbkinekhk emuxthungewlaaebngekhkaemaebngodyihthngsamkhnetha kn withikaraebngaebbnikhuxkaraebngodyyudhlkkarethaethiymknxyangekhmngwdhlkkarkracayxyangepnthrrminaebbsudthaythicaklawthunginthinikkhux karkracayaebbpraoychnniym sunghlkpraoychnniymnnmiwithikhidsakhykhux cakxihekidpraoychn hruxkhwamsukhthimakthisudtxkhncanwnmakthisud yktwxyangechn thamikarkracayphlpraoychnaekkhncnaelwcathaihekidkhwamsukhmakthisudtxkhncanwnmakthisud noybaydngklawkthuxwaepnkarkracaytamhlkkarni aetkrannthasingaewdlxmepliynaeplngipcnmiehtuihkhwamsukhkhxngkhncanwnmakldnxylng noybaynnkcaepncatxngepliynaeplngip klawngay kkhuxhlkkarkhxngphwkpraoychnniymimmiwithikarthitaytwehmuxnxyanghlkkarkracayxyangepnthrrmaebbxun ephraasingediywthinkkhidaebbpraoychnniymkhanungkkhux karthaihekidkhwamsukhmakthisudaekkhncanwnmakthisud 4 praedneruxngkarkracayaelacdsrrphlpraoychn inhlaykrnismphnthkbaenwkhidxnurksniym aelaaenwkhidesriniym odyaenwkhidxnurksniymcamxngwakaraebngsrrthiepnthrrm khuxthukkhntangkhwnkhwayaeyngchingthrphyakraelasingthimikhainsngkhmbnkhwamsamarthaelakhunsmbtikhxngtwexng imwacaaekhngaerngkwa sungkwa rwykwa hruxmikhunsmbtixun thiexuxtxkartxsuaeyngching aethakmxnginmumkhxngaenwkhidesriniymaelw sngkhmkhwrprbihkarkhwnkhwayekhathungthrphyakrmikhwamepnthrrmodyexuxihkhnthiaekhngaerngnxykwa hruxdxyoxkaskwasamarthekhathungthrphyakridetha kbkhnthiaekhngaerngkwatwxyangkarnaipichinpraethsithy aekikhinpraethsithynn aenwkhidekiywkbkarkracayxyangepnthrrmpraktinhlkkhxthisamkhxnghlkhkprakarkhxngkhnarasdrxnidaek exkrach plxdphy esrsthkic esmxphakh esriphaph karsuksa hlkesrsthkicthikhnarasdrtxngkarcdkarthangesrsthkicodyimplxyihprachachnxdxyak thuxwatngxyubnhlkkarkracayxyangepnthrrm makipkwann insmudpkehluxng hrux ekhaokhrngesrsthkickhxngnaypridi phnmyngkh kmikarcdwangrupaebbthangesrsthkicthiphsmphsanhlkkarkracayxyangepnthrrminhlay aebb dwyehtuni cungklawidwaaenwkhidineruxngkarkracaypraoychninsngkhmiderimkxrupkxrangtngaetnnepntnmatxmainchwngthiekidwikvtikarneduxntulakhm ph s 2516 sngkhmithyidmikarepliynaeplngekhasukhwamepnsmyihmmakkhun khwamkhidkhxngkhnmilksnakawhnasungnaipsukartngkhathaminhlay eruxngekiywkbsphaphkhwamepnxyuinchiwitpracawnaelaeruxnghnungthiimsamarthhlikhniphnidnnkkhux karkracayrayidhruxthrphyakrinsngkhm sungpraednhlkthiphukhninsmynnodyechphaanisitnksuksatngkhatham khuxthaimpraethsithymixtrakarecriyetibotthangesrsthkicsungemuxethiybkbxdit aetyingmikhwamecriymakkhunethairkhwamehluxmlakhxngprachachnyingthwimakkhuntamipdwy khwamimphxicinkarkracaythiimepnthrrm idklayepnpccyhnungthinaipsukarokhnlmephdckarthharaelasthapnarabxbprachathipitykhunmainchwngsn kulpha wcnsar 2554 32 5 inpccubn kartngkhathamthungkhwamepnthrrminkarkracaypraoychnyingphbehnidmakkhun thamklangkarchumnumekhluxnihwthangkaremuxng praednhnungthiklumkhnesuxaedngphyayamthicachukhunkkhuxkareriykrxngihmikarkracayrayid sungrwmthungsiththitang khxngphlemuxng ihethaethiymmakkhun nithi exiywsriwngs 2554 6 hakphicarnacakkhasmprasiththicini Gini coefficient sungepndchnibngchikhwamehluxmlakhxngkarkracayrayidhruxkarkracaykhwamrarwykhxngkhninsngkhmaelw caphbwapraethsithy mikhasmprasiththicini thisathxnradbkhxngkarkracayrayidta aelakhwamehluxmlathangesrsthkicsungemuxepriybethiybkbpraethsxun inolkxangxing aekikh Kurian George Thomas 2011 The encyclopedia of political science Washington CQ Press Rawls John 1971 A theory of justice Cambridge The Belknap Press of Harvard University Press Nozick Robert 2001 Anarchy state and utopia Oxford Blackwell Barry Brian 1989 Theories of Justice London Harvester Wheatsheaf kulpha wcnsara 2554 mxnghakhwamepnthrrminsngkhmithyphankhnchaykhxb ekhathungwnthi 30 knyayn 2555 in http www2 ipsr mahidol ac th ConferenceVIII Download Article Files 1 SocialJustice Kulapa pdf nithi exiywsriwngs 2554 ptirupsngkhmithyhlngkareluxktng bthbathchnchnnaaelakaremuxngphakhprachachn ekhathungwnthi 30 knyayn 2555 in http www prachatham com detail htm code i1 14072011 01 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkracayxyangepnthrrm amp oldid 5974904, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม