fbpx
วิกิพีเดีย

การกำหนดรู้การทรงตัว

การกำหนดรู้การทรงตัว (อังกฤษ: sense of balance, equilibrioception) เป็นประสาทสัมผัสเกี่ยวกับการทรงตัว ซึ่งช่วยให้มนุษย์และสัตว์ต่าง ๆ ทรงตัวได้โดยไม่ล้มเมื่อยืนหรือไป เป็นผลการทำงานร่วมกันของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย คือ ตา (ระบบการเห็น) หู (ระบบกำหนดรู้การทรงตัว) และการรู้แนวทิศทางของร่างกาย (การรับรู้อากัปกิริยา) ระบบกำหนดรู้การทรงตัว (vestibular system) เป็นบริเวณในหูชั้นในที่หลอดกึ่งวงกลม (semicircular canal) 3 หลอดมารวมกัน ซึ่งทำงานร่วมกับระบบการเห็นเพื่อรักษาโฟกัสที่วัตถุหนึ่ง ๆ เมื่อศีรษะกำลังเคลื่อนที่ การทำงานร่วมกันเช่นนี้เรียกว่า vestibulo-ocular reflex (VOR) ระบบการทรงตัวทำงานกับระบบการเห็น กล้ามเนื้อข้อต่อร่วมกับตัวรับรู้ของมัน เพื่อรักษาแนวทิศทางและการทรงตัวของร่างกาย

การทรงตัวที่กำลังพัฒนาการในเด็ก

ระบบกำหนดรู้การทรงตัว (vestibular system)

ดูบทความหลักที่: ระบบกำหนดรู้การทรงตัว

ในระบบกำหนดรู้การทรงตัว (vestibular system) การทรงตัวสามารถรู้ได้อาศัยระดับน้ำที่เรียกว่า endolymph ในห้องหูชั้นใน (labyrinth) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มหลอดที่ซับซ้อน

การทำหน้าที่ผิดปรกติ

ดูบทความหลักที่: Balance disorder

เมื่อการกำหนดรู้การทรงตัวมีปัญหา มันจะทำให้เวียนหัว เสียทิศทางการทรงตัว และคลื่นไส้ การทรงตัวอาจเสียไปเพราะโรคเมนิแยร์, superior canal dehiscence syndrome, หูชั้นในติดเชื้อ, ไข้หวัดธรรมดาที่อาการแย่โดยมีผลต่อศีรษะ หรืออาการอื่น ๆ เช่น อาการรู้สึกหมุน โดยอาจมีปัญหาชั่วคราวเพราะการเร่งที่เร็วมากหรือยาว เช่น เมื่อนั่งม้าหมุน การกระทบ/การถูกตีก็อาจมีผลด้วยโดยเฉพาะที่ข้าง ๆ ศีรษะหรือที่หู

นักบินอวกาศส่วนมากพบว่า การกำหนดรู้การทรงตัวมีปัญหาเมื่ออยู่ในวงโคจรรอบโลกเพราะอยู่ในสภาพไร้น้ำหนักอยู่ตลอด นี่เป็นเหตุให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียน (เหมือนเมารถเมาเรือ) ที่เรียกว่า space adaptation syndrome (อาการปรับตัวในอวกาศได้ไม่ดี)

สัตว์อื่น ๆ

สัตว์บางอย่างกำหนดรู้การทรงตัวได้ดีกว่ามนุษย์ เช่น แมวสามารถเดินบนรั้วได้โดยอาศัยหูชั้นในและหาง สัตว์ทะเลหลายอย่างกำหนดรู้การทรงตัวด้วยอวัยวะที่ต่างกันโดยสิ้นเชิงที่เรียกว่า statocyst ซึ่งตรวจจับตำแหน่งของผลึกแคลเซียม/หินปูนเล็ก ๆ เพื่อกำหนดว่าทิศไหนเป็น "ด้านบน"

ในพืช

ยังกล่าวได้ด้วยว่า พืชมีรูปแบบการกำหนดรูการทรงตัวอย่างหนึ่ง คือถ้าเปลี่ยนแนวทิศทางของพืชจากปกติ ลำต้นจะโตไปทางด้านบน (คือไปทางตรงข้ามกับแรงโน้มถ่วง) และรากจะงอกไปทางด้านล่าง (ไปทางแรงโน้มถ่วง) ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า การเบนเหตุความโน้มถ่วง (gravitropism) เช่น มีงานศึกษาที่ได้แสดงแล้วว่าต้นไม้สกุล Populus (เป็นไม้ดอกผลัดใบในซีกโลกเหนือ) สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแนวทิศทาง

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. superior canal dehiscence syndrome (SCDS) เป็นโรคมีน้อยของหูชั้นใน ซึ่งทำให้มีอาการเกี่ยวกับการได้ยินหรือการทรงตัว อาการเกิดจากกระดูกขมับ (ซึ่งป้องกัน superior semicircular canal และระบบกำหนดรู้การทรงตัว) ที่บางหรือไม่มี มีหลักฐานว่าความผิดปกตินี้ หรือความเสี่ยงมีโรคนี้ เป็นตั้งแต่กำเนิด ยังมีกรณีคนไข้มากมายที่เกิดจากการบาดเจ็บศีรษะด้วย

อ้างอิง

  1. "การกำหนดรู้การทรงตัว", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (แพทยศาสตร์) sense, labyrinthine; sense, static; sense, vestibular; sense of equilibrium
  2. https://www.sciencedirect.com/topics/neuroscience/vestibulo-ocular-reflex
  3. Minor, LB (January 2000). "Superior canal dehiscence syndrome". The American Journal of Otology. 21 (1): 9–19. doi:10.1016/s0196-0709(00)80105-2. PMID 10651428.
  4. Minor LB, Cremer PD, Carey JP, Della Santina CC, Streubel SO, Weg N (October 2001). "Symptoms and signs in superior canal dehiscence syndrome". Annals of the New York Academy of Sciences. 942: 259–73. doi:10.1111/j.1749-6632.2001.tb03751.x. PMID 11710468.
  5. Minor LB (October 2005). "Clinical manifestations of superior semicircular canal dehiscence". The Laryngoscope. 115 (10): 1717–27. doi:10.1097/01.mlg.0000178324.55729.b7. PMID 16222184.
  6. Murray, Melissa (1999-03-08). "Old Bone Collection Reveals Basis for Some Dizziness". The Hopkins Gazette. 28 (25). John Hopkins University. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-30.
  7. Duffy, Jim (1999). . Hopkins Medical News. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2002-03-15.
  8. . ScienceDaily. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2015-04-10. สืบค้นเมื่อ 2011-01-15.
  9. Azri, W.; Chambon, C.; Herbette, Stéphane; Brunel, N.; Coutand, C.; Leplé, J. C.; Ben Rejeb, I.; Ammar, Saïda; Julien, J. L.; Roeckel-Drevet, P. (2009). "Proteome analysis of apical and basal regions of poplar stems under gravitropic stimulation". Physiologia Plantarum. 136 (2): 193–208. doi:10.1111/j.1399-3054.2009.01230.x. PMID 19453506.

แหล่งข้อมูลอื่น

  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การกำหนดรู้การทรงตัว

การกำหนดร, การทรงต, งกฤษ, sense, balance, equilibrioception, เป, นประสาทส, มผ, สเก, ยวก, บการทรงต, งช, วยให, มน, ษย, และส, ตว, าง, ทรงต, วได, โดยไม, มเม, อย, นหร, อไป, เป, นผลการทำงานร, วมก, นของระบบต, าง, ในร, างกาย, ตา, ระบบการเห, ระบบกำหนดร, การทรงต, และการ. karkahndrukarthrngtw 1 xngkvs sense of balance equilibrioception epnprasathsmphsekiywkbkarthrngtw sungchwyihmnusyaelastwtang thrngtwidodyimlmemuxyunhruxip epnphlkarthanganrwmknkhxngrabbtang inrangkay khux ta rabbkarehn hu rabbkahndrukarthrngtw aelakarruaenwthisthangkhxngrangkay karrbruxakpkiriya rabbkahndrukarthrngtw vestibular system epnbriewninhuchninthihlxdkungwngklm semicircular canal 3 hlxdmarwmkn sungthanganrwmkbrabbkarehnephuxrksaofksthiwtthuhnung emuxsirsakalngekhluxnthi karthanganrwmknechnnieriykwa vestibulo ocular reflex VOR 2 rabbkarthrngtwthangankbrabbkarehn klamenuxkhxtxrwmkbtwrbrukhxngmn ephuxrksaaenwthisthangaelakarthrngtwkhxngrangkaykarthrngtwthikalngphthnakarinedk enuxha 1 rabbkahndrukarthrngtw vestibular system 2 karthahnathiphidprkti 3 stwxun 4 inphuch 5 duephim 6 echingxrrth 7 xangxing 8 aehlngkhxmulxunrabbkahndrukarthrngtw vestibular system aekikh phngkhxngrabbkahndrukarthrngtw vestibular system dubthkhwamhlkthi rabbkahndrukarthrngtw inrabbkahndrukarthrngtw vestibular system karthrngtwsamarthruidxasyradbnathieriykwa endolymph inhxnghuchnin labyrinth sungprakxbdwyklumhlxdthisbsxnkarthahnathiphidprkti aekikhdubthkhwamhlkthi Balance disorder emuxkarkahndrukarthrngtwmipyha mncathaihewiynhw esiythisthangkarthrngtw aelakhlunis karthrngtwxacesiyipephraaorkhemniaeyr superior canal dehiscence syndrome A huchnintidechux ikhhwdthrrmdathixakaraeyodymiphltxsirsa hruxxakarxun echn xakarrusukhmun odyxacmipyhachwkhrawephraakarerngthierwmakhruxyaw echn emuxnngmahmun karkrathb karthuktikxacmiphldwyodyechphaathikhang sirsahruxthihunkbinxwkasswnmakphbwa karkahndrukarthrngtwmipyhaemuxxyuinwngokhcrrxbolkephraaxyuinsphaphirnahnkxyutlxd niepnehtuihmixakarkhlunisxaeciyn ehmuxnemarthemaerux thieriykwa space adaptation syndrome xakarprbtwinxwkasidimdi stwxun aekikhstwbangxyangkahndrukarthrngtwiddikwamnusy echn aemwsamarthedinbnrwidodyxasyhuchninaelahang 8 stwthaelhlayxyangkahndrukarthrngtwdwyxwywathitangknodysinechingthieriykwa statocyst sungtrwccbtaaehnngkhxngphlukaekhlesiym hinpunelk ephuxkahndwathisihnepn danbn inphuch aekikhyngklawiddwywa phuchmirupaebbkarkahndrukarthrngtwxyanghnung khuxthaepliynaenwthisthangkhxngphuchcakpkti latncaotipthangdanbn khuxipthangtrngkhamkbaerngonmthwng aelarakcangxkipthangdanlang ipthangaerngonmthwng praktkarnnieriykwa karebnehtukhwamonmthwng gravitropism echn mingansuksathiidaesdngaelwwatnimskul Populus epnimdxkphldibinsikolkehnux samarthtrwccbkarepliynaenwthisthang 9 duephim aekikhBalance disorder Broken escalator phenomenon Illusions of self motion karemaehtuekhluxnihw karrbruxakpkiriya Spatial disorientation xakarrusukhmunechingxrrth aekikh superior canal dehiscence syndrome SCDS epnorkhminxykhxnghuchnin sungthaihmixakarekiywkbkaridyinhruxkarthrngtw 3 4 5 xakarekidcakkradukkhmb sungpxngkn superior semicircular canal aelarabbkahndrukarthrngtw thibanghruximmi mihlkthanwakhwamphidpktini hruxkhwamesiyngmiorkhni epntngaetkaenid 6 7 yngmikrnikhnikhmakmaythiekidcakkarbadecbsirsadwyxangxing aekikh karkahndrukarthrngtw sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 chbb 2545 aephthysastr sense labyrinthine sense static sense vestibular sense of equilibrium https www sciencedirect com topics neuroscience vestibulo ocular reflex Minor LB January 2000 Superior canal dehiscence syndrome The American Journal of Otology 21 1 9 19 doi 10 1016 s0196 0709 00 80105 2 PMID 10651428 Minor LB Cremer PD Carey JP Della Santina CC Streubel SO Weg N October 2001 Symptoms and signs in superior canal dehiscence syndrome Annals of the New York Academy of Sciences 942 259 73 doi 10 1111 j 1749 6632 2001 tb03751 x PMID 11710468 Minor LB October 2005 Clinical manifestations of superior semicircular canal dehiscence The Laryngoscope 115 10 1717 27 doi 10 1097 01 mlg 0000178324 55729 b7 PMID 16222184 Murray Melissa 1999 03 08 Old Bone Collection Reveals Basis for Some Dizziness The Hopkins Gazette 28 25 John Hopkins University ekb cakaehlngedimemux 2019 03 30 Duffy Jim 1999 The Clue in the Old Bones Hopkins Medical News khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2002 03 15 Equilibrioception ScienceDaily khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2015 04 10 subkhnemux 2011 01 15 Azri W Chambon C Herbette Stephane Brunel N Coutand C Leple J C Ben Rejeb I Ammar Saida Julien J L Roeckel Drevet P 2009 Proteome analysis of apical and basal regions of poplar stems under gravitropic stimulation Physiologia Plantarum 136 2 193 208 doi 10 1111 j 1399 3054 2009 01230 x PMID 19453506 aehlngkhxmulxun aekikh wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb karkahndrukarthrngtw bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkahndrukarthrngtw amp oldid 9558649, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม