fbpx
วิกิพีเดีย

การค้นหาในแนวลึกแบบวนเพิ่มความลึก

การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (อังกฤษ: iterative deepening depth-first search) หรือ IDDFS เป็นขั้นตอนวิธีสำหรับการค้นปริภูมิสถานะ (state space search) ที่อาศัยการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกไปเรื่อยๆ จนถึงความลึก d เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดซึ่ง d คือความลึกของสถานะคำตอบเป้าหมายนั้น ในแต่ละรอบของการวนค้นหาเป้าหมายนั้น ขั้นตอนวิธี IDDFS จะค้นเจอปม (node) ต่างๆในต้นไม้ค้นหา (search tree) ในลำดับเดียวกันกับแบบ การค้นหาเชิงลึก แต่ทำการสะสมไว้ว่า ปมที่ความลึกเท่าไหร่จะถูกค้นหา โดยการกระทำวิธีนี้สมมุติว่าต้นไม้ค้นหา เป็นต้นไม้บริบูรณ์ ซึ่งทำให้ได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพเทียบกับแบบการค้นหาตามแนวกว้าง

ลักษณะทั่วไป

การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก เป็นขั้นตอนวิธีที่รวมการค้นหาตามพื้นที่แนวลึก และ การค้นหาตามพื้นที่แนวกว้างอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนวิธีนี้จึงจะเป็นผลดีเมื่อค่าน้ำหนักของเส้นทาง (edge) การค้นหาไม่เป็นฟังก์ชันที่ลดลงตามความลึกของปมต่างๆ

ขั้นตอนวิธีการทำงาน

การทำงานของขั้นตอนวิธีการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกนี้จะเป็นการค้นหาตามแนวลึกโดยเริ่มต้นให้กำหนดความลึกที่ใช้ค้นหาเริ่มที่ 1 และเริ่มค้นหาในแนวกว้าง ถ้าการค้นหายังไม่เจอเป้าหมายหรือยังไม่พบคำตอบที่ต้องการ จะเพิ่มความลึกที่ใช้ในการค้นหาไปเรื่อยๆ โดยเพิ่มทีละ 1 จนพบเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งขั้นตอนวิธีนี้จะสามารถหาคำตอบที่ระยะทางสั้นสุดได้ คือ ความลึก (d) ของต้นไม้ค้นหาสั้นที่สุด

     

รหัสเทียม

IDDFS(ราก, เป้าหมาย){ ความลึก = 0 ตราบใดที่ (ยังไม่พบเป้าหมาย){ เป้าหมาย = DLS(ราก, เป้ามหมาย, ความลึก) ความลึก = ความลึก + 1 } คืนค่า เป้าหมาย } 
DLS(ปม, เป้าหมาย, ความลึก){ ถ้า ( ความลึก >= 0 ){ ถ้า ( ปม == เป้าหมาย ) คืนค่า ปม สำหรับแต่ละปมลูกที่ถูกค้น(ปม) DLS(ปมลูก, เป้าหมาย, ความลึก-1) } } 

คุณสมบัติ

ประสิทธิภาพด้านพื้นที่ (Space complexity)

ประสิทธิภาพด้านพื้นที่ (Space complexity) ของการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) เป็น :  ซึ่ง b คือ ปัจจัยการแตกกิ่ง และ d คือ ความลึกของเป้าหมายที่ต้องการค้นหา ซึ่งการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) นั้นอาจจะต้องค้นปมเดิมซ้ำๆหลายครั้ง ซึ่งอาจจะทำให้สิ้นเปลืองพื้นที่ แต่ในความจริงแล้วมันก็ไม่ได้สิ้นเปลืองขนาดนั้น เนื่องจากปมต่างๆของต้นไม้ส่วนใหญ่อยู่ในระดับล่างๆ ทำให้การค้นหาปมต่างๆในต้นไม้ที่อยู่ระดับบนหลายๆครั้งไม่มีผล

ประสิทธิภาพด้านเวลา (Time complexity)

ประสิทธิภาพด้านเวลา (Time complexity) ของ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) ในต้นไม้ที่มีความสมดุลจะมีค่าของประสิทธิภาพด้านเวลาเท่ากับการค้นหาตามแนวลึกเป็น :  ซึ่งเป็นการค้นหาที่ใช้เวลานาน ในการวนค้นหาตามแนวความลึกนั้น ปมต่างๆในระดับหนึ่งจะมีการถูกค้น หนึ่งครั้ง และเมื่อเพิ่มระดับขึ้น ปมต่างๆที่ถูกค้นในระดับหนึ่งก็จะถูกค้นเพิ่มอีกครั้งหนึ่ง ขึ้นอยู่กับปมรากของต้นไม้ค้นหา ซึ่งปมรากของต้นไม้ค้นหานั้นจะถูกค้น d+1 ครั้ง ดังนั้น ผลรวมของจำนวนการค้นปมต่างๆในการวนค้นหาเชิงความลึกนั้นจะเป็น

 
"---------------------------------รูปเปรียบเทียบการค้นหา---------------------------
 
 

ถ้ากำหนดให้ b = 10 และ d = 5 จะได้ 6 + 50 + 400 + 3,000 + 20,000 + 100,000 = 123,456

ส่วนแบบการค้นหาตามแนวลึก จะมีผลรวมของการค้นปมต่างๆเป็น

 

ถ้ากำหนดให้ b = 10 และ d = 5 จะได้ 1 + 10 + 100 + 1,000 + …. + 100,000 = 111,111

จากทั้งหมดข้างต้นนั้น การวนค้นหาตามแนวลึก ที่เริ่มจากความลึก 1 ไปถึง ความลึก d จะมีการค้นปมของปมต่างๆ มากกว่าแบบการค้นหาตามแนวกว้าง หรือการค้นแบบจำกัดความลึก ประมาณ 11% ที่ความลึก d และ b = 10 โดยหากปัจจัยในการแตกกิ่งมีค่าสูงจะทำให้ การซ้ำกันของการค้นปมของสถานะที่อยู่ในระดับบนจะมีค่าต่ำแม้ว่าปัจจัยในการแตกกิ่งจะมีค่าเป็น 2 หรือ มากกว่า แต่ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกจะทำการค้นหา 2 ครั้ง โดยต้องยังคงสภาพ การค้นหาตามแนวกว้างที่สมบูรณ์ หมายความได้ว่าประสิทธิภาพของเวลาการทำงานของการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกยังมีค่า O(bd) และประสิทธิภาพด้านพื้นที่ยังคงเป็น O(bd) เช่นเดิม .โดยทั่วไปแล้ว การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกจะเป็นวิธีการค้นหาที่ดีกว่าแบบอื่นๆ เมื่อจำนวนพื้นที่ที่ต้องค้นหามีขนาดใหญ่ และ ไม่ทราบความลึกของคำตอบเป้าหมายที่ต้องการ


 


การได้คำตอบที่เหมาะสม (Optimality)

การได้คำตอบที่เหมาะสม (Optimality) คำตอบที่ได้จากการค้นหาแบบ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) จะเหมาะสมก็ต่อเมื่อเส้นทาง (edge) ที่ใช้ผ่านแต่ละปมที่ต้องการค้นหาในต้นไม้ค้นหามีน้ำหนักเท่ากัน คือ 1 ถ้าน้ำหนักของเส้นทาง (edge) การเดินทางของแต่ละปมมีค่าต่างกันที่ไม่ใช่ 1 จะทำให้คำตอบที่มาจากการค้นหาไม่เหมาะสม

ความสมบูรณ์ (Completeness)

การได้คำตอบหรือการใช้ขั้นตอนวิธีการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึกนั้นจะมีความสมบูรณ์เหมือนกับ การค้นเชิงแนวกว้าง ซึ่งความสมบูรณ์นั้นอยู่ภายใต้ปัจจัยที่ว่า ค่าปัจจัยในการแตกกิ่ง (b) ต้องมีขอบเขตจำกัด (finite) ซึ่งถ้าปัจจัยต่างๆเหมาะสมแล้วขั้นตอนวิธีการค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก จะใช้เวลาดีและทำงานได้เร็วกว่าขั้นตอนวิธีการค้นเชิงลึก และ การค้นเชิงแนวกว้าง

ตัวอย่าง

 

จากกราฟหากเราเริ่มค้นหาตามแนวลึกโดยเริ่มต้นที่จุด A กำหนดให้เส้นทาง (edge) ด้านซ้ายจะถูกเลือกก่อนเส้นทาง (edge) ในด้านขวา และการค้นหาจะจำไว้ว่าก่อนหน้าเคยค้นปมไหนมาแล้วบ้าง และจะไม่ค้นปมนั้นซ้ำอีก ดังนั้นการค้นปมต่างๆในกราฟข้างต้นจะได้เป็นลำดับดังนี้ A, B, D, F, E, C, G

ในอีกแบบหนึ่งผลที่ได้จากการค้นหาตามแนวลึกที่เริ่มต้นที่จุด A แต่จะไม่จำว่าก่อนหน้าเคยค้นพบปมไหนมาก่อน ผลที่ได้จากการค้นหาจะเป็น order A, B, D, F, E, A, B, D, F, E, etc. ซ้ำแบบนี้ไปเรื่อยๆ ซึ่งจะไม่สามารถค้นเจอปม C หรือ G ในกราฟได้

การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก จะป้องกันการเกิด loop แบบด้านบน และจะทำให้ค้นปมต่างๆในแต่ความลึกของปมต่างๆนั้นเอง ซึ่งจะให้ดำเนินการจากซ้ายไปขวาแบบข้างต้น

  • 0: A
  • 1: A (ค้นซ้ำ), B, C, E

(หมายเหตุ : iterative deepening ได้ค้นเจอปม C ซึ่งการค้นหาตามแนวลึกข้างต้นค้นไม่เจอ )

  • 2: A, B, D, F, C, G, E, F

(หมายเหตุ : ยังสามารถค้นเจอปม C แต่คราวนี้เกิดการค้นเจอทีหลัง เนื่องด้วยการค้นเจอปม E ในคนละเส้นทางและ การจะเกิดกสนวนกลับมาค้นเจอปม F ถึงสองครั้ง

  • 3: A, B, D, F, E, C, G, E, F, B

จากกราฟข้างต้น เมื่อเพิ่มความลึก สังเกต 2 วัฏจักร คือ "ABFE" และ "AEFB" จะเจอได้ง่ายและบ่อยครั้ง ก่อนที่ขั้นตอนวิธีจะหยุดและไปค้นหาในเส้นทางอื่นๆ

การนำไปประยุกต์ใช้

มีขั้นตอนวิธีที่คล้ายกับ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) คือ iterative lengthening search ซึ่งเป็นขั้นตอนวิธีที่มีการเพิ่มน้ำหนักของเส้นทาง (edge) ของระดับความลึกในชั้นต่างๆ ซึ่งการซ้ำการค้นปมๆต่างในระดับต่างๆนั้นจะมีค่าน้ำหนักบนเส้นทาง (edge) ไปยังปมต่างๆเหล่านั้นเพิ่มขึ้นด้วย เพราะฉะนั้นเป้าหมายแรกที่ได้จะเป็นเส้นทางที่มีค่ารวมของน้ำหนักบนเส้นทางดีที่สุด คือถูกที่สุดนั่นเอง แต่ iterative lengthening ก็ยังมีปัญหาอยู่มากทำให้ เป็นวิธีการค้นหาที่ยังไม่ดีเท่าการค้นเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก

การค้นหาแบบ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) จะใช้ได้ในงานหลายๆ ด้าน เช่น ในเรื่องเกี่ยวกับการทำปัญญาประดิษฐ์ เช่นการจำลองการเล่นหมากรุก

การค้นหาแบบ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก (IDDFS) จะนำไปใช้ใน game tree เช่น killer heuristicand , alpha-beta pruning (ขั้นตอนวิธีที่ใช้ลดการหาที่ไม่จำเป็น) ซึ่งมากไปด้วยการประมาณความถูกต้องของคะแนนของปมต่างๆกันที่ปลายทางความลึกที่สามารถเกิดขึ้นได้ และการค้นหาจะเสร็จได้รวดเร็ว

สรุป

Iterative Deepening Depth-First Search (IDDFS) หรือ การค้นหาเชิงลึกจำกัดแบบวนเพิ่มความลึก เป็นขั้นตอนวิธีที่ดัดแปลงหรือพัฒนามากจากการค้นแบบจำกัดความลึก โดยอาศัยหลักการของขั้นตอนวิธีเชิงละโมบ ที่จะค่อยๆ หาคำตอบที่ต้องการจากเริ่มต้นที่กำหนดความลึกที่จะค้นหาไว้ที่ 0 แล้วเพิ่มค่าความลึกขึ้นไปเรื่อยๆ จนกว่าเราจะเจอเป้าหมายคำตอบต้องการได้

เพิ่มเติม

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • en:iterative lengthening search
  • [1]

ตัวอย่างโปรแกรม

อ้างอิง

  • [Russell, Stuart J.; Norvig, Peter (2003), Artificial Intelligence: A Modern Approach (2nd ed.), Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall, ISBN 0-13-790395-2]
  • [3]
  • www.inc.eng.kmutt.ac.th/course/inc551/551lec03.ppt
  • [4]

การค, นหาในแนวล, กแบบวนเพ, มความล, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดการค, นหาเช, งล, กจำก, ดแบบวนเพ, มความล, งกฤษ, iterati. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk xngkvs iterative deepening depth first search hrux IDDFS epnkhntxnwithisahrbkarkhnpriphumisthana state space search thixasykarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamlukiperuxy cnthungkhwamluk d ephuxhakhatxbthidithisudsung d khuxkhwamlukkhxngsthanakhatxbepahmaynn inaetlarxbkhxngkarwnkhnhaepahmaynn khntxnwithi IDDFS cakhnecxpm node tangintnimkhnha search tree inladbediywknkbaebb karkhnhaechingluk aetthakarsasmiwwa pmthikhwamlukethaihrcathukkhnha odykarkrathawithinismmutiwatnimkhnha epntnimbriburn sungthaihidphllphththimiprasiththiphaphethiybkbaebbkarkhnhatamaenwkwang enuxha 1 lksnathwip 2 khntxnwithikarthangan 3 rhsethiym 4 khunsmbti 4 1 prasiththiphaphdanphunthi Space complexity 4 2 prasiththiphaphdanewla Time complexity 4 3 karidkhatxbthiehmaasm Optimality 4 4 khwamsmburn Completeness 5 twxyang 6 karnaipprayuktich 7 srup 8 ephimetim 8 1 khxmulephimetim 8 2 twxyangopraekrm 9 xangxinglksnathwip aekikhkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk epnkhntxnwithithirwmkarkhnhatamphunthiaenwluk aela karkhnhatamphunthiaenwkwangxyangmiprasiththiphaph khntxnwithinicungcaepnphldiemuxkhanahnkkhxngesnthang edge karkhnhaimepnfngkchnthildlngtamkhwamlukkhxngpmtangkhntxnwithikarthangan aekikhkarthangankhxngkhntxnwithikarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluknicaepnkarkhnhatamaenwlukodyerimtnihkahndkhwamlukthiichkhnhaerimthi 1 aelaerimkhnhainaenwkwang thakarkhnhayngimecxepahmayhruxyngimphbkhatxbthitxngkar caephimkhwamlukthiichinkarkhnhaiperuxy odyephimthila 1 cnphbepahmaythitxngkar sungkhntxnwithinicasamarthhakhatxbthirayathangsnsudid khux khwamluk d khxngtnimkhnhasnthisud rhsethiym aekikhIDDFS rak epahmay khwamluk 0 trabidthi yngimphbepahmay epahmay DLS rak epamhmay khwamluk khwamluk khwamluk 1 khunkha epahmay DLS pm epahmay khwamluk tha khwamluk gt 0 tha pm epahmay khunkha pm sahrbaetlapmlukthithukkhn pm DLS pmluk epahmay khwamluk 1 khunsmbti aekikhprasiththiphaphdanphunthi Space complexity aekikh prasiththiphaphdanphunthi Space complexity khxngkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS epn O b d displaystyle O bd sung b khux pccykaraetkking aela d khux khwamlukkhxngepahmaythitxngkarkhnha sungkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS nnxaccatxngkhnpmedimsahlaykhrng sungxaccathaihsinepluxngphunthi aetinkhwamcringaelwmnkimidsinepluxngkhnadnn enuxngcakpmtangkhxngtnimswnihyxyuinradblang thaihkarkhnhapmtangintnimthixyuradbbnhlaykhrngimmiphl prasiththiphaphdanewla Time complexity aekikhprasiththiphaphdanewla Time complexity khxng karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS intnimthimikhwamsmdulcamikhakhxngprasiththiphaphdanewlaethakbkarkhnhatamaenwlukepn O b d displaystyle O b d sungepnkarkhnhathiichewlanan inkarwnkhnhatamaenwkhwamluknn pmtanginradbhnungcamikarthukkhn hnungkhrng aelaemuxephimradbkhun pmtangthithukkhninradbhnungkcathukkhnephimxikkhrnghnung khunxyukbpmrakkhxngtnimkhnha sungpmrakkhxngtnimkhnhanncathukkhn d 1 khrng dngnn phlrwmkhxngcanwnkarkhnpmtanginkarwnkhnhaechingkhwamluknncaepn rupepriybethiybkarkhnha d 1 1 d b d 1 b 2 3 b d 2 2 b d 1 b d displaystyle d 1 1 d b d 1 b 2 cdots 3b d 2 2b d 1 b d i 0 d d 1 i b i displaystyle sum i 0 d d 1 i b i thakahndih b 10 aela d 5 caid 6 50 400 3 000 20 000 100 000 123 456swnaebbkarkhnhatamaenwluk camiphlrwmkhxngkarkhnpmtangepn 1 b b 2 b d 2 b d 1 b d displaystyle 1 b b 2 cdots b d 2 b d 1 b d thakahndih b 10 aela d 5 caid 1 10 100 1 000 100 000 111 111cakthnghmdkhangtnnn karwnkhnhatamaenwluk thierimcakkhwamluk 1 ipthung khwamluk d camikarkhnpmkhxngpmtang makkwaaebbkarkhnhatamaenwkwang hruxkarkhnaebbcakdkhwamluk praman 11 thikhwamluk d aela b 10 odyhakpccyinkaraetkkingmikhasungcathaih karsaknkhxngkarkhnpmkhxngsthanathixyuinradbbncamikhataaemwapccyinkaraetkkingcamikhaepn 2 hrux makkwa aet karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamlukcathakarkhnha 2 khrng odytxngyngkhngsphaph karkhnhatamaenwkwangthismburn hmaykhwamidwaprasiththiphaphkhxngewlakarthangankhxngkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamlukyngmikha O bd aelaprasiththiphaphdanphunthiyngkhngepn O bd echnedim odythwipaelw karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamlukcaepnwithikarkhnhathidikwaaebbxun emuxcanwnphunthithitxngkhnhamikhnadihy aela imthrabkhwamlukkhxngkhatxbepahmaythitxngkar karidkhatxbthiehmaasm Optimality aekikh karidkhatxbthiehmaasm Optimality khatxbthiidcakkarkhnhaaebb karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS caehmaasmktxemuxesnthang edge thiichphanaetlapmthitxngkarkhnhaintnimkhnhaminahnkethakn khux 1 thanahnkkhxngesnthang edge karedinthangkhxngaetlapmmikhatangknthiimich 1 cathaihkhatxbthimacakkarkhnhaimehmaasm khwamsmburn Completeness aekikh karidkhatxbhruxkarichkhntxnwithikarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluknncamikhwamsmburnehmuxnkb karkhnechingaenwkwang sungkhwamsmburnnnxyuphayitpccythiwa khapccyinkaraetkking b txngmikhxbekhtcakd finite sungthapccytangehmaasmaelwkhntxnwithikarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk caichewladiaelathanganiderwkwakhntxnwithikarkhnechingluk aela karkhnechingaenwkwangtwxyang aekikh cakkrafhakeraerimkhnhatamaenwlukodyerimtnthicud A kahndihesnthang edge dansaycathukeluxkkxnesnthang edge indankhwa aelakarkhnhacacaiwwakxnhnaekhykhnpmihnmaaelwbang aelacaimkhnpmnnsaxik dngnnkarkhnpmtanginkrafkhangtncaidepnladbdngni A B D F E C Ginxikaebbhnungphlthiidcakkarkhnhatamaenwlukthierimtnthicud A aetcaimcawakxnhnaekhykhnphbpmihnmakxn phlthiidcakkarkhnhacaepn order A B D F E A B D F E etc saaebbniiperuxy sungcaimsamarthkhnecxpm C hrux G inkrafidkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk capxngknkarekid loop aebbdanbn aelacathaihkhnpmtanginaetkhwamlukkhxngpmtangnnexng sungcaihdaeninkarcaksayipkhwaaebbkhangtn 0 A1 A khnsa B C E hmayehtu iterative deepening idkhnecxpm C sungkarkhnhatamaenwlukkhangtnkhnimecx 2 A B D F C G E F hmayehtu yngsamarthkhnecxpm C aetkhrawniekidkarkhnecxthihlng enuxngdwykarkhnecxpm E inkhnlaesnthangaela karcaekidksnwnklbmakhnecxpm F thungsxngkhrng 3 A B D F E C G E F Bcakkrafkhangtn emuxephimkhwamluk sngekt 2 wtckr khux ABFE aela AEFB caecxidngayaelabxykhrng kxnthikhntxnwithicahyudaelaipkhnhainesnthangxunkarnaipprayuktich aekikhmikhntxnwithithikhlaykb karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS khux iterative lengthening search sungepnkhntxnwithithimikarephimnahnkkhxngesnthang edge khxngradbkhwamlukinchntang sungkarsakarkhnpmtanginradbtangnncamikhanahnkbnesnthang edge ipyngpmtangehlannephimkhundwy ephraachannepahmayaerkthiidcaepnesnthangthimikharwmkhxngnahnkbnesnthangdithisud khuxthukthisudnnexng aet iterative lengthening kyngmipyhaxyumakthaih epnwithikarkhnhathiyngimdiethakarkhnechinglukcakdaebbwnephimkhwamlukkarkhnhaaebb karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS caichidinnganhlay dan echn ineruxngekiywkbkarthapyyapradisth echnkarcalxngkarelnhmakrukkarkhnhaaebb karkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk IDDFS canaipichin game tree echn killer heuristicand alpha beta pruning khntxnwithithiichldkarhathiimcaepn sungmakipdwykarpramankhwamthuktxngkhxngkhaaennkhxngpmtangknthiplaythangkhwamlukthisamarthekidkhunid aelakarkhnhacaesrcidrwderwsrup aekikhIterative Deepening Depth First Search IDDFS hruxkarkhnhaechinglukcakdaebbwnephimkhwamluk epnkhntxnwithithiddaeplnghruxphthnamakcakkarkhnaebbcakdkhwamluk odyxasyhlkkarkhxngkhntxnwithiechinglaomb thicakhxy hakhatxbthitxngkarcakerimtnthikahndkhwamlukthicakhnhaiwthi 0 aelwephimkhakhwamlukkhuniperuxy cnkwaeracaecxepahmaykhatxbtxngkaridephimetim aekikhkhxmulephimetim aekikh en iterative lengthening search 1 twxyangopraekrm aekikh 2 xangxing aekikh Russell Stuart J Norvig Peter 2003 Artificial Intelligence A Modern Approach 2nd ed Upper Saddle River New Jersey Prentice Hall ISBN 0 13 790395 2 3 www inc eng kmutt ac th course inc551 551lec03 ppt 4 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karkhnhainaenwlukaebbwnephimkhwamluk amp oldid 8954803, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม