fbpx
วิกิพีเดีย

การประทับตราทางพันธุกรรม

การประทับตราทางพันธุกรรม (อังกฤษ: genetic imprinting, genomic imprinting) เป็นปรากฏการณ์ทางพันธุศาสตร์อย่างหนึ่งซึ่งยีนหนึ่งๆ จะแสดงออกเฉพาะเมื่อได้รับมาจากพ่อหรือแม่เท่านั้น ถือเป็นกระบวนการทางการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมซึ่งเป็นอิสระจากกฎการถ่ายทอดพันธุกรรมของเมนเดล ยีนที่ถูกประทับตราจะแสดงออกก็ต่อเมื่ออัลลีล (allele) นั้นๆ ได้รับมาจากแม่ (เช่น H19 หรือ CDNK1C) หรือพ่อ (เช่น IGF-2) เท่านั้น ลักษณะของการประทับตราทางพันธุกรรมเช่นนี้พบได้ในแมลง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และพืชมีดอก

การประทับตราทางพันธุกรรมเป็นกระบวนการเหนือพันธุกรรม (epigenetic) ที่มีการเติมหมู่เมธิล (methylation) และการเปลี่ยนแปลงหมู่ฮิสโตน (histone modification) เพื่อให้เกิดมีการแสดงออกของยีนเพียงอัลลีลเดียว (monoallelic gene expression) โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงลำดับของสารพันธุกรรม การระบุตำแหน่งเหนือพันธุกรรมเช่นนี้เกิดขึ้นตั้งแต่เป็นเซลล์ต้นกำเนิด (germline) และจะคงอยู่ในทุกเซลล์ของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ที่เป็นเซลล์โซมาติก

การควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมของยีนที่ถูกประทับตรามีความสำคัญต่อการพัฒนาปกติ มีโรคพันธุกรรมหลายโรคที่เกี่ยวข้องกับการเกิดความผิดปกติในกระบวนการประทับตราทางพันธุกรรม เช่น Beckwith-Wiedemann syndrome, Silver-Russell syndrome, Angelman syndrome และ Prader-Willi syndrome เป็นต้น

ตัวอย่าง

กลุ่มอาการเพรเดอร์-วิลลีและกลุ่มอาการแองเกลแมน

โรคทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการการประทับตราที่ได้รับการอธิบายเป็นครั้งแรกคือกลุ่มอาการเพรเดอร์-วิลลีและกลุ่มอาการแองเกลแมน ทั้งสองโรคเกิดจากการเสียส่วน 15q11-13 ของโครโมโซม (band ที่ 11 ของแขนข้างยาวของโครโมโซมคู่ที่ 15) ยีนในบริเวณนี้มีหลายยีน หนึ่งในนั้นคือยีน SNRPN และ NDN ที่แสดงออกเฉพาะเมื่อได้รับมาจากพ่อเท่านั้น และยีน UBE3A ที่แสดงออกเฉพาะเมื่อได้รับมาจากแม่เท่านั้น หากมีการหลุดหายไปของบริเวณนี้ที่ได้รับมาจากพ่อจะทำให้มีกลุ่มอาการเพรเดอร์-วิลลี (กล้ามเนื้ออ่อนแรง อ้วน อวัยวะเพศไม่เจริญ) ในขณะที่การหลุดหายของบริเวณนี้ที่ได้รับมาจากแม่จะทำให้มีกลุ่มอาการแองเกลแมน (ชัก เคลื่อนไหวผิดปกติ ใบหน้าดูยิ้มแย้มผิดปกติ)

อ้างอิง

  1. Buiting, K.; Saitoh, S.; Gross, S.; Dittrich, B. �R.; Schwartz, S.; Nicholls, R. D.; Horsthemke, B. (1995). "Inherited microdeletions in the Angelman and Prader–Willi syndromes define an imprinting centre on human chromosome 15". Nature Genetics. 9: 395. doi:10.1038/ng0495-395. replacement character in |first4= at position 4 (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Harwell Mouse Imprinting Map

การประท, บตราทางพ, นธ, กรรม, งกฤษ, genetic, imprinting, genomic, imprinting, เป, นปรากฏการณ, ทางพ, นธ, ศาสตร, อย, างหน, งซ, งย, นหน, งๆ, จะแสดงออกเฉพาะเม, อได, บมาจากพ, อหร, อแม, เท, าน, อเป, นกระบวนการทางการถ, ายทอดล, กษณะทางพ, นธ, กรรมซ, งเป, นอ, สระจากกฎการ. karprathbtrathangphnthukrrm xngkvs genetic imprinting genomic imprinting epnpraktkarnthangphnthusastrxyanghnungsungyinhnung caaesdngxxkechphaaemuxidrbmacakphxhruxaemethann thuxepnkrabwnkarthangkarthaythxdlksnathangphnthukrrmsungepnxisracakkdkarthaythxdphnthukrrmkhxngemnedl yinthithukprathbtracaaesdngxxkktxemuxxllil allele nn idrbmacakaem echn H19 hrux CDNK1C hruxphx echn IGF 2 ethann lksnakhxngkarprathbtrathangphnthukrrmechnniphbidinaemlng stweliynglukdwynm aelaphuchmidxkkarprathbtrathangphnthukrrmepnkrabwnkarehnuxphnthukrrm epigenetic thimikaretimhmuemthil methylation aelakarepliynaeplnghmuhisotn histone modification ephuxihekidmikaraesdngxxkkhxngyinephiyngxllilediyw monoallelic gene expression odyimmikarepliynaeplngladbkhxngsarphnthukrrm karrabutaaehnngehnuxphnthukrrmechnniekidkhuntngaetepneslltnkaenid germline aelacakhngxyuinthukesllkhxngsingmichiwitnn thiepnesllosmatikkarkhwbkhumkaraesdngxxkxyangehmaasmkhxngyinthithukprathbtramikhwamsakhytxkarphthnapkti miorkhphnthukrrmhlayorkhthiekiywkhxngkbkarekidkhwamphidpktiinkrabwnkarprathbtrathangphnthukrrm echn Beckwith Wiedemann syndrome Silver Russell syndrome Angelman syndrome aela Prader Willi syndrome epntn enuxha 1 twxyang 1 1 klumxakarephredxr williaelaklumxakaraexngeklaemn 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxuntwxyang aekikhklumxakarephredxr williaelaklumxakaraexngeklaemn aekikh orkhthangphnthukrrmthiekiywkhxngkbkrabwnkarkarprathbtrathiidrbkarxthibayepnkhrngaerkkhuxklumxakarephredxr williaelaklumxakaraexngeklaemn thngsxngorkhekidcakkaresiyswn 15q11 13 khxngokhromosm 1 band thi 11 khxngaekhnkhangyawkhxngokhromosmkhuthi 15 yininbriewnnimihlayyin hnunginnnkhuxyin SNRPN aela NDN thiaesdngxxkechphaaemuxidrbmacakphxethann aelayin UBE3A thiaesdngxxkechphaaemuxidrbmacakaemethann hakmikarhludhayipkhxngbriewnnithiidrbmacakphxcathaihmiklumxakarephredxr willi klamenuxxxnaerng xwn xwywaephsimecriy inkhnathikarhludhaykhxngbriewnnithiidrbmacakaemcathaihmiklumxakaraexngeklaemn chk ekhluxnihwphidpkti ibhnaduyimaeymphidpkti xangxing aekikh Buiting K Saitoh S Gross S Dittrich B R Schwartz S Nicholls R D Horsthemke B 1995 Inherited microdeletions in the Angelman and Prader Willi syndromes define an imprinting centre on human chromosome 15 Nature Genetics 9 395 doi 10 1038 ng0495 395 replacement character in first4 at position 4 help aehlngkhxmulxun aekikhgeneimprint com Imprinted Gene and Parent of origin Effect Database J Kimball s Imprinted Genes Site Archived 2012 06 27 thi ewyaebkaemchchin Genomic imprinting inhxsmudaephthysastraehngchatixemrikn sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH Harwell Mouse Imprinting Map bthkhwamekiywkbchiwwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karprathbtrathangphnthukrrm amp oldid 9559136, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม