fbpx
วิกิพีเดีย

การปลูกถ่ายอวัยวะ

การปลูกถ่ายอวัยวะ (Organ transplantation) เป็นการย้ายอวัยวะจากร่างหนึ่งไปสู่อีกร่างหนึ่ง หรือ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งในผู้ป่วยคนเดียวกัน เพื่อแทนที่อวัยวะที่เสียหายหรือขาดไป การอุบัติขึ้นของ regenerative medicine ทำให้นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรสามารถสร้างหรือปลูกอวัยวะจากเซลล์ของคนไข้เอง (เซลล์ต้นกำเนิด หรือเซลล์ที่แยกมาจากอวัยวะที่เสื่อม) การปลูกถ่ายอวัยวะและ/หรือเนื้อเยื่อที่ถูกปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเองเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (autotranplantation) การเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (allotranplantation) การปลูกถ่ายด้วยอวัยวะจากสัตว์ชนิดอื่นเรียกว่า การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (xenotransplantation)

Cosmas and Damian miraculously transplant the (black) leg of a Moor onto the (white) body of Justinian. Ditzingen, 16th century

ในปัจจุบันอวัยวะที่สามารถปลูกถ่ายได้ ได้แก่ หัวใจ ไต ตา ตับ ปอด ตับอ่อน ลำไส้เล็ก และ ต่อมไทมัส เนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายได้ ได้แก่ กระดูก เอ็น กระจกตา ผิวหนัง ลิ้นหัวใจ และหลอดเลือดดำ ทั่วโลกมีการปลูกถ่ายไตมากที่สุด ตามมาด้วยตับและหัวใจ ส่วนเนื้อเยื่อ ได้แก่ กระจกตาและเนื้อเยื่อกระดูกและเอ็น อวัยวะบางอย่างเช่นสมองไม่สามารถปลูกถ่ายได้

ผู้บริจาคอวัยวะอาจมีชีวิตอยู่หรือสมองตายแล้ว เนื้อเยื่ออาจทำให้กลับคืนเหมือนเดิมได้ เช่นจากผู้บริจาคที่หัวใจตายมากว่า 24 ชั่วโมงนับจากหัวใจหยุดเต้น อวัยวะนั้นไม่เหมือนเนื้อเยื่อที่ส่วนใหญ่ (ยกเว้นกระจกตา) สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานสุดถึง 5 ปี นั่นหมายความว่าสามารถทำเป็นธนาคารอวัยวะได้ การปลูกถ่ายนำไปสู่ประเด็นทางจริยธรรมมากมายซึ่งรวมถึง การนิยามการตาย การอนุญาตให้ใช้อวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายเมื่อไรและอย่างไร และการจ่ายค่าตอบแทนสำหรับอวัยวะสำหรับปลูกถ่าย ยังมีประเด็นทางจริยธรรมอื่นๆอีกเช่น การทัวร์ปลูกถ่ายและประเด็นสังคมธุรกิจการค้าอวัยวะ ปัญหาเด่นๆได้แก่ การลักลอบค้าขายอวัยวะ

การปลูกถ่ายอวัยวะหรือเนื้อเยื่อเป็นหนึ่งในสาขาวิชาการแพทย์สมัยใหม่ที่ซับซ้อนและท้าทาย กุญแจสำคัญคือปัญหาการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นเนื่อจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันซึ่งอาจนำไปสู่การปลูกถ่ายที่ล้มเหลวและจำเป็นต้องนำอวัยวะนั้นออกจากผู้รับโดยทันที การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะนั้นสามารถลดได้โดยการจัดกลุ่มสายเชื้อ (serotyping) เพื่อหาผู้บริจาคและผู้รับที่เหมาะสมที่สุดและโดยการใช้ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressant drug)

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทย

การปลูกถ่ายและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายบังคับ แต่ได้มีการกำหนดหลักการเบื้องต้นโดยแพทยสภาและสภากาชาดไทย

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศไทยมีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 โดยปลูกถ่ายไต และ ปลูกถ่ายตับ และหัวใจ ได้ในปี พ.ศ. 2530 ปัจจุบัน (ข้อมูลปี พ.ศ. 2553) สามารถปลูกถ่ายอวัยวะต่างได้ ได้แก่ ไต ตับ หัวใจ หัวใจพร้อมปอด ปอด และตับอ่อน ผลการรักษาโดยการปลูกถ่ายอวัยวะใน 1 ปีแรก อวัยวะที่ได้รับการปลูกถ่ายได้แก่ ตับ หัวใจและปอด หัวใจ และไต สามารถทำงานได้ดีในระดับ 80% 75% 70-80% และ 85% ตามลำดับ

ตามสถิติปี พ.ศ. 2553 จำนวนผู้ลงทะเบียนรับอวัยวะมีมากถึง 2,717 คน ในขณะที่สามรถปลูกถ่ายได้เพียง 215 คน อวัยวะจึงยังขาดแคลนอีกมาก มีเหตุผลหลายประการที่ไม่มีอวัยวะเพื่อการปลูกถ่าย เช่น ประเด็นความเข้าใจของญาติผู้บริจาค ประเด็นการปฏิสัมพันธ์ของแพทย์กับญาติผู้บริจาค ประเด็นเทคนิคทางการแพทย์ และประเด็นทางกฎหมาย เป็นต้น จึงต้องอาศัยการประชาสัมพันธ์ให้ญาติและผู้ที่ต้องการบริจาค การออกกฎหมายรองรับ เป็นต้น

ในการติดต่อแสดงความจำนงค์บริจาคอวัยวะก่อนเสียชีวิตนั้น ผู้บริจาคอวัยวะควรเป็นบุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคติดเชื้อ และโรคมะเร็ง สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย สายด่วน 1666 หรือ หมายเลข 0 2256 4045-6 หรือติดต่อด้วยตนเองที่สถานที่ต่อไปนี้

  1. สำนักงานเหล่ากาชาดจังหวัด หรือ สำนักงานกิ่งกาชาด ทุกจังหวัด
  2. เครือข่ายศูนย์รับบริจาคอวัยวะฯ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลสิงห์บุรี โรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี และ โรงพยาบาลขอนแก่น
  3. งานเปลี่ยนอวัยวะ โรงพยาบาลศิริราช
  4. ประชาสัมพันธ์ ตึก ภปร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
  5. สถานที่ออกหน่วยรับบริจาคอวัยวะ เช่น รับบริจาคทุกปีที่งานกาชาด บริเวณอาคารใหม่ สวนอัมพร รับบริจาคทุก 3 เดือน ที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ

ประวัติ

ลำดับเหตุการณ์ของการปลูกถ่ายอวัยวะ

  • ค.ศ.1905: การปลูกถ่ายกระจกตาโดยแอดวร์ด ซีรัม (คลินิคตาโอโลโมทช์ มหาวิทยาลัยการแพทย์โอโลโมทแห่งพาลากส์กี สาธารณรัฐเช็ก(ปัจจุบัน)
  • ค.ศ.1954: การปลูกถ่ายไตโดย เจ ฮาร์ทเวล และ โจเซฟ เมอร์รี (บอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1966: การปลูกถ่ายตับอ่อนโดยริชาร์ด ลิลลีเฮ และ วิลเลียม เคลลี (มินนิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1967: การปลูกถ่ายตับโดยโทมัส สตาร์เซิล (เดนเวอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1967: การปลูกถ่ายหัวใจโดยคริสเชน บาร์นาร์ด (เคปทาว์น ประเทศแอฟริกาใต้)
  • ค.ศ.1981: การปลูกถ่ายหัวใจ/ปอดโดยบรูซ ไรท์ซ (สแตนฟอร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1983: การปลูกถ่ายกลีบปอดโดยโจเอล คูเปอร์ (โทรอนโต ประเทศแคนาดา)
  • ค.ศ.1986: การปลูกถ่ายปอดทั้งคู่ (แอน แฮริสัน) โดยโจเอล คูเปอร์ (โทรอนโต ประเทศแคนาดา)
  • ค.ศ.1990: โจเซฟ อี. เมอร์เรย์ (Joseph E. Murray) และ อี. ดอนนัลล์ โธมัส (E. Donnall Thomas) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์จากการพัฒนาการปลูกถ่ายอวัยวะและเซลล์
  • ค.ศ.1995: การตัดไตจากช่องท้องผู้บริจาคที่มีชีวิตครั้งแรกโดยลอยด์ แรทเนอร์ และ หลุยส์ คาวอซซี (บอลทิมอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1997: การปลูกถ่ายข้อเข่าแบบแอลโลกราฟท์ (เนื้อเยื่อจากสัตว์ชนิดเดียวกัน)ครั้งแรกโดยจี โอ ฮอฟแมน
  • ค.ศ.1998: การปลูกถ่ายตับอ่อนบางส่วนสำเร็จเป็นครั้งแรกโดย เดวิส ซัทเธอแลนด์ (รัฐมินิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.1998: การปลูกถ่ายมือครั้งแรก (ฝรั่งเศส)ggdgrtdgfg
  • ค.ศ.1999: การปลูกถ่ายกระเพาะปัสสาวะจากวิศวกรรมเนื้อเยื่อโดยแอนโทนี อาทาลา (โรงพยาบาลเด็กบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.2005: การปลูกถ่ายใบหน้าบางส่วนครั้งแรก (ฝรั่งเศส)
  • ค.ศ.2006: การปลูกถ่ายขากรรไกรโดยรวมขากรรไกรของผู้บริจาคกับไขกระดูกของคนไข้ครั้งแรกโดย อีริค เจนเด (โรงพยาบาลเมาท์ซายนาย รัฐนิวยอร์ก)
  • ค.ศ.2008: การปลูกถ่ายมือทั้งคู่โดยเอ็ดการ์ บีมาร์,คริสตอฟ ฮูนเค, มานเฟรด สตานเกิล (มหาลัยเทคโนโลยีมิวนิก ประเทศเยอรมัน)
  • ค.ศ.2008: ทารกคนแรกที่เกิดจากรังไข่ปลูกถ่าย
  • ค.ศ.2008: การปลูกถ่ายท่อลมครั้งแรกด้วยการใช้เซลล์ต้นกำเนิดของคนไข้เองโดยเปาโล แมคเชียรินี ศาสตราจารย์ด้านศัลยกรรมที่บาร์เซโลนา ประเทศสเปน
  • ค.ศ.2008: การปลูกถ่ายใบหน้าเกือบทั้งพื้นที่ใบหน้า (ร้อยละ 80) (รวมถึงเพดานปาก จมูก แก้มและหนังตาโดยศัลยแพทย์มาเรีย ชิเมียนอฟ ที่คลิฟแลนด์ สหรัฐอเมริกา)
  • ค.ศ.2010: การปลูกถ่ายเต็มใบหน้าโดย ดร.ฮวน เปเร บาร์เรทและคณะ (โรงพยาบาลในมหาวิทยาลัยวาลเดบรวน เมื่อวันที่ 26 มิถุนายม ค.ศ.2010)
  • ค.ศ.2011: การปลูกถ่ายขาทั้งคู่ครั้งแรกโดย ดร.เปรโดร คาวาดาซ และคณะ (วาเลนเซีย ประเทศสเปน)

ชนิดของการปลูกถ่าย

การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์ (Autograft/autotranplantation)

การปลูกถ่ายด้วยออโทกราฟท์คือการปลูกถ่ายลงในตัวของเจ้าของเอง

การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ (Allograft/allotransplantation

การปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์คือการเปลี่ยนถ่ายที่กระทำจากคนสู่คนหรือสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน

ไอโซกราฟท์ (Isograft)

ไอโซกราฟท์เป็นกลุ่มย่อยของการปลูกถ่ายด้วยแอลโลกราฟท์ซึ่งอวัยวะหรือเนื้อเยื่อถูกปลูกถ่ายจากผู้รับที่มียีนเดียวกัน (เช่น แฝดเหมือน) ไอโซกราฟท์แตกต่างจากการปลูกถ่ายแบบอื่นๆเพราะไม่เกิดการกระตุ้นการตอบสนองระบบภูมิคุ้มกัน

การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์ (Xenograft and xenotransplantation)

การปลูกถ่ายด้วยซีโนกราฟท์คือการปลูกถ่ายด้วยอวัยวะหรือเนื้อเยื่อจากสัตว์ชนิดอื่น

การปลูกถ่ายแยกส่วน (Split transplants)

บางครั้งอวัยวะจากผู้บริจาคที่เสียชีวิต (โดยทั่วไปคือตับ) อาจจะถูกแบ่งให้ผู้รับสองคนโดยเฉพาะผู้ใหญ่และเด็ก แต่นี่ไม่ค่อยจะเป็นที่ต้องการเพราะการปลูกถ่ายอวัยวะทั้งชิ้นจะประสบความสำเร็จมากกว่า

การปลูกถ่ายโดมิโน (Domino transplants)

การผ่าตัดนี้กระทำกับผู้ป่วยที่เป็นโรคซิสติกไฟโบรซิส (Cystic fibrosis) เพราะต้องเปลี่ยนปอดทั้งคู่และจะง่ายขึ้นไปอีกถ้าเปลี่ยนทั้งปอดและหัวใจในเวลาเดียวกัน ถ้าผู้รับอวัยวะมีหัวใจที่สุขภาพดีก็สามารถนำไปปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยอื่นที่ต้องการการปลูกถ่ายหัวใจได้ นอกจากนั้นยังรวมหมายถึงการปลูกถ่ายตับแบบพิเศษที่ผู้มีอาการ familial amyloidotic polyneuropathy (โรคที่ตับผลิตโปรตีนชนิดหนึ่งได้ช้า โดยโปรตีนนี้ใช้เพื่อทำลายอวัยวะอื่น) ตับของผู้ป่วยนี้จึงสามารถนำไปปลูกถ่ายในคนไข้สูงอายุที่อาจตายได้ด้วยสาเหตุอื่นๆ

อวัยวะและเนื้อเยื้อหลักที่สามารถปลูกถ่ายได้

อวัยวะในช่องอก (Thoracic organs)

  • หัวใจ (ผู้บริจาคเสียชีวิตเท่านั้น)
  • ปอด (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • หัวใจ-ปอด ((ผู้บริจาคเสียชีวิตและการปลูกถ่ายแบบโดมิโน)

อวัยวะในช่องท้อง (Abdominal organs)

  • ไต (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • ตับ (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • ตับอ่อน (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • ลำไส้ (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • กระเพาะ (ผู้บริจาคเสียชีวิตเท่านั้น)
  • อัณฑะ

เนื้อเยื่อ, เซลล์, ของไหล (Tissues, cells, fluids)

  • มือ (ผู้บริจาคเสียชีวิตเท่านั้น)
  • กระจกตา (ผู้บริจาคเสียชีวิตเท่านั้น)
  • ผิวหนัง ซึ่งรวมถึงผิวหน้าบางส่วนและทั้งใบหน้า
  • เซลล์ตับอ่อน (Islets of Langerhans) (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)
  • ไขกระดูก/สเต็มเซลล์ (ผู้บริจาคมีชีวิตและการปลูกถ่ายแบบออโทกราฟท์)
  • เลือดและองค์ประกอบ (ผู้บริจาคมีชีวิตและการปลูกถ่ายแบบออโทกราฟท์)
  • หลอดเลือด (ผู้บริจาคเสียชีวิตและการปลูกถ่ายแบบออโทกราฟท์)
  • ลิ้นหัวใจ (ผู้บริจาคเสียชีวิต ผู้บริจาคมีชีวิตและการปลูกถ่ายแบบซีโนกราฟท์(จากหมูและวัว))
  • กระดูก (ผู้บริจาคเสียชีวิตและมีชีวิต)

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศต่างๆ

ประชากรศาสตร์

แม้มีความพยายามของสมาคมการปลูกถ่ายนานาชาติ(international transplantation society)ต่างๆแล้ว แต่ยังเป็นไปไม่ได้ที่จะได้ข้อมูลต่างๆเช่น จำนวน อัตรา และผลของการปลูกถ่าย เป็นต้น อย่างแม่นยำทั่วทั้งโลก วิธีที่ดีที่สุดที่เราทำได้คือการประมาณ

การปลูกถ่ายอวัยวะในประเทศ/ทวีปต่างๆ ปีค.ศ.2000

ไต

(pmp*)

ตับ

(pmp)

หัวใจ

(pmp)

อเมริกา 52 19 8
ยุโรป 27 10 4
ตุรกี 11 3.5 1
เอเชีย 3 0.3 0.03
ลาตินอเมริกา 13 1.6 0.5
  • *ตัวเลขมีหน่วยต่อประชากรล้านคน

แหล่งข้อมูล: [1]

อ้างอิง

  1. See WHO Guiding Principles on human cell, tissue and organ transplantation, Annexed to World Health Organization, 2008.
  2. Further sources in the Bibliography on Ethics of the WHO.
  3. See Organ trafficking and transplantation pose new challenges.
  4. นายแพทย์สุกิจ ทัศนสุนทรวงศ์, ผู้ช่วยเลขาธิการแพทยสภา, วันเสาร์ ที่ 4 กันยายน 2553 การปลูกถ่ายอวัยวะและการบริจาคอวัยวะในประเทศไทยOK Nation Blog
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 84 ง 9 กรกฎาคม 2553 หน้า 106-107 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2553
  6. ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย ระเบียบสภากาชาดไทยว่าด้วยศูนย์รับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย พ.ศ. 2545
  7. [ http://www.organdonate.in.th/Download/pdf/announces.pdf ประกาศศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย]
  8. คู่มือการปลูกถ่ายอวัยวะ, ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ, สภากาชาดไทย
  9. รายงานประจำปี พ.ศ. 2553 ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย
  10. Restore Sight Organization website
  11. The first transplantation of a human knee joint
  12. Wake Forest Physician Reports First Human Recipients of Laboratory Grown Organs
  13. Daily News – "Jaw-Droppin' Op a Success"
  14. "Farmer has double arm transplant". BBC News. August 1, 2008.
  15. Woman to give birth after first ovary transplant pregnancy by James Randerson, science correspondent. guardian.co.uk, Sunday November 9, 2008 12.52 GMT.
  16. Macchiarini P, Jungebluth P, Go T; และคณะ (2008). "Clinical transplantation of a tissue-engineered airway". Lancet. 372 (9655): 2023–30. doi:10.1016/S0140-6736(08)61598-6. PMID 19022496. Unknown parameter |month= ignored (help); Explicit use of et al. in: |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  17. "Full face transplant man reveals his new look on TV". BBC News. July 26, 2010.
  18. Catharine Paddock, PhD (July 12, 2010). "World's First Double-Leg Transplant Takes Place In Spain". Medical News Today.
  19. Doctors plan first testicle transplant

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย
  • ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย

การปล, กถ, ายอว, ยวะ, organ, transplantation, เป, นการย, ายอว, ยวะจากร, างหน, งไปส, กร, างหน, หร, จากท, หน, งไปย, งอ, กท, หน, งในผ, วยคนเด, ยวก, เพ, อแทนท, อว, ยวะท, เส, ยหายหร, อขาดไป, การอ, นของ, regenerative, medicine, ทำให, กว, ทยาศาสตร, และว, ศวกรสามารถสร. karplukthayxwywa Organ transplantation epnkaryayxwywacakranghnungipsuxikranghnung hrux cakthihnungipyngxikthihnunginphupwykhnediywkn ephuxaethnthixwywathiesiyhayhruxkhadip karxubtikhunkhxng regenerative medicine thaihnkwithyasastraelawiswkrsamarthsranghruxplukxwywacakesllkhxngkhnikhexng eslltnkaenid hruxesllthiaeykmacakxwywathiesuxm karplukthayxwywaaela hruxenuxeyuxthithukplukthaylngintwkhxngecakhxngexngeriykwa karplukthaydwyxxothkrafth autotranplantation karepliynthaythikrathacakkhnsukhnhruxsingmichiwitchnidediywkneriykwa karplukthaydwyaexlolkrafth allotranplantation karplukthaydwyxwywacakstwchnidxuneriykwa karplukthaydwysionkrafth xenotransplantation Cosmas and Damian miraculously transplant the black leg of a Moor onto the white body of Justinian Ditzingen 16th century inpccubnxwywathisamarthplukthayid idaek hwic it ta tb pxd tbxxn laiselk aela txmithms enuxeyuxthiplukthayid idaek kraduk exn krackta phiwhnng linhwic aelahlxdeluxdda thwolkmikarplukthayitmakthisud tammadwytbaelahwic swnenuxeyux idaek kracktaaelaenuxeyuxkradukaelaexn xwywabangxyangechnsmxngimsamarthplukthayidphubricakhxwywaxacmichiwitxyuhruxsmxngtayaelw enuxeyuxxacthaihklbkhunehmuxnedimid echncakphubricakhthihwictaymakwa 24 chwomngnbcakhwichyudetn xwywannimehmuxnenuxeyuxthiswnihy ykewnkrackta samarthekbrksaiwidnansudthung 5 pi nnhmaykhwamwasamarththaepnthnakharxwywaid karplukthaynaipsupraednthangcriythrrmmakmaysungrwmthung karniyamkartay karxnuyatihichxwywaephuxkarplukthayemuxiraelaxyangir aelakarcaykhatxbaethnsahrbxwywasahrbplukthay 1 2 yngmipraednthangcriythrrmxunxikechn karthwrplukthayaelapraednsngkhmthurkickarkhaxwywa pyhaednidaek karlklxbkhakhayxwywa 3 karplukthayxwywahruxenuxeyuxepnhnunginsakhawichakaraephthysmyihmthisbsxnaelathathay kuyaecsakhykhuxpyhakarptiesthkarplukthayxwywannenuxcakkartxbsnxngkhxngrabbphumikhumknsungxacnaipsukarplukthaythilmehlwaelacaepntxngnaxwywannxxkcakphurbodythnthi karptiesthkarplukthayxwywannsamarthldidodykarcdklumsayechux serotyping ephuxhaphubricakhaelaphurbthiehmaasmthisudaelaodykarichyakdphumikhumkn immunosuppressant drug enuxha 1 karplukthayxwywainpraethsithy 2 prawti 2 1 ladbehtukarnkhxngkarplukthayxwywa 3 chnidkhxngkarplukthay 3 1 karplukthaydwyxxothkrafth Autograft autotranplantation 3 2 karplukthaydwyaexlolkrafth Allograft allotransplantation 3 2 1 ixoskrafth Isograft 3 3 karplukthaydwysionkrafth Xenograft and xenotransplantation 3 4 karplukthayaeykswn Split transplants 3 5 karplukthayodmion Domino transplants 4 xwywaaelaenuxeyuxhlkthisamarthplukthayid 4 1 xwywainchxngxk Thoracic organs 4 2 xwywainchxngthxng Abdominal organs 4 3 enuxeyux esll khxngihl Tissues cells fluids 5 karplukthayxwywainpraethstang 5 1 prachakrsastr 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunkarplukthayxwywainpraethsithy aekikhkarplukthayaelakarbricakhxwywainpraethsithyyngimmikdhmaybngkhb 4 aetidmikarkahndhlkkarebuxngtnodyaephthyspha 5 aelasphakachadithy 6 7 karplukthayxwywainpraethsithy 8 mimatngaetpi ph s 2515 odyplukthayit aela plukthaytb aelahwic idinpi ph s 2530 pccubn khxmulpi ph s 2553 samarthplukthayxwywatangid idaek it tb hwic hwicphrxmpxd pxd aelatbxxn phlkarrksaodykarplukthayxwywain 1 piaerk xwywathiidrbkarplukthayidaek tb hwicaelapxd hwic aelait samarththanganiddiinradb 80 75 70 80 aela 85 tamladbtamsthitipi ph s 2553 9 canwnphulngthaebiynrbxwywamimakthung 2 717 khn inkhnathisamrthplukthayidephiyng 215 khn xwywacungyngkhadaekhlnxikmak miehtuphlhlayprakarthiimmixwywaephuxkarplukthay echn praednkhwamekhaickhxngyatiphubricakh praednkarptismphnthkhxngaephthykbyatiphubricakh praednethkhnikhthangkaraephthy aelapraednthangkdhmay epntn cungtxngxasykarprachasmphnthihyatiaelaphuthitxngkarbricakh karxxkkdhmayrxngrb epntninkartidtxaesdngkhwamcanngkhbricakhxwywakxnesiychiwitnn phubricakhxwywakhwrepnbukhkhlthimisukhphaphaekhngaerng prascakorkhtidechux aelaorkhmaerng samarthtidtxidthisunyrbbricakhxwywa sphakachadithy saydwn 1666 hrux hmayelkh 0 2256 4045 6 hruxtidtxdwytnexngthisthanthitxipni sanknganehlakachadcnghwd hrux sankngankingkachad thukcnghwd ekhruxkhaysunyrbbricakhxwywa n orngphyabalsrinkhrinthr cnghwdkhxnaekn orngphyabalchlburi orngphyabalsinghburi orngphyabalbanopng cnghwdrachburi aela orngphyabalkhxnaekn nganepliynxwywa orngphyabalsirirach prachasmphnth tuk phpr orngphyabalculalngkrn sthanthixxkhnwyrbbricakhxwywa echn rbbricakhthukpithingankachad briewnxakharihm swnxmphr rbbricakhthuk 3 eduxn thiwdpaknaphasiecriyprawti aekikhladbehtukarnkhxngkarplukthayxwywa aekikh kh s 1905 karplukthaykracktaodyaexdwrd sirm khlinikhtaoxolomthch mhawithyalykaraephthyoxolomthaehngphalakski satharnrthechk pccubn 10 kh s 1954 karplukthayitody ec harthewl aela ocesf emxrri bxstn praethsshrthxemrika kh s 1966 karplukthaytbxxnodyrichard lillieh aela wileliym ekhlli minniosta praethsshrthxemrika kh s 1967 karplukthaytbodyothms staresil ednewxr praethsshrthxemrika kh s 1967 karplukthayhwicodykhrisechn barnard ekhpthawn praethsaexfrikait kh s 1981 karplukthayhwic pxdodybrus irths saetnfxrd praethsshrthxemrika kh s 1983 karplukthayklibpxdodyocexl khuepxr othrxnot praethsaekhnada kh s 1986 karplukthaypxdthngkhu aexn aehrisn odyocexl khuepxr othrxnot praethsaekhnada kh s 1990 ocesf xi emxrery Joseph E Murray aela xi dxnnll othms E Donnall Thomas idrbrangwloneblsakhasrirwithyahruxkaraephthycakkarphthnakarplukthayxwywaaelaesll kh s 1995 kartditcakchxngthxngphubricakhthimichiwitkhrngaerkodylxyd aerthenxr aela hluys khawxssi bxlthimxr praethsshrthxemrika kh s 1997 karplukthaykhxekhaaebbaexlolkrafth enuxeyuxcakstwchnidediywkn khrngaerkodyci ox hxfaemn 11 kh s 1998 karplukthaytbxxnbangswnsaercepnkhrngaerkody edwis sthethxaelnd rthminiosta praethsshrthxemrika kh s 1998 karplukthaymuxkhrngaerk frngess ggdgrtdgfg kh s 1999 karplukthaykraephaapssawacakwiswkrrmenuxeyuxodyaexnothni xathala orngphyabaledkbxstn praethsshrthxemrika 12 kh s 2005 karplukthayibhnabangswnkhrngaerk frngess kh s 2006 karplukthaykhakrrikrodyrwmkhakrrikrkhxngphubricakhkbikhkradukkhxngkhnikhkhrngaerkody xirikh ecned orngphyabalemathsaynay rthniwyxrk 13 kh s 2008 karplukthaymuxthngkhuodyexdkar bimar khristxf hunekh manefrd stanekil mhalyethkhonolyimiwnik praethseyxrmn 14 kh s 2008 tharkkhnaerkthiekidcakrngikhplukthay 15 kh s 2008 karplukthaythxlmkhrngaerkdwykaricheslltnkaenidkhxngkhnikhexngodyepaol aemkhechiyrini sastracarydanslykrrmthibaresolna praethssepn 16 kh s 2008 karplukthayibhnaekuxbthngphunthiibhna rxyla 80 rwmthungephdanpak cmuk aekmaelahnngtaodyslyaephthymaeriy chiemiynxf thikhlifaelnd shrthxemrika kh s 2010 karplukthayetmibhnaody dr hwn eper barerthaelakhna orngphyabalinmhawithyalywaledbrwn emuxwnthi 26 mithunaym kh s 2010 17 kh s 2011 karplukthaykhathngkhukhrngaerkody dr eprodr khawadas aelakhna waelnesiy praethssepn 18 chnidkhxngkarplukthay aekikhkarplukthaydwyxxothkrafth Autograft autotranplantation aekikh karplukthaydwyxxothkrafthkhuxkarplukthaylngintwkhxngecakhxngexng karplukthaydwyaexlolkrafth Allograft allotransplantation aekikh karplukthaydwyaexlolkrafthkhuxkarepliynthaythikrathacakkhnsukhnhruxsingmichiwitchnidediywkn ixoskrafth Isograft aekikh ixoskrafthepnklumyxykhxngkarplukthaydwyaexlolkrafthsungxwywahruxenuxeyuxthukplukthaycakphurbthimiyinediywkn echn aefdehmuxn ixoskrafthaetktangcakkarplukthayaebbxunephraaimekidkarkratunkartxbsnxngrabbphumikhumkn karplukthaydwysionkrafth Xenograft and xenotransplantation aekikh karplukthaydwysionkrafthkhuxkarplukthaydwyxwywahruxenuxeyuxcakstwchnidxun karplukthayaeykswn Split transplants aekikh bangkhrngxwywacakphubricakhthiesiychiwit odythwipkhuxtb xaccathukaebngihphurbsxngkhnodyechphaaphuihyaelaedk aetniimkhxycaepnthitxngkarephraakarplukthayxwywathngchincaprasbkhwamsaercmakkwa karplukthayodmion Domino transplants aekikh karphatdnikrathakbphupwythiepnorkhsistikifobrsis Cystic fibrosis ephraatxngepliynpxdthngkhuaelacangaykhunipxikthaepliynthngpxdaelahwicinewlaediywkn thaphurbxwywamihwicthisukhphaphdiksamarthnaipplukthayihkbphupwyxunthitxngkarkarplukthayhwicid nxkcaknnyngrwmhmaythungkarplukthaytbaebbphiessthiphumixakar familial amyloidotic polyneuropathy orkhthitbphlitoprtinchnidhnungidcha odyoprtinniichephuxthalayxwywaxun tbkhxngphupwynicungsamarthnaipplukthayinkhnikhsungxayuthixactayiddwysaehtuxunxwywaaelaenuxeyuxhlkthisamarthplukthayid aekikhxwywainchxngxk Thoracic organs aekikh hwic phubricakhesiychiwitethann pxd phubricakhesiychiwitaelamichiwit hwic pxd phubricakhesiychiwitaelakarplukthayaebbodmion xwywainchxngthxng Abdominal organs aekikh it phubricakhesiychiwitaelamichiwit tb phubricakhesiychiwitaelamichiwit tbxxn phubricakhesiychiwitaelamichiwit lais phubricakhesiychiwitaelamichiwit kraephaa phubricakhesiychiwitethann xntha 19 enuxeyux esll khxngihl Tissues cells fluids aekikh mux phubricakhesiychiwitethann krackta phubricakhesiychiwitethann phiwhnng sungrwmthungphiwhnabangswnaelathngibhna eslltbxxn Islets of Langerhans phubricakhesiychiwitaelamichiwit ikhkraduk setmesll phubricakhmichiwitaelakarplukthayaebbxxothkrafth eluxdaelaxngkhprakxb phubricakhmichiwitaelakarplukthayaebbxxothkrafth hlxdeluxd phubricakhesiychiwitaelakarplukthayaebbxxothkrafth linhwic phubricakhesiychiwit phubricakhmichiwitaelakarplukthayaebbsionkrafth cakhmuaelaww kraduk phubricakhesiychiwitaelamichiwit karplukthayxwywainpraethstang aekikhprachakrsastr aekikh aemmikhwamphyayamkhxngsmakhmkarplukthaynanachati international transplantation society tangaelw aetyngepnipimidthicaidkhxmultangechn canwn xtra aelaphlkhxngkarplukthay epntn xyangaemnyathwthngolk withithidithisudthierathaidkhuxkarpraman karplukthayxwywainpraeths thwiptang pikh s 2000 it pmp tb pmp hwic pmp xemrika 52 19 8yuorp 27 10 4turki 11 3 5 1exechiy 3 0 3 0 03latinxemrika 13 1 6 0 5 twelkhmihnwytxprachakrlankhnaehlngkhxmul 1 xangxing aekikh See WHO Guiding Principles on human cell tissue and organ transplantation Annexed to World Health Organization 2008 Further sources in the Bibliography on Ethics of the WHO See Organ trafficking and transplantation pose new challenges nayaephthysukic thsnsunthrwngs phuchwyelkhathikaraephthyspha wnesar thi 4 knyayn 2553 karplukthayxwywaaelakarbricakhxwywainpraethsithyOK Nation Blog rachkiccanuebksa elm 127 txnphiess 84 ng 9 krkdakhm 2553 hna 106 107 khxbngkhbaephthyspha wadwykarrksacriythrrmaehngwichachiphewchkrrm chbbthi 4 ph s 2553 sunyrbbricakhxwywa sphakachadithy raebiybsphakachadithywadwysunyrbbricakhxwywasphakachadithy ph s 2545 http www organdonate in th Download pdf announces pdf prakassunyrbbricakhxwywa sphakachadithy khumuxkarplukthayxwywa sunyrbbricakhxwywa sphakachadithy raynganpracapi ph s 2553 sunyrbbricakhxwywa sphakachadithy Restore Sight Organization website The first transplantation of a human knee joint Wake Forest Physician Reports First Human Recipients of Laboratory Grown Organs Daily News Jaw Droppin Op a Success Farmer has double arm transplant BBC News August 1 2008 Woman to give birth after first ovary transplant pregnancy by James Randerson science correspondent guardian co uk Sunday November 9 2008 12 52 GMT Macchiarini P Jungebluth P Go T aelakhna 2008 Clinical transplantation of a tissue engineered airway Lancet 372 9655 2023 30 doi 10 1016 S0140 6736 08 61598 6 PMID 19022496 Unknown parameter month ignored help Explicit use of et al in author help CS1 maint multiple names authors list link Full face transplant man reveals his new look on TV BBC News July 26 2010 Catharine Paddock PhD July 12 2010 World s First Double Leg Transplant Takes Place In Spain Medical News Today Doctors plan first testicle transplantaehlngkhxmulxun aekikhsmakhmplukthayxwywaaehngpraethsithy sunyrbbricakhxwywa sphakachadithy bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title karplukthayxwywa amp oldid 9241282, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม