fbpx
วิกิพีเดีย

การสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์

การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย

ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 และการพิชิตดวงจันทร์เป็นครั้งแรกของยานอพอลโล 11 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 โดยมากโครงการสำรวจอวกาศของโซเวียตจะสามารถบรรลุเป้าหมายเป็นครั้งแรกได้ก่อน ภายใต้การนำของ Sergey Korolyov และ Kerim Kerimov เช่นการส่งนักบินอวกาศออกไปนอกโลกได้เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1961 (ยูริ กาการิน เป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลก) การออกเดินในอวกาศครั้งแรกใน ค.ศ. 1965 (อเล็กซี เลโอนอฟ) และการส่งสถานีอวกาศแห่งแรก (สถานีอวกาศซัลยูต 1) ในปี ค.ศ. 1971 อย่างไรก็ดี วัตถุชิ้นแรกที่สร้างโดยมนุษย์และออกไปถึงระดับอวกาศเป็นครั้งแรก คือจรวด V2 ของนาซีเยอรมนีที่ใช้ในช่วงแรกๆ ของสงครามโลกครั้งที่สอง

ประวัติ

การสำรวจอวกาศเริ่มต้นมานานตั้งแต่สมัยโบราณชาวมายาได้วาดภาพปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ต่างๆ ชาวอียิปต์โบราณได้สร้างพีระมิดที่ชี้ถึงดวงดาวต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษมีการสร้างสโตนเฮจซึ่งคาดการณ์ว่า สร้างขึ้นเพื่อบอกตำแหน่งของดวงอาทิตย์และมีการเสนอข้อมูลของดวงอาทิตย์ขึ้นมาได้แก่ ดวงอาทิตย์เป็นลูกไฟกลมดวงหนึ่ง และมีการเสนอ แนวคิดที่ว่าดวงอาทิตย์หมุนรอบโลกและแนวคิดของนิโคลัส โคเปอร์นิคัสที่เสนอว่าความจริงแล้วโลกหมุนรอบดวงอาทิตย์และมีการประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์สำหรับสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าต่างๆและไขปริศนาต่างๆของวัตถุท้องฟ้าได้ แต่เพิ่งจะมีการเดินทางไปสู่อวกาศสำเร็จเป็นครั้งแรกและจริงจัง ในปีค.ศ.1957หรือเมื่อ62ปีที่ผ่านมานี้เอง

วันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 สหภาพโซเวียตได้สร้างดาวเทียมดวงแรกของโลกชื่อว่า"สปุตนิก1"และโซเวียตได้ส่งมันสู่อวกาศเป็นครั้งแรก

วันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957 สหภาพโซเวียตได้ประดิษฐ์ดาวเทียมที่ชื่อว่า"สปุตนิก2"พร้อมกับได้ส่งสุนัขชื่อ"ไลก้า"ไปพร้อมกับดาวเทียมด้วย ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดแรกของโลกที่ขึ้นสู่อวกาศเป็นครั้งแรก

วันที่ 2 มกราคม ค.ศ. 1959 สหภาพโซเวียตได้ประดิษฐ์ดาวเทียม"ลูน่า1"และได้ส่งมันขึ้นสู่อวกาศเพื่อให้มันเข้าพุ่งชนพื้นผิวดวงจันทร์ และนำข้อมูลของพื้นผิวดวงจันทร์กลับมายังโลกแต่ประสบความล้มเหลวเนื่องจากดาวเทียมลูน่า1ได้หลุดไปโคจรรอบดวงอาทิตย์แทน

วันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1959 หลังจากลูน่า1ประสบความล้มเหลวโซเวียตได้ประดิษฐ์"ลูน่า2"และได้ส่งมันขึ้นสู่อวกาศอีกครั้งโดยคราวนี้พุ่งชน พื้นผิวของดวงจันทร์ได้สำเร็จและนำข้อมูลกลับมายังโลกเป็นครั้งแรกของโลกที่ดาวเทียมไปถึงพื้นผิวของดาวดวงอื่นที่ไม่ใช่โลก

วันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1961 สหภาพโซเวียตได้สร้างยานวอสต็อก1แล้วส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกพร้อมกับได้ส่ง ยูริ กาการิน ไปโคจรรอบโลกพร้อมกับยานวอสต็อก1ด้วย ยูริ กาการินจึงเป็นนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่ออกไปนอกโลก

ค.ศ. 1964 สหรัฐอเมริกาได้ส่งยานสำรวจอวกาศชื่อว่า"มารีเนอร์4"ไปสำรวจดาวอังคารและถ่ายภาพพื้นผิวดาวอังคารกลับมายังโลก ซึ่งทำให้รู้ว่าดาวอังคารมีหลุมอุกกาบาตจำนวนมากเช่นเดียวกับดวงจันทร์และพบปากปล่องภูเขาไฟจำนวนมาก


วันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 สหรัฐอเมริกาได้ส่งยานอพอลโล11พร้อกับนักบินอวกาศคนแรกของโลกที่ได้เหยียบ พื้นผิวของดวงจันทร์

ปี ค.ศ. 1971 สหภาพโซเวียตได้ส่งยานสำรวจอวกาศ"มาร์3"ลงจอดบนดาวอังคารเพื่อวิเคราะห์สภาพพื้นผิว อุณหภูมิ ภูมิศาสตร์ ชั้นบรรยากาศ รวมถึง สนามแม่เหล็กบนดาวอังคาร

ปีค.ศ. 1971 สหรัฐอเมริกาได้ส่งยานมารีเนอร์9ไปสำรวจดาวอังคารอีกครั้งและพบ ภูเขาไฟ น้ำแข็งที่ขั้วดาว และตรวจพบดาวบริวารของดาวอังคาร2ดวงซึ่งได้รับการตั้งชื่อ ในเวลาต่อมาว่า"โฟบอส"และ"ดีมอส"

ปี ค.ศ. 1975 สหรัฐอเมริกาได้ส่งยานไวกิ้ง1ไปดาวอังคารพร้อมกับได้ส่งยานไวกิ้ง2ตามไป เพื่อสำรวจพื้นผิวหุบเขา ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร

เดือนกุมภาพันธ์ค.ศ. 1986 สหภาพโซเวียตได้ส่งสถานีอวกาศที่ชื่อว่าเมียร์ออกไปโคจรรอบโลกได้สำเร็จ มีการทดลองและสังเกตการณ์ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆมากมายซึ่งเป็นสถานีอวกาศสถานีแรกของโลก

ปี ค.ศ. 1997 สหรัฐอเมริกาได้ปล่อยหุ่นยนต์สี่ล้อชื่อ"โซเจอร์เนอร์"จากยานพาทไฟน์เดอร์ลงสู่พื้นผิวดาวอังคารข้อมูล ถ่ายภาพ วิเคราะห์ส่วนประกอบของ หิน และ ดินบนดาวอังคารส่งกลับมายังโลก

ข้อดีของการสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศนั้นมีข้อดีหลายประการไม่ว่าจะเป็นการที่รู้ข้อมูลของดาวเคราะห์ต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการตั้งถิ่นฐานนอกโลก การสังเกตการณ์สิ่งที่จะเข้าพุ่งชนโลกหรือการทำนาย วันเวลาที่อุกกาบาตหรือดาวหางพุ่งชนโลกหรือการสังเกตจุดดำบนดวงอาทิตย์ในการทำนายความรุนแรงของพายุสุริยะ เพื่อที่จะได้เตรียมการแก้ไขปัญหาต่างๆได้ล่วงหน้า

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "How Space is Explored". NASA.

การสำรวจอวกาศ, อการใช, ทยาการด, านดาราศาสตร, และอวกาศเพ, อสำรวจและศ, กษาห, วงอวกาศภายนอก, การศ, กษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได, งโดยยานอวกาศท, ควบค, มโดยมน, ษย, หร, อโดยห, นยนต, การเฝ, าส, งเกตการณ, ตถ, องฟ, หร, อท, เร, ยกว, าว, ชาดาราศาสตร, ได, กระทำก, นมานานด. karsarwcxwkas khuxkarichwithyakardandarasastraelaxwkasephuxsarwcaelasuksahwngxwkasphaynxk 1 karsuksaxwkasinthangkayphaphsamarththaidthngodyyanxwkasthikhwbkhumodymnusyhruxodyhunyntkarefasngektkarnwtthuthxngfa hruxthieriykwawichadarasastr idkrathaknmanandngpraktinbnthukprawtisastr thwakarichcrwdechuxephlingehlwkhnadihythierimkhuninchwngtnkhriststwrrsthi 20 thaihkarsarwcxwkasinthangkayphaphmikhwamepncringepncngmakkhun khwamkawhnainkarsarwcxwkasepnphlcaknganwicythangwithyasastrthilayukhrwmthungkarrwmmuxrahwangpraethsephuxkhwamxyurxdinxnakhtkhxngmnusychati khnaediywknkepnkarsrangpraoychninthangthharhruxthangklyuthththiehnuxkwapraethsxun inbangkhrngcungmikarwiphakswicarnthungpraoychnkhxngkarsarwcxwkas odyechphaaxyangyinginpraedneruxngkhaichcayaelakhwamplxdphykhrnghnungkarsarwcxwkasepnpraednkaraekhngkhnthisakhyrahwangkhwxanac echninrahwangsngkhrameyn karsarwcxwkasyukhihmchwngaerkepnkaraekhngkhnknrahwangshphaphosewiytkbshrthxemrika idaek karsngyanthisrangdwymnusyxxkipokhcrrxbolkidepnkhrngaerkindawethiymsputnik 1 khxngshphaphosewiyt emux 4 tulakhm kh s 1957 aelakarphichitdwngcnthrepnkhrngaerkkhxngyanxphxlol 11 khxngshrthxemrikaemux 20 krkdakhm kh s 1969 odymakokhrngkarsarwcxwkaskhxngosewiytcasamarthbrrluepahmayepnkhrngaerkidkxn phayitkarnakhxng Sergey Korolyov aela Kerim Kerimov echnkarsngnkbinxwkasxxkipnxkolkidepnkhrngaerkin kh s 1961 yuri kakarin epnnkbinxwkaskhnaerkkhxngolk karxxkedininxwkaskhrngaerkin kh s 1965 xelksi eloxnxf aelakarsngsthanixwkasaehngaerk sthanixwkasslyut 1 inpi kh s 1971 xyangirkdi wtthuchinaerkthisrangodymnusyaelaxxkipthungradbxwkasepnkhrngaerk khuxcrwd V2 khxngnasieyxrmnithiichinchwngaerk khxngsngkhramolkkhrngthisxng enuxha 1 prawti 2 khxdikhxngkarsarwcxwkas 3 duephim 4 xangxingprawti aekikhkarsarwcxwkaserimtnmanantngaetsmyobranchawmayaidwadphaphpraktkarnthangdarasastrtang chawxiyiptobranidsrangphiramidthichithungdwngdawtang thipraethsxngkvsmikarsrangsotnehcsungkhadkarnwa srangkhunephuxbxktaaehnngkhxngdwngxathityaelamikaresnxkhxmulkhxngdwngxathitykhunmaidaek dwngxathityepnlukifklmdwnghnung aelamikaresnx aenwkhidthiwadwngxathityhmunrxbolkaelaaenwkhidkhxngniokhls okhepxrnikhsthiesnxwakhwamcringaelwolkhmunrxbdwngxathityaelamikarpradisthklxngothrthrrsnsahrbsngektkarnwtthuthxngfatangaelaikhprisnatangkhxngwtthuthxngfaid aetephingcamikaredinthangipsuxwkassaercepnkhrngaerkaelacringcng inpikh s 1957hruxemux62pithiphanmaniexngwnthi 4 tulakhm kh s 1957 shphaphosewiytidsrangdawethiymdwngaerkkhxngolkchuxwa sputnik1 aelaosewiytidsngmnsuxwkasepnkhrngaerkwnthi 3 phvscikayn kh s 1957 shphaphosewiytidpradisthdawethiymthichuxwa sputnik2 phrxmkbidsngsunkhchux ilka ipphrxmkbdawethiymdwy sungepnsingmichiwitchnidaerkkhxngolkthikhunsuxwkasepnkhrngaerkwnthi 2 mkrakhm kh s 1959 shphaphosewiytidpradisthdawethiym luna1 aelaidsngmnkhunsuxwkasephuxihmnekhaphungchnphunphiwdwngcnthr aelanakhxmulkhxngphunphiwdwngcnthrklbmayngolkaetprasbkhwamlmehlwenuxngcakdawethiymluna1idhludipokhcrrxbdwngxathityaethnwnthi 14 knyayn kh s 1959 hlngcakluna1prasbkhwamlmehlwosewiytidpradisth luna2 aelaidsngmnkhunsuxwkasxikkhrngodykhrawniphungchn phunphiwkhxngdwngcnthridsaercaelanakhxmulklbmayngolkepnkhrngaerkkhxngolkthidawethiymipthungphunphiwkhxngdawdwngxunthiimicholkwnthi 12 emsayn kh s 1961 shphaphosewiytidsrangyanwxstxk1aelwsngkhunipokhcrrxbolkphrxmkbidsng yuri kakarin ipokhcrrxbolkphrxmkbyanwxstxk1dwy yuri kakarincungepnnkbinxwkaskhnaerkkhxngolkthixxkipnxkolkkh s 1964shrthxemrikaidsngyansarwcxwkaschuxwa marienxr4 ipsarwcdawxngkharaelathayphaphphunphiwdawxngkharklbmayngolk sungthaihruwadawxngkharmihlumxukkabatcanwnmakechnediywkbdwngcnthraelaphbpakplxngphuekhaifcanwnmakwnthi 20 krkdakhm kh s 1969 shrthxemrikaidsngyanxphxlol11phrxkbnkbinxwkaskhnaerkkhxngolkthiidehyiyb phunphiwkhxngdwngcnthrpi kh s 1971shphaphosewiytidsngyansarwcxwkas mar3 lngcxdbndawxngkharephuxwiekhraahsphaphphunphiw xunhphumi phumisastr chnbrryakas rwmthung snamaemehlkbndawxngkharpikh s 1971shrthxemrikaidsngyanmarienxr9ipsarwcdawxngkharxikkhrngaelaphb phuekhaif naaekhngthikhwdaw aelatrwcphbdawbriwarkhxngdawxngkhar2dwngsungidrbkartngchux inewlatxmawa ofbxs aela dimxs pi kh s 1975shrthxemrikaidsngyaniwking1ipdawxngkharphrxmkbidsngyaniwking2tamip ephuxsarwcphunphiwhubekha rxngrxykhxngsingmichiwitbndawxngkhareduxnkumphaphnthkh s 1986shphaphosewiytidsngsthanixwkasthichuxwaemiyrxxkipokhcrrxbolkidsaerc mikarthdlxngaelasngektkarnthangwithyasastrtangmakmaysungepnsthanixwkassthaniaerkkhxngolkpi kh s 1997shrthxemrikaidplxyhunyntsilxchux osecxrenxr cakyanphathifnedxrlngsuphunphiwdawxngkharkhxmul thayphaph wiekhraahswnprakxbkhxng hin aela dinbndawxngkharsngklbmayngolkkhxdikhxngkarsarwcxwkas aekikhkarsarwcxwkasnnmikhxdihlayprakarimwacaepnkarthirukhxmulkhxngdawekhraahtang ephuxnaipichinkartngthinthannxkolk karsngektkarnsingthicaekhaphungchnolkhruxkarthanay wnewlathixukkabathruxdawhangphungchnolkhruxkarsngektcuddabndwngxathityinkarthanaykhwamrunaerngkhxngphayusuriya ephuxthicaidetriymkaraekikhpyhatangidlwnghnaduephim aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb karsarwcxwkasyanxwkas kraswyxwkas sthanixwkasxangxing aekikh How Space is Explored NASA bthkhwamekiywkbkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsarwcxwkas amp oldid 9344387, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม