fbpx
วิกิพีเดีย

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ในวิชากลศาสตร์และฟิสิกส์ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (อังกฤษ: simple harmonic motion) เป็นการเคลื่อนที่เป็นคาบประเภทหนึ่ง โดยที่แรงดึงกลับแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศทางตรงข้ามกับการกระจัด

การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการเคลื่อนที่หลายอย่าง เช่น การสั่นของสปริง นอกจากนี้ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายยังประมาณปรากฏการณ์อื่นได้ ซึ่งรวมการเคลื่อนที่ของลูกตุ้มอย่างง่าย ตลอดจนการสั่นของโมเลกุล การเคลื่อนที่ของมวลบนสปริงเมื่ออยู่ภายใต้แรงดึงกลับยืดหยุ่นเชิงเส้นตามกฎของฮุกเป็นตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนที่นี้มีความถี่พ้องเดียว ในการเกิดการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย แรงลัพธ์ของวัตถุที่ปลายลูกตุ้มต้องเท่ากับการกระจัด

ปริมาณต่าง ๆ

  1. แอมพลิจูด (Amplitude) คือ การกระจัดสูงสุดของการเคลื่อนที่วัดจากจุดสมดุลไปยังจุดปลาย หรือบางครั้งเรียกว่า ช่วงกว้างของคลื่น
  2. คาบ (Period) คือ ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ นับจากจุดปลายด้านหนึ่งไปยังจุดปลายอีกด้านหนึ่ง แล้วเคลื่อนที่กลับมายังจุดปลายเดิม โดยมีหน่วยเป็น วินาที / รอบ หรือ วินาที
  3. ความถี่ (Frequency) คือ จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น รอบ / วินาที หรือ เฮิรตซ์ (Hz)

พลศาสตร์ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ในกลศาสตร์นิวตัน สมการการเคลื่อนที่ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายอยู่ในรูปของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นอันดับสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นค่าคงตัว ซึงหาได้จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันและกฎของฮุกสำหรับมวลติดสปริง

 

เมื่อ m คือมวลของวัตถุที่มีการสั่น x คือการกระจัดจากตำแหน่งสมดุล และ k คือค่าคงตัวหรือค่านิจของสปริง (สำหรับมวลติดสปริง)

ดังนั้น

 

ผลเฉลยของสมการอนุพันธ์นี้จะอยู่ในรูปของฟังก์ชันไซน์ (sinusoidal function)

 

สามารถเขียนให้อยู่ในรูป

 

เมื่อ

 

จากผลเฉลยข้างต้น c1 และ c2 คือค่าคงตัวซึ่งกำหนดโดยเงื่อนไขเริ่มต้น และกำหนดให้จุดกำเนิดอยู่ที่ตำแหน่งสมดุล A คือแอมพลิจูด (การกระจัดสูงสุดจากตำแหน่งสมดุล ω = 2πf คือความถี่เชิงมุม และ φ คือเฟสเริ่มต้น

ความเร็วและความเร่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายมีค่าเท่ากับ

 

ความเร็วสูงสุด: v=ωA (ที่จุดสมดุล)

 

ความเร่งสูงสุด: {{{1}}}

จากนิยามความเร่งและการกระจัด ถ้ามวล m เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย ความเร่งของมวลนั้นจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการกระจัด

 

เมื่อ  

เนื่องจาก ω = 2πf

 

และเนื่องจาก T = 1/f เมื่อ T คือคาบ จะได้ว่า

 

สมการเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกไม่ขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดและเฟสเริ่มต้นของการเคลื่อนที่

พลังงาน

แทนค่า ω2 ด้วย k/m พลังงานจลน์ K ของระบบที่เวลา t มีค่าเท่ากับ

 

และพลังงานศักย์ของระบบมีค่าเท่ากับ

 

เมื่อไม่มีแรงเสียดทานและไม่มีการสูญเสียพลังงาน ผลรวมของพลังงานกล(mechanical energy) จะมีค่าคงตัว

 

ตัวอย่าง

 
ระบบสปริง–มวลที่ไม่หน่วงมีการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

ระบบทางฟิสิกส์ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

มวลติดสปริง

มวล m ก้อนหนึ่งติดอยู่กับสปริงที่มีค่าคงที่ของสปริง k อธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายในปริภูมิปิด

 

สมการข้างบนนี้แสดงให้เห็นว่าคาบของการแกว่ง T ไม่ขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดและความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง สมการข้างบนนี้ยังคงใช้ได้เมื่อมีแรงคงที่กระทำต่อมวล กล่าวคือ แรงคงที่ที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ทำให้คาบของการแกว่งเปลี่ยนไป

อ้างอิง

  • Walker, Jearl (2011). Principles of Physics (9th ed.). Hoboken, N.J. : Wiley. ISBN 0-470-56158-0.
  • Thornton, Stephen T.; Marion, Jerry B. (2003). Classical Dynamics of Particles and Systems (5th ed.). Brooks Cole. ISBN 0-534-40896-6.
  • John R Taylor (2005). Classical Mechanics. University Science Books. ISBN 1-891389-22-X.
  • Grant R. Fowles; George L. Cassiday (2005). Analytical Mechanics (7th ed.). Thomson Brooks/Cole. ISBN 0-534-49492-7.

การเคล, อนท, แบบฮาร, มอน, กอย, างง, าย, ในว, ชากลศาสตร, และฟ, กส, งกฤษ, simple, harmonic, motion, เป, นการเคล, อนท, เป, นคาบประเภทหน, โดยท, แรงด, งกล, บแปรผ, นตรงก, บการกระจ, และม, ศทางตรงข, ามก, บการกระจ, ดเป, นแบบจำลองทางคณ, ตศาสตร, สำหร, บการเคล, อนท, หลายอ. inwichaklsastraelafisiks karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay xngkvs simple harmonic motion epnkarekhluxnthiepnkhabpraephthhnung odythiaerngdungklbaeprphntrngkbkarkracd aelamithisthangtrngkhamkbkarkracdkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayepnaebbcalxngthangkhnitsastrsahrbkarekhluxnthihlayxyang echn karsnkhxngspring nxkcakni karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayyngpramanpraktkarnxunid sungrwmkarekhluxnthikhxngluktumxyangngay tlxdcnkarsnkhxngomelkul karekhluxnthikhxngmwlbnspringemuxxyuphayitaerngdungklbyudhyunechingesntamkdkhxnghukepntwxyangkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay karekhluxnthinimikhwamthiphxngediyw inkarekidkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay aernglphthkhxngwtthuthiplayluktumtxngethakbkarkracd enuxha 1 primantang 2 phlsastrkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay 3 phlngngan 4 twxyang 4 1 mwltidspring 5 xangxingprimantang aekikhaexmphlicud Amplitude khux karkracdsungsudkhxngkarekhluxnthiwdcakcudsmdulipyngcudplay hruxbangkhrngeriykwa chwngkwangkhxngkhlun khab Period khux chwngewlathiwtthuekhluxnthikhrbhnungrxb nbcakcudplaydanhnungipyngcudplayxikdanhnung aelwekhluxnthiklbmayngcudplayedim odymihnwyepn winathi rxb hrux winathi khwamthi Frequency khux canwnrxbthiwtthuekhluxnthiidinhnunghnwyewla mihnwyepn rxb winathi hrux ehirts Hz phlsastrkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay aekikhinklsastrniwtn smkarkarekhluxnthikhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayxyuinrupkhxngsmkarechingxnuphnthsamyechingesnxndbsxngthimismprasiththiepnkhakhngtw sunghaidcakkdkarekhluxnthikhxthisxngkhxngniwtnaelakdkhxnghuksahrbmwltidspring F n e t m d 2 x d t 2 k x displaystyle F mathrm net m frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 kx emux m khuxmwlkhxngwtthuthimikarsn x khuxkarkracdcaktaaehnngsmdul aela k khuxkhakhngtwhruxkhanickhxngspring sahrbmwltidspring dngnn d 2 x d t 2 k m x displaystyle frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 frac k m x phlechlykhxngsmkarxnuphnthnicaxyuinrupkhxngfngkchnisn sinusoidal function x t c 1 cos w t c 2 sin w t displaystyle x t c 1 cos left omega t right c 2 sin left omega t right samarthekhiynihxyuinrup x t A cos w t f displaystyle x t A cos left omega t varphi right emux w k m A c 1 2 c 2 2 tan f c 2 c 1 displaystyle omega sqrt frac k m qquad A sqrt c 1 2 c 2 2 qquad tan varphi frac c 2 c 1 cakphlechlykhangtn c1 aela c2 khuxkhakhngtwsungkahndodyenguxnikherimtn aelakahndihcudkaenidxyuthitaaehnngsmdul A khuxaexmphlicud karkracdsungsudcaktaaehnngsmdul w 2pf khuxkhwamthiechingmum aela f khuxefserimtnkhwamerwaelakhwamerngkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngaymikhaethakb v t d x d t A w sin w t f displaystyle v t frac mathrm d x mathrm d t A omega sin omega t varphi khwamerwsungsud v wA thicudsmdul a t d 2 x d t 2 A w 2 cos w t f displaystyle a t frac mathrm d 2 x mathrm d t 2 A omega 2 cos omega t varphi khwamerngsungsud 1 cakniyamkhwamerngaelakarkracd thamwl m ekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay khwamerngkhxngmwlnncaepnsdswnodytrngkbkarkracd a x w 2 x displaystyle a x omega 2 x emux w 2 k m displaystyle omega 2 frac k m enuxngcak w 2pf f 1 2 p k m displaystyle f frac 1 2 pi sqrt frac k m aelaenuxngcak T 1 f emux T khuxkhab caidwa T 2 p m k displaystyle T 2 pi sqrt frac m k smkarehlaniaesdngihehnwakarekhluxnthiaebbharmxnikimkhunxyukbaexmphlicudaelaefserimtnkhxngkarekhluxnthiphlngngan aekikhaethnkha w2 dwy k m phlngngancln K khxngrabbthiewla t mikhaethakb K t 1 2 m v 2 t 1 2 m w 2 A 2 sin 2 w t f 1 2 k A 2 sin 2 w t f displaystyle K t tfrac 1 2 mv 2 t tfrac 1 2 m omega 2 A 2 sin 2 omega t varphi tfrac 1 2 kA 2 sin 2 omega t varphi aelaphlngnganskykhxngrabbmikhaethakb U t 1 2 k x 2 t 1 2 k A 2 cos 2 w t f displaystyle U t tfrac 1 2 kx 2 t tfrac 1 2 kA 2 cos 2 omega t varphi emuximmiaerngesiydthanaelaimmikarsuyesiyphlngngan phlrwmkhxngphlngngankl mechanical energy camikhakhngtw E K U 1 2 k A 2 displaystyle E K U tfrac 1 2 kA 2 twxyang aekikh rabbspring mwlthiimhnwngmikarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay rabbthangfisikstxipniepntwxyanghnungkhxngkarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay mwltidspring aekikh mwl m kxnhnungtidxyukbspringthimikhakhngthikhxngspring k xthibaykarekhluxnthiaebbharmxnikxyangngayinpriphumipid T 2 p m k displaystyle T 2 pi sqrt frac m k smkarkhangbnniaesdngihehnwakhabkhxngkaraekwng T imkhunxyukbaexmphlicudaelakhwamerngenuxngcakaerngonmthwng smkarkhangbnniyngkhngichidemuxmiaerngkhngthikrathatxmwl klawkhux aerngkhngthithiephimkhunimidthaihkhabkhxngkaraekwngepliynipxangxing aekikhWalker Jearl 2011 Principles of Physics 9th ed Hoboken N J Wiley ISBN 0 470 56158 0 Thornton Stephen T Marion Jerry B 2003 Classical Dynamics of Particles and Systems 5th ed Brooks Cole ISBN 0 534 40896 6 John R Taylor 2005 Classical Mechanics University Science Books ISBN 1 891389 22 X Grant R Fowles George L Cassiday 2005 Analytical Mechanics 7th ed Thomson Brooks Cole ISBN 0 534 49492 7 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karekhluxnthiaebbharmxnikxyangngay amp oldid 7971279, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม