fbpx
วิกิพีเดีย

รังสีก่อไอออน

รังสีก่อไอออน (อังกฤษ: ionizing radiation) เกิดจากการแผ่รังสีที่มีพลังงานพอที่จะปลดปล่อยอิเล็กตรอนให้เป็นอิสระจากอะตอมหรือโมเลกุล หรือเป็นการแผ่รังสีจากการแตกตัวเป็นไอออน (อังกฤษ: Ionization) การแผ่รังสีดังกล่าว (หรือสั้น ๆ ว่ารังสี) ถูกสร้างขึ้นจากอนุภาคย่อย, ไอออนหรืออะตอมที่มีพลัง, เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง (ปกติเร็วกว่าความเร็วแสง 1%) และเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปลายสเปคตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าพลังงานสูง รังสีแกมมา, รังสีเอกซ์, และส่วนที่เป็นอัลตราไวโอเลตที่สูงกว่าของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพวกแตกตัวเป็นไอออน ในขณะที่ส่วนที่เป็นอัลตราไวโอเลตที่ต่ำกว่าของสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าอีกทั้งส่วนล่างของสเปคตรัมที่ต่ำกว่ายูวีที่รวมทั้งแสงที่มองเห็นได้ (รวมเกือบทุกประเภทของแสงเลเซอร์), อินฟาเรด, ไมโครเวฟ และคลื่นวิทยุ ทั้งหมดนี้ถูกพิจารณาว่าเป็นรังสีที่ไม่มีการแตกตัวเป็นไอออน เขตแดนระหว่างรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าแบบแตกตัวเป็นไอออนและที่ไม่ใช่แบบแตกตัวเป็นไอออนที่เกิดขึ้นในรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ได้ถูกกำหนดไว้อย่างชัดเจน เนื่องจากโมเลกุลและอะตอมที่แตกต่างกันจะแตกตัวเป็นไอออนที่พลังงานแตกต่างกัน นิยามที่ตกลงกันกำหนดเขตแดนไว้ที่พลังงานของโฟตอนระหว่าง 10 eV ถึง 33 eV ในรังสีอัลตราไวโอเลต

สัญลักษณ์แสดงอันตรายจากรังสี

อนุภาคย่อยของอะตอมทั่วไปที่แตกตัวเป็นไอออนจากกัมมันตภาพรังสีรวมถึงอนุภาคแอลฟา, อนุภาคบีตา, และนิวตรอน เกือบทั้งหมดของผลิตภัณฑ์จากการสลายให้กัมมันตรังสีจะเป็นพวกที่แตกตัวเป็นไอออนเพราะพลังงานจากการสลายได้กัมมันตรังสีโดยทั่วไปจะสูงกว่าอย่างมากจากที่จำเป็นต้องใช้ในการแตกตัว อนุภาคย่อยของอะตอมที่มีการแตกตัวอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติก็มี มิวออน, มีซอน, โพสิตรอน, นิวตรอนและอนุภาคอื่น ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นรังสีคอสมิกขั้นที่สอง ที่มีการผลิตหลังจากรังสีคอสมิกขั้นที่หนึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับชั้นบรรยากาศของโลก รังสีคอสมิกยังอาจผลิตไอโซโทปรังสีในโลกอีกด้วย (ตัวอย่างเช่นคาร์บอน-14) ซึ่งเป็นผลให้เกิดการเสื่อมสลายและผลิตรังสีที่เกิดจากการแตกตัวเป็นไอออน

รังสีคอสมิกและการเสื่อมสลายของไอโซโทปกัมมันตรังสีเป็นแหล่งที่มาหลักของรังสีที่เกิดจากการแตกตัวเป็นไอออนตามธรรมชาติบนโลกที่เรียกว่ารังสีพื้นหลัง

ในอวกาศ การปล่อยรังสีความร้อนตามธรรมชาติจากสสารที่อุณหภูมิสูงมาก (เช่นการปล่อยพลาสมาหรือโคโรนาของดวงอาทิตย์) อาจเป็นการแตกตัวเป็นไอออน รังสีจากการเป็นไอออนอาจถูกผลิตขึ้นตามธรรมชาติโดยการเร่งความเร็วของอนุภาคที่มีประจุโดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในธรรมชาติ (เช่นฟ้าผ่า), แม้ว่าจะหายากบนโลก การระเบิดแบบซูเปอร์โนวาตามธรรมชาติในอวกาศจะผลิตปริมาณมากของรังสีจากการแตกตัวเป็นไอออนใกล้กับการระเบิด ซึ่งจะเห็นได้จากผลกระทบของมันในเนบิวลาที่แวววาวที่เกี่ยวข้องกับพวกมัน

รังสีจากการแตกตัวยังสามารถสร้างแบบเทียมขึ้นมาได้โดยใช้หลอดรังสีเอกซ์, เครื่องเร่งอนุภาค และวิธีการต่าง ๆ ที่ผลิตไอโซโทปรังสีแบบเทียม

รังสีจากการแตกตัวจะมองไม่เห็นและจะไม่สามารถตรวจพบได้โดยตรงจากความรู้สึกของมนุษย์, ดังนั้นเครื่องมือตรวจจับรังสีเช่นเครื่องไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์จึงจำเป็น อย่างไรก็ตามรังสีจากการแตกตัวอาจนำไปสู่​​การปล่อยครั้งที่สองของแสงที่มองเห็นได้หลังจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสสาร เช่นในการแผ่รังสีเชเรนคอฟ และการเรืองแสงรังสี (อังกฤษ: radioluminescence)

รังสีจากการแตกตัวถูกนำไปใช้อย่างสร้างสรรค์ในหลากหลายสาขาเช่นยา, การวิจัย, การผลิต, การก่อสร้างและพื้นที่อื่น ๆ แต่ก็ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพถ้าไม่ปฏิบัติตามมาตรการที่เหมาะสมที่ต่อต้านกับการสัมผัสที่ไม่พึงประสงค์ การสัมผัสกับรังสีจากการแตกตัวจะทำให้เกิดความเสียหายให้กับเนื้อเยื่อที่มีชีวิตและสามารถส่งผลให้เกิดการกลายพันธุ์, การเจ็บป่วยเนื่องจากรังสี, มะเร็งและการเสียชีวิต

อ้างอิง

  1. Woodside, Gayle (1997). Environmental, Safety, and Health Engineering. US: John Wiley & Sons. p. 476. ISBN 0471109320.
  2. Stallcup, James G. (2006). OSHA: Stallcup's High-voltage Telecommunications Regulations Simplified. US: Jones & Bartlett Learning. p. 133. ISBN 076374347X.

งส, อไอออน, งกฤษ, ionizing, radiation, เก, ดจากการแผ, งส, พล, งงานพอท, จะปลดปล, อยอ, เล, กตรอนให, เป, นอ, สระจากอะตอมหร, อโมเลก, หร, อเป, นการแผ, งส, จากการแตกต, วเป, นไอออน, งกฤษ, ionization, การแผ, งส, งกล, าว, หร, อส, าร, งส, กสร, างข, นจากอน, ภาคย, อย, ไออ. rngsikxixxxn xngkvs ionizing radiation ekidcakkaraephrngsithimiphlngnganphxthicapldplxyxielktrxnihepnxisracakxatxmhruxomelkul hruxepnkaraephrngsicakkaraetktwepnixxxn xngkvs Ionization karaephrngsidngklaw hruxsn warngsi thuksrangkhuncakxnuphakhyxy ixxxnhruxxatxmthimiphlng ekhluxnthidwykhwamerwsung pktierwkwakhwamerwaesng 1 aelaepnkhlunaemehlkiffathiplaysepkhtrmkhxngkhlunaemehlkiffaphlngngansung rngsiaekmma rngsiexks aelaswnthiepnxltraiwoxeltthisungkwakhxngsepktrmaemehlkiffaepnphwkaetktwepnixxxn inkhnathiswnthiepnxltraiwoxeltthitakwakhxngsepktrmaemehlkiffaxikthngswnlangkhxngsepkhtrmthitakwayuwithirwmthngaesngthimxngehnid rwmekuxbthukpraephthkhxngaesngelesxr xinfaerd imokhrewf aelakhlunwithyu thnghmdnithukphicarnawaepnrngsithiimmikaraetktwepnixxxn ekhtaednrahwangrngsiaemehlkiffaaebbaetktwepnixxxnaelathiimichaebbaetktwepnixxxnthiekidkhuninrngsixltraiwoxeltimidthukkahndiwxyangchdecn enuxngcakomelkulaelaxatxmthiaetktangkncaaetktwepnixxxnthiphlngnganaetktangkn niyamthitklngknkahndekhtaedniwthiphlngngankhxngoftxnrahwang 10 eV thung 33 eV inrngsixltraiwoxeltsylksnaesdngxntraycakrngsi xnuphakhyxykhxngxatxmthwipthiaetktwepnixxxncakkmmntphaphrngsirwmthungxnuphakhaexlfa xnuphakhbita aelaniwtrxn ekuxbthnghmdkhxngphlitphnthcakkarslayihkmmntrngsicaepnphwkthiaetktwepnixxxnephraaphlngngancakkarslayidkmmntrngsiodythwipcasungkwaxyangmakcakthicaepntxngichinkaraetktw xnuphakhyxykhxngxatxmthimikaraetktwxun thiekidkhuntamthrrmchatikmi miwxxn misxn ophsitrxn niwtrxnaelaxnuphakhxun thiprakxbkhunepnrngsikhxsmikkhnthisxng thimikarphlithlngcakrngsikhxsmikkhnthihnungmiptismphnthkbchnbrryakaskhxngolk 1 2 rngsikhxsmikyngxacphlitixosothprngsiinolkxikdwy twxyangechnkharbxn 14 sungepnphlihekidkaresuxmslayaelaphlitrngsithiekidcakkaraetktwepnixxxnrngsikhxsmikaelakaresuxmslaykhxngixosothpkmmntrngsiepnaehlngthimahlkkhxngrngsithiekidcakkaraetktwepnixxxntamthrrmchatibnolkthieriykwarngsiphunhlnginxwkas karplxyrngsikhwamrxntamthrrmchaticakssarthixunhphumisungmak echnkarplxyphlasmahruxokhornakhxngdwngxathity xacepnkaraetktwepnixxxn rngsicakkarepnixxxnxacthukphlitkhuntamthrrmchatiodykarerngkhwamerwkhxngxnuphakhthimipracuodysnamaemehlkiffainthrrmchati echnfapha aemwacahayakbnolk karraebidaebbsuepxronwatamthrrmchatiinxwkascaphlitprimanmakkhxngrngsicakkaraetktwepnixxxniklkbkarraebid sungcaehnidcakphlkrathbkhxngmninenbiwlathiaewwwawthiekiywkhxngkbphwkmnrngsicakkaraetktwyngsamarthsrangaebbethiymkhunmaidodyichhlxdrngsiexks ekhruxngerngxnuphakh aelawithikartang thiphlitixosothprngsiaebbethiymrngsicakkaraetktwcamxngimehnaelacaimsamarthtrwcphbidodytrngcakkhwamrusukkhxngmnusy dngnnekhruxngmuxtrwccbrngsiechnekhruxngikekxrmulelxrekhanetxrcungcaepn xyangirktamrngsicakkaraetktwxacnaipsu karplxykhrngthisxngkhxngaesngthimxngehnidhlngcakkarmiptismphnthkbssar echninkaraephrngsiechernkhxf aelakareruxngaesngrngsi xngkvs radioluminescence rngsicakkaraetktwthuknaipichxyangsrangsrrkhinhlakhlaysakhaechnya karwicy karphlit karkxsrangaelaphunthixun aetkthaihekidxntraytxsukhphaphthaimptibtitammatrkarthiehmaasmthitxtankbkarsmphsthiimphungprasngkh karsmphskbrngsicakkaraetktwcathaihekidkhwamesiyhayihkbenuxeyuxthimichiwitaelasamarthsngphlihekidkarklayphnthu karecbpwyenuxngcakrngsi maerngaelakaresiychiwitxangxing aekikh Woodside Gayle 1997 Environmental Safety and Health Engineering US John Wiley amp Sons p 476 ISBN 0471109320 Stallcup James G 2006 OSHA Stallcup s High voltage Telecommunications Regulations Simplified US Jones amp Bartlett Learning p 133 ISBN 076374347X ekhathungcak https th wikipedia org w index php title rngsikxixxxn amp oldid 9034644, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม