fbpx
วิกิพีเดีย

ความรู้สึกว่าตนเขื่อง

ในสาขาจิตวิทยา ความรู้สึกว่าตนเขื่อง (อังกฤษ: grandiosity) หมายถึงความรู้สึกอย่างเพ้อฝันหรือไม่จริงว่า ตนเองดีกว่าเก่งกว่าคนอื่น เป็นทัศนคติที่คงยืน ซึ่งอาจแสดงออกเป็นการดูถูกกคนอื่นว่าไม่เก่งไม่ดีเท่าตน และหมายถึงความรู้สึกว่าตนเป็นหนึ่งเดียว ว่ามีคนน้อยคนที่มีอะไรเหมือนกับตนเอง และมีคนพิเศษน้อยคนที่เข้าใจตนได้ลักษณะสืบสายพันธุ์ทางบุคลิกภาพที่ทำให้รู้สึกเช่นนี้ โดยหลักสัมพันธ์กับความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบหลงตัวเอง (NPD) แต่ก็ปรากฏในความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม (ASPD) และในคราวฟุ้งพล่าน (manic episode) หรือคราวเกือบฟุ้งพล่าน (hypomanic episode) ของโรคอารมณ์สองขั้ว

ลักษณะสืบสายพันธุ์ทางบุคลิกภาพที่ทำให้รู้สึกเช่นนี้ยังเป็นองค์ประกอบของ reactive attachment disorder (RAD) ซึ่งเป็นความผิดปกติทางความผูกพัน (attachment disorder) ที่รุนแรงและไม่สามัญโดยเกิดในเด็กRAD มีอาการเป็นพฤติกรรมที่มีปัญหาและไม่เหมาะสมทางพัฒนาการเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสถานการณ์ทางสังคมโดยมาก เช่น ความไม่เริ่มหรือไม่ตอบสนองต่อปฏิสัมพันธ์ทางสังคมโดยวิธีที่เหมาะสมตามระดับพัฒนาการอย่างคงยืน เป็นรูปแบบ "inhibited form" ของโรค

Narcissist-Grandiose (oblivious) Subtype

ความรู้สึกว่าตนเขื่องขั้นเป็นโรคสัมพันธ์กับแบบย่อยอย่างหนึ่งจากสองแบบของความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบหลงตัวเอง (NPD) ลักษณะของแบบย่อย narcissist-grandiose (โดยเทียบกับแบบย่อย narcissist-vulnerable) ก็คือ

  • หลงตัวเองแบบไม่รู้ตัว (oblivious narcissist) เพราะไม่รู้ว่าการกระทำของตนมีผลต่อคนอื่นอย่างไร หรือว่า คนอื่นมองตนอย่างไร
  • เห็นแต่ข้อไม่ดีของผู้อื่นและตำหนิผู้อื่นที่คุกคามความภูมิใจในตนเอง
  • มักจะรักษาความภูมิใจในตนด้วยการยกยอตนเองอย่างโต้ง ๆ (โม้เกินจริงว่าเก่ง หรือโม้เกินจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์เพื่อแสดงว่าตนเองเก่ง)
  • ปฏิเสธจุดอ่อน กล่าวถึงความสามารถของตนเกินจริง
  • เที่ยวบังคับคนอื่นในขณะที่ทั้งตำหนิการกระทำของคนอื่นและเอาเครดิตสิ่งที่คนอื่นทำ
  • ต้องการสิทธิพิเศษเกินควร รู้สึกว่าตนพิเศษ เช่นใช้คำพูดว่า "คุณไม่รู้หรือว่าฉันคือใคร" เชื่อเกินจริงเกี่ยวกับความสำคัญ ความเก่ง ความสำเร็จ หรือความสามารถของตนเอง มีพฤติกรรมเชิงเจ้าเล่ห์เพทุบายเพื่อให้ได้สิ่งที่ตนต้องการ และหวังให้คนอื่นเชื่อฟัง ชื่นชม และให้สิทธิพิเศษแก่ตน หมกมุ่นใน "ความเพ้อฝันเกี่ยวกับความสำเร็จ อำนาจ ความฉลาดหลักแหลม รูปงาม หรือคู่ที่สมบูรณ์แบบ"
  • โกรธอย่างคงเส้นคงวาเมื่อไม่ได้ตามที่คาดหวังหรือเมื่อรู้สึกถูกดูหมิ่น โกรธเดือดดาลได้ง่าย มีปฏิกิริยารุนแรงเกิน อาจแสดงความดุร้ายเมื่อรู้สึกถูกดูหมิ่นแม้เพียงแล็กน้อย
  • ไม่สำนึกถึงความไม่ลงรอยของสิ่งที่ตนคาดหวังกับความจริง และไม่รู้ผลที่มันมีต่อความสัมพันธ์กับคนอื่น
  • พูดถึงความเพ้อฝัน ความร่ำรวย ความสำเร็จ และสถานะที่ใหญ่โตเกินความจริงอย่างโต้ง ๆ
  • ไม่รู้ว่าความต้องการได้สิทธิพิเศษ (เช่นใช้เงินเกิน เอาเปรียบผู้อื่น) ทำให้คนอื่นมองตนไม่ดี
  • ปัญหาที่เกิดรอบ ๆ ตัวจะมองว่าไม่ได้เกี่ยวกับตน (คือไม่ใช่ความผิดของตน) และไม่ได้มีมูลฐานมาจากความคาดหวังที่ไม่สมเหตุผลของตน

มีการศึกษาความแตกต่างระหว่างแบบย่อย grandiose (เขื่อง) กับ vulnerable (อ่อนไหว) โดยพบว่า

สิ่งที่พบโดยรวมนี้ยืนยันทฤษฎีและงานวิจัยในอดีตที่แสดงว่า คนไข้แบบเขื่องไม่รู้ถึงผลที่ตนมีกับผู้อื่น และดังนั้น จึงมีทัศนคติที่ไม่สมจริงเกี่ยวกับตนเองเทียบกับคนอื่น (Gabbard, 1989, 1998; Kernberg, 1975; Kohut, 1971, 1977).

จริงดังนั้น การไม่รู้ถึงผลที่มีต่อคนอื่นเป็นสิ่งที่ Gabbard (1989) นำป้าย "oblivious narcissists" (คนหลงตัวเองแบบไม่รู้ตัว) มาอธิบายอาการที่ปรากฏทางสังคม และแยกคนไข้ให้ต่างกับคนไข้แบบอ่อนไหว คนไข้หลงตัวเองแบบเขื่องหวังให้คนอื่นสนใจตนตลอดโดยไม่วอกแวก และไม่รู้ผลที่ความต้องการสิทธิพิเศษของตนมีต่อคนอื่น และเพราะสามารถธำรงรักษาภาพพจน์ว่าตนเขื่องด้วยการยกยอตนเอง คนไข้หลงตัวเองแบบเขื่องจึงไม่อ่อนไหวเท่ากับคนไข้แบบอ่อนไหว ต่อผลทางอารมณ์ที่เกิดจากการคุกคามการคาดหวังสิทธิพิเศษ (เช่น ความทุกข์ ไม่ภูมิใจในตนเอง กลัวปัญหากับผู้อื่น)—  Interpersonal Analysis of Grandiose and Vulnerable Narcissism

ส่วนย่อยเกี่ยวกับความคิดว่าตนเขื่องในแบบสัมภาษณ์คนไข้โรคหลงตนเอง คือ Diagnostic Interview for Narcissism (DIN) ฉบับที่สองเป็นไปดังต่อไปนี้


ในอาการฟุ้งพล่าน

ในอาการฟุ้งพล่าน ความคิดว่าตนเขื่องจะมีกำลังมากกว่าในโรคหลงตัวเอง คนไข้อาจโอ้อวดความสำเร็จที่จะเกิดในอนาคต หรือโอ้อวดคุณสมบัติตัวเองเกินจริง คนไข้อาจเริ่มทำอะไรที่ทะเยอทะยานอย่างไม่สมเหตุผล ก่อนหน้าที่คนอื่นหรือตัวเองจะโค่นความทะเยอทะยานนั้นลง

ในโรคจิต

ในแบบคำถามประเมินโรคจิตคือ Hare Psychopathy Checklist-Revised (PCL-R) ความคิดว่าตนเขื่องอยู่ในส่วน Factor 1 Facet 1:Interpersonal บุคคลที่ผ่านเกณฑ์นี้จะปรากฏว่าหยิ่งและโอ้อวด และอาจมองอนาคตของตนในแง่ดีเกินจริง คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตรุ่น 5 (DSM-5) ให้ข้อสังเกตว่า บุคคลที่ผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบต่อต้านสังคม (ASPD) มักมีภาพพจน์ของตัวเองดีเกินจริง อาจปรากฏเป็นคนสำคัญตน ยึดมั่นความเห็นของตน หยิ่ง และมักดูถูกคนอื่น

การทดสอบความจริง

บุคคลที่คิดว่าตนเขื่องยังสำนึกได้ว่าความคิดของตนไม่สมจริง (คือ ยังรู้ว่า พฤติกรรมของตนจัดว่าไม่ปกติ) เทียบกับคนที่มีอาการหลงผิดว่าตนเขื่อง (grandiose delusion) ผู้ไม่สามารถรู้ตามจริงได้ คนบางพวกอาจสับเปลี่ยนระหว่างภาวะสองอย่างเช่นนี้ คือตอนแรกคิดใหญ่โตเพ้อฝันที่ตนก็เข้าใจว่าไม่จริง แต่ตอนหลังกลายเป็นความหลงผิดเต็มตัวที่คนไข้เชื่อว่าเป็นจริง

จิตวิเคราะห์และความรู้สึกว่าตนเขื่อง

จิตแพทย์ชาวออสเตรีย-อเมริกันผู้มีชื่อเสียงในเรื่องทฤษฎีจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง (BPD) และโรคหลงตัวเอง คือ Otto Kernberg เห็นว่า ความรู้สึก/ความคิดว่าตนเขื่องขั้นเป็นโรคเกิดจากความรู้สึกในวัยเด็กเกี่ยวกับความเป็นคนพิเศษ อุดมคติส่วนตน และความเพ้อฝันถึงพ่อแม่อุดมคติ

ส่วนนักจิตวิเคราะห์ชาวออสเตรีย-อเมริกันผู้มีชื่อเสียงในเรื่อง self psychology คือ Heinz Kohut เห็นความรู้สึก/ความคิดว่าตนเขื่องว่าเป็นเรื่องปกติทางพัฒนาการ และจะเป็นภาวะโรคก็ต่อเมื่อส่วนที่เขื่องและส่วนที่ถ่อมตัวของตัวตน แยกจากกันอย่างเด็ดขาด เขาแนะนำให้รักษาโดยอดทนต่อลักษณะเช่นนั้นของคนไข้ แล้วช่วยรวมส่วนที่เขื่องกลับเข้ากับตัวตนที่มีความคาดหวังสมจริง

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. Ronningstam, Elsa F (2005). Identifying and Understanding the Narcissistic Personality. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-803396-7.
  2. American Psychiatric Association (2000). Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders (4th, text (DSM-IV-TR) ed.). American Psychiatric Association.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  3. King, Malia C. (PDF). Journal of Special Education. 1–4. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2017-01-01. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  4. DSM-IV-TR (2000), p. 129
  5. Schechter, DS; Willheim, E (July 2009). "Disturbances of Attachment and Parental Psychopathology in Early Childhood". Child and Adolescent Psychiatric Clinics of North America. 18 (3): 665–686. doi:10.1016/j.chc.2009.03.001. PMC 2690512. PMID 19486844.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  6. Gabbard, G. O. (1989). "Narcissists divided into two sub types: vulnerable and grandiose". Bulletin of the Menninger Clinic (53): 527–532.
  7. Dickinson, Kelly A.; Pincus, Aaron L. (2003). "Interpersonal Analysis of Grandiose and Vulnerable Narcissism". Journal of Personality Disorders (17(3)): 188–207.
  8. Gunderson, J; Ronningstam, E; Bodkin, A (1990). "The diagnostic interview for narcissistic patients". Archives of General Psychiatry. 47: 676–80.CS1 maint: uses authors parameter (link)
  9. Goffman, Erving (1972). Relations in Public. Penguin. p. 421.CS1 maint: ref=harv (link)
  10. Goffman (1972), p. 413 & notes
  11. Skynner, Robin; Cleese, John (1994). Families and how to survive them. London. pp. 168–69.
  12. Harpur, TJ; Hare, RD; Hakstian, AR (1989). "Two-factor conceptualization of psychopathy: Construct validity and assessment implications". Psychological Assessment. 1 (1): 6–17. doi:10.1037/1040-3590.1.1.6.
  13. Fenichel, Otto (1946). The Psychoanalytic Theory of Neurosis. London. pp. 421, 444.
  14. Kernberg, Otto F (1990). Borderline Conditions and Pathological Narcissism. London. p. 265.
  15. Klein, Josephine (1994). Our Need for Others. London. p. 222.
  16. Siegal, Allen M (1996). Heinz Kohut and the psychology of the Self. p. 95.

ความร, กว, าตนเข, อง, ระว, งส, บสนก, ภาวะหลงผ, ดค, ดตนเข, อง, หร, ความเหน, อกว, าเท, ยม, ในสาขาจ, ตว, ทยา, งกฤษ, grandiosity, หมายถ, งความร, กอย, างเพ, อฝ, นหร, อไม, จร, งว, ตนเองด, กว, าเก, งกว, าคนอ, เป, นท, ศนคต, คงย, งอาจแสดงออกเป, นการด, กกคนอ, นว, าไม, เ. rawngsbsnkb phawahlngphidkhidtnekhuxng hrux khwamehnuxkwaethiym insakhacitwithya khwamrusukwatnekhuxng xngkvs grandiosity hmaythungkhwamrusukxyangephxfnhruximcringwa tnexngdikwaekngkwakhnxun epnthsnkhtithikhngyun sungxacaesdngxxkepnkarduthukkkhnxunwaimekngimdiethatn aelahmaythungkhwamrusukwatnepnhnungediyw wamikhnnxykhnthimixairehmuxnkbtnexng aelamikhnphiessnxykhnthiekhaictnid 1 lksnasubsayphnthuthangbukhlikphaphthithaihrusukechnni odyhlksmphnthkbkhwamphidpktithangbukhlikphaphaebbhlngtwexng NPD aetkpraktinkhwamphidpktithangbukhlikphaphaebbtxtansngkhm ASPD aelainkhrawfungphlan manic episode hruxkhrawekuxbfungphlan hypomanic episode khxngorkhxarmnsxngkhw 2 lksnasubsayphnthuthangbukhlikphaphthithaihrusukechnniyngepnxngkhprakxbkhxng reactive attachment disorder RAD sungepnkhwamphidpktithangkhwamphukphn attachment disorder thirunaerngaelaimsamyodyekidinedk 3 RAD mixakarepnphvtikrrmthimipyhaaelaimehmaasmthangphthnakaremuxmiptismphnthkbphuxuninsthankarnthangsngkhmodymak echn khwamimerimhruximtxbsnxngtxptismphnththangsngkhmodywithithiehmaasmtamradbphthnakarxyangkhngyun epnrupaebb inhibited form khxngorkh 4 5 enuxha 1 Narcissist Grandiose oblivious Subtype 2 inxakarfungphlan 3 inorkhcit 4 karthdsxbkhwamcring 5 citwiekhraahaelakhwamrusukwatnekhuxng 6 duephim 7 echingxrrthaelaxangxingNarcissist Grandiose oblivious Subtype aekikhkhwamrusukwatnekhuxngkhnepnorkhsmphnthkbaebbyxyxyanghnungcaksxngaebbkhxngkhwamphidpktithangbukhlikphaphaebbhlngtwexng NPD 6 lksnakhxngaebbyxy narcissist grandiose odyethiybkbaebbyxy narcissist vulnerable kkhux hlngtwexngaebbimrutw oblivious narcissist ephraaimruwakarkrathakhxngtnmiphltxkhnxunxyangir hruxwa khnxunmxngtnxyangir ehnaetkhximdikhxngphuxunaelatahniphuxunthikhukkhamkhwamphumiicintnexng mkcarksakhwamphumiicintndwykarykyxtnexngxyangotng omekincringwaekng hruxomekincringekiywkbehtukarnephuxaesdngwatnexngekng ptiesthcudxxn klawthungkhwamsamarthkhxngtnekincring ethiywbngkhbkhnxuninkhnathithngtahnikarkrathakhxngkhnxunaelaexaekhrditsingthikhnxuntha txngkarsiththiphiessekinkhwr rusukwatnphiess echnichkhaphudwa khunimruhruxwachnkhuxikhr echuxekincringekiywkbkhwamsakhy khwamekng khwamsaerc hruxkhwamsamarthkhxngtnexng miphvtikrrmechingecaelhephthubayephuxihidsingthitntxngkar aelahwngihkhnxunechuxfng chunchm aelaihsiththiphiessaektn hmkmunin khwamephxfnekiywkbkhwamsaerc xanac khwamchladhlkaehlm rupngam hruxkhuthismburnaebb okrthxyangkhngesnkhngwaemuximidtamthikhadhwnghruxemuxrusukthukduhmin okrtheduxddalidngay miptikiriyarunaerngekin xacaesdngkhwamdurayemuxrusukthukduhminaemephiyngaelknxy imsanukthungkhwamimlngrxykhxngsingthitnkhadhwngkbkhwamcring aelaimruphlthimnmitxkhwamsmphnthkbkhnxun phudthungkhwamephxfn khwamrarwy khwamsaerc aelasthanathiihyotekinkhwamcringxyangotng imruwakhwamtxngkaridsiththiphiess echnichenginekin exaepriybphuxun thaihkhnxunmxngtnimdi pyhathiekidrxb twcamxngwaimidekiywkbtn khuximichkhwamphidkhxngtn aelaimidmimulthanmacakkhwamkhadhwngthiimsmehtuphlkhxngtnmikarsuksakhwamaetktangrahwangaebbyxy grandiose ekhuxng kb vulnerable xxnihw odyphbwa singthiphbodyrwmniyunynthvsdiaelanganwicyinxditthiaesdngwa khnikhaebbekhuxngimruthungphlthitnmikbphuxun aeladngnn cungmithsnkhtithiimsmcringekiywkbtnexngethiybkbkhnxun Gabbard 1989 1998 Kernberg 1975 Kohut 1971 1977 cringdngnn karimruthungphlthimitxkhnxunepnsingthi Gabbard 1989 napay oblivious narcissists khnhlngtwexngaebbimrutw maxthibayxakarthipraktthangsngkhm aelaaeykkhnikhihtangkbkhnikhaebbxxnihw khnikhhlngtwexngaebbekhuxnghwngihkhnxunsnictntlxdodyimwxkaewk aelaimruphlthikhwamtxngkarsiththiphiesskhxngtnmitxkhnxun aelaephraasamarththarngrksaphaphphcnwatnekhuxngdwykarykyxtnexng khnikhhlngtwexngaebbekhuxngcungimxxnihwethakbkhnikhaebbxxnihw txphlthangxarmnthiekidcakkarkhukkhamkarkhadhwngsiththiphiess echn khwamthukkh imphumiicintnexng klwpyhakbphuxun Interpersonal Analysis of Grandiose and Vulnerable Narcissism 7 swnyxyekiywkbkhwamkhidwatnekhuxnginaebbsmphasnkhnikhorkhhlngtnexng khux Diagnostic Interview for Narcissism DIN chbbthisxngepnipdngtxipni 8 khnikhoxxwdphrswrrkh khwamsamarth aelakhwamsaercekincring khnikhechuxwatnimmicudxxn imrukhxcakdkhxngtn khnikhmikhwamephxfnthiihyotekinehtuphl khnikhechuxwa tnimcaepntxngphungphuxun khnikhphicarnaaelaldkhwamsakhykhxngkhnxun oprecktxun khwamehnxun hruxkhwamfnkhxngkhnxunxyangcukcikaelaimsmcring khnikhmxngtwexngwaepnhnungediywhruxphiessemuxethiybkbphuxun khnikhphicarnatnexngodythwipwa ehnuxkwakhnxun khnikhpraphvtiexaaetictwaelaykyxngaettw khnikhpraphvtioxxwdhruxwangthainxakarfungphlan aekikhinxakarfungphlan khwamkhidwatnekhuxngcamikalngmakkwainorkhhlngtwexng khnikhxacoxxwdkhwamsaercthicaekidinxnakht 9 hruxoxxwdkhunsmbtitwexngekincring 10 khnikhxacerimthaxairthithaeyxthayanxyangimsmehtuphl kxnhnathikhnxunhruxtwexngcaokhnkhwamthaeyxthayannnlng 11 inorkhcit aekikhinaebbkhathampraeminorkhcitkhux Hare Psychopathy Checklist Revised PCL R khwamkhidwatnekhuxngxyuinswn Factor 1 Facet 1 Interpersonal 12 bukhkhlthiphaneknthnicapraktwahyingaelaoxxwd aelaxacmxngxnakhtkhxngtninaengdiekincring khumuxkarwinicchyaelasthitisahrbkhwamphidpktithangcitrun 5 DSM 5 ihkhxsngektwa bukhkhlthiphidpktithangbukhlikphaphaebbtxtansngkhm ASPD mkmiphaphphcnkhxngtwexngdiekincring xacpraktepnkhnsakhytn yudmnkhwamehnkhxngtn hying aelamkduthukkhnxunkarthdsxbkhwamcring aekikhbukhkhlthikhidwatnekhuxngyngsanukidwakhwamkhidkhxngtnimsmcring khux yngruwa phvtikrrmkhxngtncdwaimpkti ethiybkbkhnthimixakarhlngphidwatnekhuxng grandiose delusion phuimsamarthrutamcringid khnbangphwkxacsbepliynrahwangphawasxngxyangechnni khuxtxnaerkkhidihyotephxfnthitnkekhaicwaimcring aettxnhlngklayepnkhwamhlngphidetmtwthikhnikhechuxwaepncring 13 citwiekhraahaelakhwamrusukwatnekhuxng aekikhcitaephthychawxxsetriy xemriknphumichuxesiyngineruxngthvsdicitwiekhraahekiywkbkhwamphidpktithangbukhlikphaphaebbkakung BPD aelaorkhhlngtwexng khux Otto Kernberg ehnwa khwamrusuk khwamkhidwatnekhuxngkhnepnorkhekidcakkhwamrusukinwyedkekiywkbkhwamepnkhnphiess xudmkhtiswntn aelakhwamephxfnthungphxaemxudmkhti 14 swnnkcitwiekhraahchawxxsetriy xemriknphumichuxesiyngineruxng self psychology khux Heinz Kohut ehnkhwamrusuk khwamkhidwatnekhuxngwaepneruxngpktithangphthnakar aelacaepnphawaorkhktxemuxswnthiekhuxngaelaswnthithxmtwkhxngtwtn aeykcakknxyangeddkhad 15 ekhaaenanaihrksaodyxdthntxlksnaechnnnkhxngkhnikh aelwchwyrwmswnthiekhuxngklbekhakbtwtnthimikhwamkhadhwngsmcring 16 duephim aekikhkhwamhlngtnexngechingxrrthaelaxangxing aekikh Ronningstam Elsa F 2005 Identifying and Understanding the Narcissistic Personality Oxford University Press ISBN 978 0 19 803396 7 American Psychiatric Association 2000 Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 4th text DSM IV TR ed American Psychiatric Association CS1 maint uses authors parameter link King Malia C Reactive Attachment Disorder A Review PDF Journal of Special Education 1 4 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2017 01 01 Unknown parameter deadurl ignored help DSM IV TR 2000 p 129 Schechter DS Willheim E July 2009 Disturbances of Attachment and Parental Psychopathology in Early Childhood Child and Adolescent Psychiatric Clinics of North America 18 3 665 686 doi 10 1016 j chc 2009 03 001 PMC 2690512 PMID 19486844 CS1 maint multiple names authors list link Gabbard G O 1989 Narcissists divided into two sub types vulnerable and grandiose Bulletin of the Menninger Clinic 53 527 532 Dickinson Kelly A Pincus Aaron L 2003 Interpersonal Analysis of Grandiose and Vulnerable Narcissism Journal of Personality Disorders 17 3 188 207 Gunderson J Ronningstam E Bodkin A 1990 The diagnostic interview for narcissistic patients Archives of General Psychiatry 47 676 80 CS1 maint uses authors parameter link Goffman Erving 1972 Relations in Public Penguin p 421 CS1 maint ref harv link Goffman 1972 p 413 amp notes Skynner Robin Cleese John 1994 Families and how to survive them London pp 168 69 Harpur TJ Hare RD Hakstian AR 1989 Two factor conceptualization of psychopathy Construct validity and assessment implications Psychological Assessment 1 1 6 17 doi 10 1037 1040 3590 1 1 6 Fenichel Otto 1946 The Psychoanalytic Theory of Neurosis London pp 421 444 Kernberg Otto F 1990 Borderline Conditions and Pathological Narcissism London p 265 Klein Josephine 1994 Our Need for Others London p 222 Siegal Allen M 1996 Heinz Kohut and the psychology of the Self p 95 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamrusukwatnekhuxng amp oldid 8634259, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม