fbpx
วิกิพีเดีย

ความสามารถในการเข้าถึงเว็บ

เว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ (อังกฤษ: web accessibility) หมายถึงหลักการในการสร้างเว็บไซต์ ให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้โดยผู้ใช้ใด ๆ โดยอุปกรณ์ใด ๆ ไม่เว้นแม้แต่เว็บเบราว์เซอร์ และไม่มีข้อจำกัดด้านความพิการทางร่างกายเช่นความพิการในด้านการมองเห็นหรือด้านการได้ยิน

การออกแบบเว็บไซต์โดยคำนึงถึงความสามารถในการเข้าถึงเว็บ มักจะทำให้ได้ผลบวกในด้านการเข้าถึงใด ๆ โดยใครก็ตาม ไม่เว้นแม้แต่บอตสำหรับเครื่องมือค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต

เทคโนโลยี

เครื่องมือในการเข้าถึง

เว็บเบราว์เซอร์ บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงที่สำคัญที่สุด แต่เว็บเบราว์เซอร์บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลไม่ใช่สิ่งเดียวที่มีความสามารถเข้าถึงเว็บไซต์ ในขณะเดียวกันผู้ใช้ที่เข้าถึงเว็บไซต์ด้วยเครื่องมืออย่าง โทรศัพท์มือถือ หรือ PDA ก็มีให้เห็นโดยทั่วไป ในขณะเดียวกันการเข้าถึงเว็บไซต์ของบอตต่าง ๆ จะเปรียบเสมือนการเข้าสู่เว็บไซต์โดยการใช้เบราว์เซอร์ตัวอักษร ซึ่งในปัจจุบันยังถูกใช้โดยคนหลายกลุ่ม

เครื่องมือช่วยเหลือ

นอกจากเครื่องมือในการเข้าถึงแล้ว ยังมีเครื่องมือช่วยเหลือการเข้าถึงสู่คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีดังกล่าวจะมีส่วนช่วยผู้ที่มีความพิการต่าง ๆ ให้เข้าถึงเว็บไซต์ได้ ตัวอย่างเช่น

  • ซอฟต์แวร์จำแนกเสียง (Speech Recognition) จะมีส่วนช่วยให้ผู้ใช้ที่มีความพิการในด้านการใช้งานเมาส์หรือคีย์บอร์ด
  • ซอฟต์แวร์ขยายภาพ (Screen Magnification) จะมีส่วนช่วยให้ผู้ที่มีความบกพร่องในระยะการมองเห็น
  • ซอฟต์แวร์ในการอ่านเนื้อหาบนจอ (Screen Reader) จะมีส่วนช่วยอย่างสูงสำหรับผู้ที่มีความพิการทางด้านการมองเห็น โดยจะทำการเก็บการกระทำต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนหน้าจอแสดงออกด้วยทางใดทางหนึ่งให้แก่ผู้ใช้ได้รับรู้
  • ซอฟต์แวร์ช่วยแปล (Translation Software) จะช่วยในการเข้าถึงแก่บุคคลใด ๆ ที่มีปัญหาด้านการรับรู้ทางภาษา

ซอฟต์แวร์ที่ทำการแปลงข้อมูลจากทางหนึ่งไปอีกทางหนึ่ง จะถูกเรียกว่า Machine-Translation Software ตัวอย่างเช่นบริการ Babelfish ของ AltaVista ที่ทำการแปลงจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง ถือเป็น Machine Translation รูปแบบหนึ่งด้วยเช่นกัน

เครื่องมือช่วยเหลือที่รองรับภาษาไทย

สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย เพิ่มเสียงอ่านภาษาไทย (TTS) ที่เรียกว่าโปรแกรมตาทิพย์ (PPATatip) ซึ่งได้รับเงินทุนจากกองทุนของ บริษัท ทีโ อที จำกัด เพื่อนำมาใช้ในโปรแกรมอ่านหน้าจอที่ชื่อว่า JAWS และปัจจุบันได้มีการพัฒนาโปรแกรมอ่านหน้าจอที่เป็นลักษณะรหัสเปิด (Open Source) ที่ชื่อว่า NVDA ซึ่งสามารถนำ PPATatip มาใช้งานร่วมเพื่อให้อ่านภาษาไทยได้

อีกทั้ง ยังมีเบราว์เซอร์สำหรับอ่านข้อมูลบนเว็บไซต์ให้ออกมาในรูปแบบของเสียง เช่นโปรแกรม Homepage Reader 2006-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ซึ่งสนับสนุนการใช้งานภาษาไทย

หลักการในการออกแบบเว็บไซต์

World Wide Web Consortium (W3C) ได้ออกหลักการในการออกแบบเว็บไซต์เมื่อปี 1999 โดยใช้ชื่อว่า Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 1.0 โดยมีหลักการโดยสรุปไว้ดังนี้

  • ให้สร้าง "ตัวทดแทน" สำหรับคอนเทนท์ทางด้านกายภาพเสมอ หมายถึงการใส่ข้อความใด ๆ ที่มีความหมายเดียวกันกับรูปภาพ เพื่อให้ผู้ใช้ที่มีความพิการทางด้านการมองเห็น สามารถรับรู้ถึงข้อมูลดังกล่าวได้
  • อย่าพึ่งเพียงแค่สี เครื่องมือในการอ่านข้อมูลบนจอ ไม่มีความสามารถในการแสดงสีออกมาให้แก่ผู้มีความพิการทางสายตา หรือในกรณีของผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วน การใช้งานสีที่มีความใกล้กันกับพื้นหลังจนเกินไป จะทำให้ไม่สามารถแสดงผลดังกล่าวออกทางจอภาพได้
  • ใช้ Stylesheet และจัดรูปแบบให้ถูกต้อง การจัดรูปแบบอย่างผิด ๆ เช่นการใช้งานตารางเพื่อการกำหนดพื้นที่บนหน้า ทำให้ผู้ใช้เครื่องมือใด ๆ มีความยากลำบากในการเข้าถึงเนื้อหาของข้อความ
  • บ่งบอกถึงภาษาที่ใช้ เครื่องมือต่าง ๆ ไม่สามารถตรวจสอบภาษาที่ถูกต้องหนึ่งร้อยเปอร์เซ็นต์ได้ด้วยตนเอง ดังนั้นการบ่งบอกถึงภาษาจึงมีความสำคัญ ในกรณีนี้ เป็นหน้าที่ของผู้พัฒนาเว็บไซต์ที่จะพัฒนาให้ถูกต้อง
  • ใช้ตารางให้ถูกวิธี การใช้ตารางแบบผิด ๆ (แม้แต่การนำไปใช้ในการจัดรูปแบบ) จะสร้างความลำบากให้แก่ผู้ใช้ที่ใช้ซอฟต์แวร์ในการอ่านหน้าจอ ที่มีความสามารถในการค้นหาตามช่องต่าง ๆ ของตาราง
  • ให้มั่นใจว่ามีแต่แทนสำหรับเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ การใช้เทคโนโลยีใหม่อย่าง AJAX จะทำให้เบราว์เซอร์เก่าไม่สามารถเข้าถึงเว็บไซต์ต่าง ๆ ได้อย่างที่ควรจะเป็น
  • ให้ผู้ใช้สามารถควบคุมเวลาของวัตถุใด ๆ การทำตัววิ่ง หรือหน้าที่มีการอัปเดตตลอดเวลา โดยไม่มีการหยุด จะเป็นการทำลายความสามารถในการเข้าถึงของผู้ที่ไม่มีความสามารถในการอ่านข้อความบางอย่างในเวลาอันรวดเร็วได้ ทั้งนี้รวมถึงโปรแกรมอ่านหน้าจอที่ต้องใช้เวลาในการประมวลผลและค้นหา
  • ผู้ใช้ต้องมีความสามารถในการควบคุมวัตถุใด ๆ ที่มีหน้าตาโต้ตอบเป็นของตัวเอง
  • อย่ายึดติดกับอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่ง
  • ใช้การแก้ไขปัญหาชั่วคราว
  • สร้างเว็บไซต์ตามคำแนะนำของ W3C
  • บอกถึงขอบเขตของบริบทและเป้าหมายของข้อมูล
  • บอกส่วนของการเข้าถึงให้เด่นชัด
  • ให้เอกสารนั้นชัดเจนและง่าย

ในขณะที่หลักการฉบับแรกถูกใช้งานอยู่ หลักการฉบับที่สอง (WCAG 2.0) ก็กำลังถูกร่างอยู่ในปัจจุบัน โดยกำหนดหลักการไว้ 4 หลักการ

  1. หลักการที่ 1 สามารถรับรู้ได้ (Perceivable)
  2. หลักการที่ 2 สามารถใช้งานได้ (Operable)
  3. หลักการที่ 3 สามารถเข้าใจได้ (Understandable)
  4. หลักการที่ 4 รองรับได้หลากหลาย (Robust)

มีเกณฑ์ความสำเร็จ 3 ระดับดังนี้

  1. ระดับ A คือ เป็นสิ่งที่ต้องทำเพื่อให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้
  2. ระดับ AA คือ เป็นสิ่งที่ควรจะทำ เพื่อให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้
  3. ระดับ AAA คือ เป็นสิ่งที่อาจจะทำเพื่ิอเอื้อให้การเข้าถึงเป็นไปได้อย่างดียิ่งขึ้น

โดยล่าสุด กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้ออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากไอซีที กำหนดหลักเกณฑ์  วิธีการ และเงื่อนไข ในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร การสื่อสาร บริการโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการสื่อสาร และบริการสื่อสาธารณะ สำหรับคนพิการ พ.ศ. 2554 ตามมาตรา 20 (6) แห่ง พ.ร.บ.ส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการฯ เช่นกัน ซึ่งได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 และจะมีผลใช้บังคับหลังครบกำหนด 180 วันนับแต่วันประกาศฯ

แหล่งข้อมูลอื่น

  • World Wide Web Consortium (W3C)
  • Web Accessibility Initiative
  • ASTEC Web Accessibility 2008-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • สมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย
  • เว็บท่าสำหรับคนพิการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • เครื่องมือการเข้าถึงเว็บไซต์
  • โครงการพัฒนาสังคมแห่งความเท่าเทียมด้วย ICT โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2010-07-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

ความสามารถในการเข, าถ, งเว, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, เว, บไซต,. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ewbistthithukkhnekhathungid xngkvs web accessibility hmaythunghlkkarinkarsrangewbist ihsamarthekhathungaelaichpraoychnidodyphuichid odyxupkrnid imewnaemaetewbebrawesxr aelaimmikhxcakddankhwamphikarthangrangkayechnkhwamphikarindankarmxngehnhruxdankaridyinkarxxkaebbewbistodykhanungthungkhwamsamarthinkarekhathungewb mkcathaihidphlbwkindankarekhathungid odyikhrktam imewnaemaetbxtsahrbekhruxngmuxkhnhakhxmulbnxinethxrent enuxha 1 ethkhonolyi 1 1 ekhruxngmuxinkarekhathung 1 2 ekhruxngmuxchwyehlux 1 2 1 ekhruxngmuxchwyehluxthirxngrbphasaithy 2 hlkkarinkarxxkaebbewbist 3 aehlngkhxmulxunethkhonolyi aekikhekhruxngmuxinkarekhathung aekikh ewbebrawesxr bnkhxmphiwetxrswnbukhkhlepnekhruxngmuxinkarekhathungthisakhythisud aetewbebrawesxrbnkhxmphiwetxrswnbukhkhlimichsingediywthimikhwamsamarthekhathungewbist inkhnaediywknphuichthiekhathungewbistdwyekhruxngmuxxyang othrsphthmuxthux hrux PDA kmiihehnodythwip inkhnaediywknkarekhathungewbistkhxngbxttang caepriybesmuxnkarekhasuewbistodykarichebrawesxrtwxksr sunginpccubnyngthukichodykhnhlayklum ekhruxngmuxchwyehlux aekikh nxkcakekhruxngmuxinkarekhathungaelw yngmiekhruxngmuxchwyehluxkarekhathungsukhxmphiwetxr ethkhonolyidngklawcamiswnchwyphuthimikhwamphikartang ihekhathungewbistid twxyangechn sxftaewrcaaenkesiyng Speech Recognition camiswnchwyihphuichthimikhwamphikarindankarichnganemashruxkhiybxrd sxftaewrkhyayphaph Screen Magnification camiswnchwyihphuthimikhwambkphrxnginrayakarmxngehn sxftaewrinkarxanenuxhabncx Screen Reader camiswnchwyxyangsungsahrbphuthimikhwamphikarthangdankarmxngehn odycathakarekbkarkrathatang thiekidkhunbnhnacxaesdngxxkdwythangidthanghnungihaekphuichidrbru sxftaewrchwyaepl Translation Software cachwyinkarekhathungaekbukhkhlid thimipyhadankarrbruthangphasasxftaewrthithakaraeplngkhxmulcakthanghnungipxikthanghnung cathukeriykwa Machine Translation Software twxyangechnbrikar Babelfish khxng AltaVista thithakaraeplngcakphasahnungepnxikphasahnung thuxepn Machine Translation rupaebbhnungdwyechnkn ekhruxngmuxchwyehluxthirxngrbphasaithy aekikh smakhmkhntabxdaehngpraethsithy ephimesiyngxanphasaithy TTS thieriykwaopraekrmtathiphy PPATatip sungidrbenginthuncakkxngthunkhxng bristh thio xthi cakd ephuxnamaichinopraekrmxanhnacxthichuxwa JAWS aelapccubnidmikarphthnaopraekrmxanhnacxthiepnlksnarhsepid Open Source thichuxwa NVDA sungsamarthna PPATatip maichnganrwmephuxihxanphasaithyidxikthng yngmiebrawesxrsahrbxankhxmulbnewbistihxxkmainrupaebbkhxngesiyng echnopraekrm Homepage Reader Archived 2006 08 31 thi ewyaebkaemchchin sungsnbsnunkarichnganphasaithyhlkkarinkarxxkaebbewbist aekikhWorld Wide Web Consortium W3C idxxkhlkkarinkarxxkaebbewbistemuxpi 1999 odyichchuxwa Web Content Accessibility Guidelines WCAG 1 0 odymihlkkarodysrupiwdngni ihsrang twthdaethn sahrbkhxnethnththangdankayphaphesmx hmaythungkariskhxkhwamid thimikhwamhmayediywknkbrupphaph ephuxihphuichthimikhwamphikarthangdankarmxngehn samarthrbruthungkhxmuldngklawid xyaphungephiyngaekhsi ekhruxngmuxinkarxankhxmulbncx immikhwamsamarthinkaraesdngsixxkmaihaekphumikhwamphikarthangsayta hruxinkrnikhxngphuichkhxmphiwetxrbangswn karichngansithimikhwamiklknkbphunhlngcnekinip cathaihimsamarthaesdngphldngklawxxkthangcxphaphid ich Stylesheet aelacdrupaebbihthuktxng karcdrupaebbxyangphid echnkarichngantarangephuxkarkahndphunthibnhna thaihphuichekhruxngmuxid mikhwamyaklabakinkarekhathungenuxhakhxngkhxkhwam bngbxkthungphasathiich ekhruxngmuxtang imsamarthtrwcsxbphasathithuktxnghnungrxyepxresntiddwytnexng dngnnkarbngbxkthungphasacungmikhwamsakhy inkrnini epnhnathikhxngphuphthnaewbistthicaphthnaihthuktxng ichtarangihthukwithi karichtarangaebbphid aemaetkarnaipichinkarcdrupaebb casrangkhwamlabakihaekphuichthiichsxftaewrinkarxanhnacx thimikhwamsamarthinkarkhnhatamchxngtang khxngtarang ihmnicwamiaetaethnsahrbethkhonolyiihmthiich karichethkhonolyiihmxyang AJAX cathaihebrawesxrekaimsamarthekhathungewbisttang idxyangthikhwrcaepn ihphuichsamarthkhwbkhumewlakhxngwtthuid karthatwwing hruxhnathimikarxpedttlxdewla odyimmikarhyud caepnkarthalaykhwamsamarthinkarekhathungkhxngphuthiimmikhwamsamarthinkarxankhxkhwambangxyanginewlaxnrwderwid thngnirwmthungopraekrmxanhnacxthitxngichewlainkarpramwlphlaelakhnha phuichtxngmikhwamsamarthinkarkhwbkhumwtthuid thimihnataottxbepnkhxngtwexng xyayudtidkbxupkrnidxupkrnhnung ichkaraekikhpyhachwkhraw srangewbisttamkhaaenanakhxng W3C bxkthungkhxbekhtkhxngbribthaelaepahmaykhxngkhxmul bxkswnkhxngkarekhathungihednchd ihexksarnnchdecnaelangayinkhnathihlkkarchbbaerkthukichnganxyu hlkkarchbbthisxng WCAG 2 0 kkalngthukrangxyuinpccubn odykahndhlkkariw 4 hlkkar hlkkarthi 1 samarthrbruid Perceivable hlkkarthi 2 samarthichnganid Operable hlkkarthi 3 samarthekhaicid Understandable hlkkarthi 4 rxngrbidhlakhlay Robust mieknthkhwamsaerc 3 radbdngni radb A khux epnsingthitxngthaephuxihepnewbistthithukkhnekhathungid radb AA khux epnsingthikhwrcatha ephuxihepnewbistthithukkhnekhathungid radb AAA khux epnsingthixaccathaephuixexuxihkarekhathungepnipidxyangdiyingkhunodylasud krathrwngethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar idxxkkdkrathrwngkahndhlkeknthkarekhathungaelaichpraoychncakixsithi kahndhlkeknth withikar aelaenguxnikh inkarekhathungaelaichpraoychncakkhxmulkhawsar karsuxsar brikarothrkhmnakhm ethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar ethkhonolyisingxanwykhwamsadwkephuxkarsuxsar aelabrikarsuxsatharna sahrbkhnphikar ph s 2554 tammatra 20 6 aehng ph r b sngesrimkhunphaphchiwitkhnphikar echnkn sungidmikarprakasinrachkiccanuebksaipemuxwnthi 20 phvsphakhm 2554 aelacamiphlichbngkhbhlngkhrbkahnd 180 wnnbaetwnprakasaehlngkhxmulxun aekikhWorld Wide Web Consortium W3C Web Accessibility Initiative ASTEC Web Accessibility Archived 2008 09 15 thi ewyaebkaemchchin smakhmkhntabxdaehngpraethsithy ewbthasahrbkhnphikar krathrwngethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar ekhruxngmuxkarekhathungewbist okhrngkarphthnasngkhmaehngkhwamethaethiymdwy ICT ody krathrwngethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar Archived 2010 07 26 thi ewyaebkaemchchinekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamsamarthinkarekhathungewb amp oldid 9618971, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม