fbpx
วิกิพีเดีย

ไกซาร์

ไกซาร์ (ละติน: Caesar, ออกเสียง: [ˈkae̯.sar]; กรีกโบราณ: Καῖσαρ) เป็นตำแหน่งของผู้เป็นจักรพรรดิที่มีที่มาจากชื่อสกุลของจูเลียส ซีซาร์ ผู้เผด็จการโรมัน การเปลี่ยนแปลงจากชื่อตระกูลเป็นตำแหน่งที่ถือครองโดยจักรพรรดิโรมันสามารถสืบต้นตอได้ถึง ค.ศ. 68 หลังการล่มสลายของราชวงศ์ยูลิอุส-เกลาดิอุส

ไกซาร์
การออกเสียงภาษาละตินคลาสสิก: [ˈkae̯sar]
เพศชาย
ภาษาละติน
ที่มา
ความหมายจักรพรรดิ

ต้นกำเนิด

ผู้ใช้ "ไกซาร์" ในฐานะชื่อสกุลคนแรกคือแซ็กสตุส ยูลิอุส ไกซาร์ ผู้ที่น่าจะเป็นบรรพบุรุษร่วมของลูกหลานทั้งหมดในตระกูลยูลิอี ไกซาเรส (Julii Caesares) (กาอิอุส) จูเลียส ซีซาร์ (ยูลิอุส ไกซาร์) เป็นเหลนชายของแซ็กสตุส หลังจูเลียส ซีซาร์ ก่อสงครามกับวุฒิสภาแล้วยึดครองสาธารณรัฐโรมัน เขาตั้งตำแหน่ง ดิกตาตอร์แปร์แปตูโอ (dictator perpetuo) หรือ "ผู้เผด็จการตลอดชีพ" ซึ่งเป็นตำแหน่งที่เขาครองอยู่เพียงประมาณเดือนเดียวก่อนถูกลอบสังหาร การเสียชีวิตของจูเลียส ซีซาร์ ไม่ได้นำไปสู่การฟื้นฟูระบอบสาธารณรัฐ แต่ก่อให้เกิดคณะสามผู้นำที่สอง ได้แก่ ผู้เผด็จการสามคนรวมถึงกาอิอุส อ็อกตาวิอุส ลูกชายบุญธรรมของจูเลียส ผู้แบ่งดินแดนและดำรงตำแหน่งเป็นเวลาเกือบ 2 ทศวรรษ ในสมัยของเขา อ็อกตาวิอุสเรียกชื่อตนเองว่า "กาอิอุส ยูลิอุส ไกซาร์ อ็อกตาวิอุส" โดยมักย่อเป็น "กาอิอุส ไกซาร์" เพื่อเน้นย้ำความสัมพันธ์ระหว่างตนกับจูเลียส ซีซาร์ สุดท้าย ความไม่ไว้วางใจและความอิจฉาระหว่างเผด็จการทั้งสามก็ทำให้พันธมิตรล่มสลาย และก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองซึ่งจบลงที่อ็อกตาวิอุสกลายเป็นผู้ควบคุมดินแดนโรมันทั้งหมด โดยอ็อกตาวิอุสประกาศตนเองเป็น อิมแปราตอร์ ("ผู้บัญชาการ") และสาธารณรัฐโรมันกลายเป็นจักรวรรดิโรมันอย่างเป็นทางการ เมื่อขึ้นครองอำนาจในตำแหน่งนี้ อ็อกตาวิอุสได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "อิมแปราตอร์ ไกซาร์ เอากุสตุส" โดยวุฒิสภาโรมันได้เพิ่มคำยกย่อง เอากุสตุส เข้าไป ด้วยเหตุนี้ ติแบริอุส ลูกชายบุญธรรมและผู้สืบทอดอำนาจของเอากุสตุส จึงทำตามพ่อ (เลี้ยง) และนำชื่อ "ไกซาร์" มาใช้ด้วยในวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 4 โดยเปลี่ยนชื่อตนเองเป็น "ติแบริอุส ยูลิอุส ไกซาร์" และเมื่อขึ้นดำรงตำแหน่งจักรพรรดิก็นำชื่อ "ติแบริอุส ไกซาร์ เอากุสตุส" มาใช้ ทำให้เกิดการสืบทอดชื่อ "ไกซาร์" มานับตั้งแต่นั้น

อ้างอิง

  1. Dictionary of Greek and Roman Biography and Mythology, vol. I, p. 537.
  2. Syme, Ronald (1959), "Livy and Augustus", Harvard Studies in Classical Philology, 64: 175, 179, doi:10.2307/310937, JSTOR 310937
  3. "40 maps that explain the Roman Empire". Vox. สืบค้นเมื่อ 28 March 2018.

บรรณานุกรม

  • แม่แบบ:The Imperial Administrative System of the Ninth Century
  • Jones, A.H.M.; J.R. Martindale & J. Morris (1971–1992). Prosopography of the Later Roman Empire. Cambridge University Press. ISBN 0-521-07233-6.
  • Kazhdan, Alexander, บ.ก. (1991). The Oxford Dictionary of Byzantium. Oxford and New York: Oxford University Press. ISBN 0-19-504652-8.
  • Kienast, Dietmar; Werner Eck; Matthäus Heil (2017). Römische Kaisertabelle: Grundzüge einer römischen Kaiserchronologie. Darmstadt: WBG. ISBN 978-3-534-26724-8.
  • Peachin, Michael (1990). Roman Imperial Titulature and Chronology, A.D. 235–284. Amsterdam: Gieben. ISBN 90-5063-034-0.
  • Verpeaux, Jean, บ.ก. (1966). Pseudo-Kodinos, Traité des Offices (ภาษาฝรั่งเศส). Centre National de la Recherche Scientifique.

อ่านเพิ่ม

  • Ferjančić, Božidar (1970). "Севастократори и кесари у Српском царству" [Sebastocrators and Caesares in the Serbian Empire]. Зборник Филозофског факултета. Belgrade: 255–269.
  • Pauly-Wissowa – Realencyclopädie der Classischen Altertumswissenschaft

ไกซาร, ละต, caesar, ออกเส, ยง, ˈkae, กร, กโบราณ, Καῖσαρ, เป, นตำแหน, งของผ, เป, นจ, กรพรรด, มาจากช, อสก, ลของจ, เล, ยส, ซาร, เผด, จการโรม, การเปล, ยนแปลงจากช, อตระก, ลเป, นตำแหน, งท, อครองโดยจ, กรพรรด, โรม, นสามารถส, บต, นตอได, หล, งการล, มสลายของราชวงศ, เกลาด. iksar latin Caesar xxkesiyng ˈkae sar krikobran Kaῖsar epntaaehnngkhxngphuepnckrphrrdithimithimacakchuxskulkhxngcueliys sisar phuephdckarormn karepliynaeplngcakchuxtrakulepntaaehnngthithuxkhrxngodyckrphrrdiormnsamarthsubtntxidthung kh s 68 hlngkarlmslaykhxngrachwngsyulixus ekladixusiksarcueliys sisarkarxxkesiyngphasalatinkhlassik ˈkae sar ephschayphasalatinthimakhwamhmayckrphrrdi enuxha 1 tnkaenid 2 xangxing 3 brrnanukrm 4 xanephimtnkaenid aekikhphuich iksar inthanachuxskulkhnaerkkhuxaeskstus yulixus iksar phuthinacaepnbrrphburusrwmkhxnglukhlanthnghmdintrakulyulixi iksaers Julii Caesares 1 kaxixus cueliys sisar yulixus iksar epnehlnchaykhxngaeskstus hlngcueliys sisar kxsngkhramkbwuthisphaaelwyudkhrxngsatharnrthormn ekhatngtaaehnng diktatxraepraeptuox dictator perpetuo hrux phuephdckartlxdchiph sungepntaaehnngthiekhakhrxngxyuephiyngpramaneduxnediywkxnthuklxbsnghar karesiychiwitkhxngcueliys sisar imidnaipsukarfunfurabxbsatharnrth aetkxihekidkhnasamphunathisxng idaek phuephdckarsamkhnrwmthungkaxixus xxktawixus lukchaybuythrrmkhxngcueliys phuaebngdinaednaeladarngtaaehnngepnewlaekuxb 2 thswrrs insmykhxngekha xxktawixuseriykchuxtnexngwa kaxixus yulixus iksar xxktawixus odymkyxepn kaxixus iksar 2 ephuxennyakhwamsmphnthrahwangtnkbcueliys sisar sudthay khwamimiwwangicaelakhwamxiccharahwangephdckarthngsamkthaihphnthmitrlmslay aelakxihekidsngkhramklangemuxngsungcblngthixxktawixusklayepnphukhwbkhumdinaednormnthnghmd odyxxktawixusprakastnexngepn ximaepratxr phubychakar aelasatharnrthormnklayepnckrwrrdiormnxyangepnthangkar emuxkhunkhrxngxanacintaaehnngni xxktawixusidepliynchuxihmepn ximaepratxr iksar exakustus 3 odywuthisphaormnidephimkhaykyxng exakustus ekhaip dwyehtuni tiaebrixus lukchaybuythrrmaelaphusubthxdxanackhxngexakustus cungthatamphx eliyng aelanachux iksar maichdwyinwnthi 26 mithunayn kh s 4 odyepliynchuxtnexngepn tiaebrixus yulixus iksar aelaemuxkhundarngtaaehnngckrphrrdiknachux tiaebrixus iksar exakustus maich thaihekidkarsubthxdchux iksar manbtngaetnnxangxing aekikh Dictionary of Greek and Roman Biography and Mythology vol I p 537 Syme Ronald 1959 Livy and Augustus Harvard Studies in Classical Philology 64 175 179 doi 10 2307 310937 JSTOR 310937 40 maps that explain the Roman Empire Vox subkhnemux 28 March 2018 brrnanukrm aekikhaemaebb The Imperial Administrative System of the Ninth Century Jones A H M J R Martindale amp J Morris 1971 1992 Prosopography of the Later Roman Empire Cambridge University Press ISBN 0 521 07233 6 Kazhdan Alexander b k 1991 The Oxford Dictionary of Byzantium Oxford and New York Oxford University Press ISBN 0 19 504652 8 Kienast Dietmar Werner Eck Matthaus Heil 2017 Romische Kaisertabelle Grundzuge einer romischen Kaiserchronologie Darmstadt WBG ISBN 978 3 534 26724 8 Peachin Michael 1990 Roman Imperial Titulature and Chronology A D 235 284 Amsterdam Gieben ISBN 90 5063 034 0 Verpeaux Jean b k 1966 Pseudo Kodinos Traite des Offices phasafrngess Centre National de la Recherche Scientifique xanephim aekikhFerjancic Bozidar 1970 Sevastokratori i kesari u Srpskom carstvu Sebastocrators and Caesares in the Serbian Empire Zbornik Filozofskog fakulteta Belgrade 255 269 Pauly Wissowa Realencyclopadie der Classischen Altertumswissenschaft ekhathungcak https th wikipedia org w index php title iksar amp oldid 9970671, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม