fbpx
วิกิพีเดีย

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (อังกฤษ: ultraviolet index) หรือ ดัชนียูวี (อังกฤษ: UV Index) เป็นการวัดมาตรฐานระดับสากลในเรื่องของการเผาของแดดโดยการแผ่รังสี ของรังสีอัลตราไวโอเลต ในพื้นที่หรือเวลานั้น ๆ หน่วยวัดได้รับการพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดาในปี พ.ศ. 2535 และได้นำมาปรับใช้ใหม่โดยองค์การอนามัยโลก และ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ของสหประชาชาติ ใน พ.ศ. 2537 ทำให้ปัจจุบันได้เป็นมาตรฐานในการพยากรณ์อากาศประจำวัน และ การพยากรณ์อากาศในรายชั่วโมง

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตได้รับการออกแบบจากสมการเชิงเส้น แปรผันตามความรุนแรงของรังสียูวีที่ส่งผลกระทบต่อผิวหนังของมนุษย์ เช่น หากอยู่กลางแดด (โดยไม่มีสารกันแดด) จะเกิดการเผาไหม้ใน 30 นาทีที่ดัชนียูวีระดับ 6 และเกิดการเผาไหม้ใน 15 นาที ที่ดัชนียูวีระดับ 12 (การเผาไหม้แปรผันตรงกับเวลา)

วัตถุประสงค์ของการใช้ดัชนียูวีมีเพื่อให้ผู้คนสามารถป้องกันตนเองจากรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งส่งผลในด้านสุขภาพเนื่องจากจะทำให้เกิดการเผาไหม้จากแดด, ภาวะแก่แดด, ผลกระทบต่อดีเอ็นเอ, มะเร็งผิวหนัง, ภาวะด้านภูมิคุ้มกัน และผลกระทบต่อตา เช่น ต้อกระจก โดยองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ผู้คนป้องกันตัวเอง (เช่น การป้องกันเมื่ออยู่กลางแดดด้วยการสวมหมวกและแว่นกันแดด) หากอยู่กลางแจ้งด้วยดัชนียูวีระดับ 3 ขึ้นไป

ที่มา

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตเป็นมาตรวัด โดยหากมีค่าที่สูงจะหมายถึงความเสี่ยงที่จะถูกแดดเผามากขึ้น (หรืออาจจะส่งผลต่อสุขภาพมากขึ้น) จากการรับรังสียูวี โดยระดับ 0 หมายถึงสภาวะที่ไม่มีรังสียูวี (ตอนกลางคืน) ส่วนระดับ 10 นั้นหมายถึงสภาวะที่มีรังสียูวีมากในตอนกลางวันของฤดูร้อน และ ไม่มีเมฆบนท้องฟ้า เมื่อได้รับการออกแบบขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2535 ในโตรอนโต ซึ่งปัจจุบันในช่วงกลางวันของฤดูร้อนในเขตร้อน, ภูเขาสูง หรือพื้นที่ที่มีการลดลงของโอโซน จะมีระดับดัชนียูวีมากกว่าปกติ ส่วนในซันเบด หรือ แทนนิงเบด จะปล่อยอัตราของรังสียูวีที่มากกว่าปกติ สถิติโลกของดัชนีรังสียูวีบนภาคพื้นดินอยู่ที่ระดับ 43.3 ที่ภูเขาไฟลีคันคาบูร์ ในประเทศโบลิเวีย เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2546 แม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะโต้แย้งว่าระดับนั้นแค่สูงกว่า 26 เท่านั้น

ในขณะที่ดัชนีรังสียูวีคำนวณจากอัตราของรังสียูวี ณ พื้นที่นั้น ๆ ซึ่งสามารถใช้อุปกรณ์ที่ราคาไม่แพงตรวจวัดได้ โดยจะให้ค่าใกล้เคียงกับความจริงในระดับหนึ่ง แต่ในการพยากรณ์อากาศจะใช้การคำนวณตามการจำลองของคอมพิวเตอร์ แม้ว่าอาจจะเกิดข้อผิดพลาด (ในกรณีที่มีเมฆ) โดยส่วนใหญ๋มักจะมีความคลาดเคลื่อนของระดับดัชนียูวีประมาณ ±1

 
ระดับดัชนีรังสียูวีในแต่ละเวลาของวันและของปี ตามการรายงานของเครื่องคำนวณรังสียูวีฟาสต์อาร์ที

เมื่อดัชนียูวีได้ปรากฏตามการพยากรณ์กาศในปัจจุบัน จะทำให้เห็นได้ว่าช่วงที่ดวงอาทิตย์มีความรุนแรงมากที่สุด เรียกว่าโซลาร์นูน (solar noon) ซึ่งเป็นช่วงกลางวันระหว่างดวงอาทิตย์ขึ้นและดวงอาทิตย์ตก โดยจะอยู่ที่ช่วง 11:30 น. ถึง 12:30 น. หรือ 12:30 น. ถึง 13:30 น. ในพื้นที่ที่ใช้เวลาออมแสง การพยากรณ์จากการจำลองโดยคอมพิวเตอร์ซึ่งทำให้ทราบถึง ระดับและระยะทางของดวงอาทิตย์, ความหนาแน่นของโอโซน, สภาพเมฆ, มลพิษทางอากาศ, พื้นผิวของอากาศ และ ระดับความสูงของพื้นดิน ซึ่งทั้งหมดนี้ส่งผลต่อดัชนียูวีที่ระดับพื้นดิน การคำนวณจะมาจากการถ่วงน้ำหนักของความยาวคลื่นรังสียูวีที่ส่งผลกระทบกับผิวหนังของมนุษย์ ตามมาตรฐานของคณะกรรมการด้านแสงสว่างระหว่างประเทศ สเปกตรัมแมคคินเลย์-ดิฟฟีย์ ผลการคำนวณของดัชนียูวีไม่สามารถบ่งบอกได้ทางหน่วยของฟิสิกส์ แต่เป็นมาตรวัดในการประเมินการเผาไหม้ของแดดได้

การใช้ดัชนีรังสียูวี

การพยากรณ์รังสียูวีในแต่ละวันจะเป็นระบบตัวเลข ซึ่งมีการแนะนำในการป้องกันตามตารางด้านล่างนี้:

ระดับดัชนีรังสียูวี สี ความเสี่ยงหากไม่มีการป้องกัน การป้องกัน
0–2.9 สีเขียว "ต่ำ" สวมแว่นกันแดด ในวันที่ท้องฟ้าโปร่ง; ใช้ สารกันแดด หากมีพื้นมีหิมะ ซึ่งจะทำให้เกิดการหักเหของรังสียูวี
3–5.9 สีเหลือง "ปานกลาง" ควรระมัดระวังโดยการปกปิดผิว หากต้องอยู่กลางแจ้ง ให้หลีกเลี่ยงในช่วงเที่ยง เนื่องจากเป็นช่วงที่มีแสงมากที่สุด
6–7.9 สีส้ม "สูง" ปกปิดด้วยเสื้อผ้ากันแดด, ใช้สารกันแดดที่มีเอสพีเอฟมากกว่า 30, สวมหมวก, อยู่กลางแจ้งให้น้อยกว่า 3 ชั่วโมง, สวมแว่นกันแดด
8–10.9 สีแดง "สูงมาก" ใช้สารกันแดดที่มีเอสพีเอฟมากกว่า 30, สวมเสื้อผ้ากันแดด, สวมแว่นกันแดด, สวมหมวกปีกกว้าง และไม่อยู่กลางแดดเป็นเวลานาน
11+ สีม่วง "รุนแรง" ควรระมัดระวังอย่างมาก โดยใช้สารกันแดดที่มีเอสพีเอฟมากกว่า 30, สวมเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาว, สวมแว่นกันแดด, สวมหมวกที่สามารถปกปิดได้มิดชิด และหลีกเลี่ยงการอยู่กลางแจ้งนานกว่า 3 ชั่วโมง

อ้างอิง

  1. Hanneman K.K., Cooper K.D., Baron E.D. (2006), Ultraviolet immunosuppression: mechanisms and consequences. Dermatologic Clinics, 24 (1): 19–25.
  2. Fioletov V., Kerr J., Fergusson A. (2010), The UV Index: Definition, Distribution and Factors Affecting It. Canadian Journal of Public Health, 101 (4): I5–I9.
  3. Gies P. et al (2011), UVR Emissions from Solaria in Australia and Implications for the Regulation Process. Photochemistry and Photobiology, 87 (1): 184–190.
  4. Gerber B. et al (2002), Ultraviolet Emission Spectra of Sunbeds. Photochemistry and Photobiology, 76 (6): 664–668.
  5. Hornung, R.L. et al (2003), Tanning facility use: are we exceeding Food and Drug Administration limits?. Journal of the American Academy of Dermatology, 49 (4): 655–661.
  6. Cabrol N.A., Feister U., Häder D.-P., Piazena H., Grin E.A., Klein A. (2014), Record solar UV irradiance in the tropical Andes. Frontiers in Environmental Science, 2 (19).
  7. McKenzie R.L., Bernhard G., Madronich S., Zaratti F. (2015), Comment on “Record solar UV irradiance in the tropical Andes, by Cabrol et al”. Frontiers in Environmental Science, 3 (26).
  8. "UV Index: Is It Validated?" NOAA. 2006.
  9. Engelsen O. and Kylling A. (2005), Fast simulation tool for ultraviolet radiation at the Earth's surface. Optical Engineering, 44 (4): 041012–041012-7.
  10. McKinlay A.F. and Diffey B.L. (1987), A reference action spectrum for ultraviolet induced erythema in human skin. CIE Journal, 6 (1): 17–22.
  11. "UV Spectral Irradiances & Erythemal Action Spectrum". NOAA. 2006.
  12. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHO
  13. "UV Index Scale". EPA Sunwise. 2014.

ชน, งส, ลตราไวโอเลต, งกฤษ, ultraviolet, index, หร, ชน, งกฤษ, index, เป, นการว, ดมาตรฐานระด, บสากลในเร, องของการเผาของแดดโดยการแผ, งส, ของร, งส, ลตราไวโอเลต, ในพ, นท, หร, อเวลาน, หน, วยว, ดได, บการพ, ฒนาโดยน, กว, ทยาศาสตร, ชาวแคนาดาในป, 2535, และได, นำมาปร, บใช. dchnirngsixltraiwoxelt xngkvs ultraviolet index hrux dchniyuwi xngkvs UV Index epnkarwdmatrthanradbsaklineruxngkhxngkarephakhxngaeddodykaraephrngsi khxngrngsixltraiwoxelt inphunthihruxewlann hnwywdidrbkarphthnaodynkwithyasastrchawaekhnadainpi ph s 2535 aelaidnamaprbichihmodyxngkhkarxnamyolk aela xngkhkarxutuniymwithyaolk khxngshprachachati in ph s 2537 thaihpccubnidepnmatrthaninkarphyakrnxakaspracawn aela karphyakrnxakasinraychwomngdchnirngsixltraiwoxeltidrbkarxxkaebbcaksmkarechingesn aeprphntamkhwamrunaerngkhxngrngsiyuwithisngphlkrathbtxphiwhnngkhxngmnusy echn hakxyuklangaedd odyimmisarknaedd caekidkarephaihmin 30 nathithidchniyuwiradb 6 aelaekidkarephaihmin 15 nathi thidchniyuwiradb 12 karephaihmaeprphntrngkbewla wtthuprasngkhkhxngkarichdchniyuwimiephuxihphukhnsamarthpxngkntnexngcakrngsixltraiwoxelt sungsngphlindansukhphaphenuxngcakcathaihekidkarephaihmcakaedd phawaaekaedd phlkrathbtxdiexnex maerngphiwhnng phawadanphumikhumkn 1 aelaphlkrathbtxta echn txkrack odyxngkhkarxnamyolkaenanaihphukhnpxngkntwexng echn karpxngknemuxxyuklangaedddwykarswmhmwkaelaaewnknaedd hakxyuklangaecngdwydchniyuwiradb 3 khunipthima aekikhdchnirngsixltraiwoxeltepnmatrwd odyhakmikhathisungcahmaythungkhwamesiyngthicathukaeddephamakkhun hruxxaccasngphltxsukhphaphmakkhun cakkarrbrngsiyuwi odyradb 0 hmaythungsphawathiimmirngsiyuwi txnklangkhun swnradb 10 nnhmaythungsphawathimirngsiyuwimakintxnklangwnkhxngvdurxn aela immiemkhbnthxngfa emuxidrbkarxxkaebbkhunmaemuxpi ph s 2535 inotrxnot sungpccubninchwngklangwnkhxngvdurxninekhtrxn phuekhasung hruxphunthithimikarldlngkhxngoxosn camiradbdchniyuwimakkwapkti 2 swninsnebd hrux aethnningebd caplxyxtrakhxngrngsiyuwithimakkwapkti 3 4 5 sthitiolkkhxngdchnirngsiyuwibnphakhphundinxyuthiradb 43 3 thiphuekhaiflikhnkhabur inpraethsobliewiy emuxwnthi 29 thnwakhm ph s 2546 6 aemwankwithyasastrcaotaeyngwaradbnnaekhsungkwa 26 ethann 7 inkhnathidchnirngsiyuwikhanwncakxtrakhxngrngsiyuwi n phunthinn sungsamarthichxupkrnthirakhaimaephngtrwcwdid odycaihkhaiklekhiyngkbkhwamcringinradbhnung aetinkarphyakrnxakascaichkarkhanwntamkarcalxngkhxngkhxmphiwetxr aemwaxaccaekidkhxphidphlad inkrnithimiemkh odyswnihymkcamikhwamkhladekhluxnkhxngradbdchniyuwipraman 1 8 radbdchnirngsiyuwiinaetlaewlakhxngwnaelakhxngpi tamkarrayngankhxngekhruxngkhanwnrngsiyuwifastxarthi 9 emuxdchniyuwiidprakttamkarphyakrnkasinpccubn cathaihehnidwachwngthidwngxathitymikhwamrunaerngmakthisud eriykwaoslarnun solar noon sungepnchwngklangwnrahwangdwngxathitykhunaeladwngxathitytk odycaxyuthichwng 11 30 n thung 12 30 n hrux 12 30 n thung 13 30 n inphunthithiichewlaxxmaesng karphyakrncakkarcalxngodykhxmphiwetxrsungthaihthrabthung radbaelarayathangkhxngdwngxathity khwamhnaaennkhxngoxosn sphaphemkh mlphisthangxakas phunphiwkhxngxakas aela radbkhwamsungkhxngphundin sungthnghmdnisngphltxdchniyuwithiradbphundin 2 karkhanwncamacakkarthwngnahnkkhxngkhwamyawkhlunrngsiyuwithisngphlkrathbkbphiwhnngkhxngmnusy tammatrthankhxngkhnakrrmkardanaesngswangrahwangpraeths sepktrmaemkhkhinely diffiy 10 11 phlkarkhanwnkhxngdchniyuwiimsamarthbngbxkidthanghnwykhxngfisiks aetepnmatrwdinkarpraeminkarephaihmkhxngaeddidkarichdchnirngsiyuwi aekikhkarphyakrnrngsiyuwiinaetlawncaepnrabbtwelkh sungmikaraenanainkarpxngkntamtarangdanlangni 12 13 radbdchnirngsiyuwi si khwamesiynghakimmikarpxngkn karpxngkn0 2 9 siekhiyw ta swmaewnknaedd inwnthithxngfaoprng ich sarknaedd hakmiphunmihima sungcathaihekidkarhkehkhxngrngsiyuwi3 5 9 siehluxng panklang khwrramdrawngodykarpkpidphiw haktxngxyuklangaecng ihhlikeliynginchwngethiyng enuxngcakepnchwngthimiaesngmakthisud6 7 9 sism sung pkpiddwyesuxphaknaedd ichsarknaeddthimiexsphiexfmakkwa 30 swmhmwk xyuklangaecngihnxykwa 3 chwomng swmaewnknaedd8 10 9 siaedng sungmak ichsarknaeddthimiexsphiexfmakkwa 30 swmesuxphaknaedd swmaewnknaedd swmhmwkpikkwang aelaimxyuklangaeddepnewlanan11 simwng runaerng khwrramdrawngxyangmak odyichsarknaeddthimiexsphiexfmakkwa 30 swmesuxaekhnyawaelakangekngkhayaw swmaewnknaedd swmhmwkthisamarthpkpididmidchid aelahlikeliyngkarxyuklangaecngnankwa 3 chwomngxangxing aekikh Hanneman K K Cooper K D Baron E D 2006 Ultraviolet immunosuppression mechanisms and consequences Dermatologic Clinics 24 1 19 25 2 0 2 1 Fioletov V Kerr J Fergusson A 2010 The UV Index Definition Distribution and Factors Affecting It Canadian Journal of Public Health 101 4 I5 I9 Gies P et al 2011 UVR Emissions from Solaria in Australia and Implications for the Regulation Process Photochemistry and Photobiology 87 1 184 190 Gerber B et al 2002 Ultraviolet Emission Spectra of Sunbeds Photochemistry and Photobiology 76 6 664 668 Hornung R L et al 2003 Tanning facility use are we exceeding Food and Drug Administration limits Journal of the American Academy of Dermatology 49 4 655 661 Cabrol N A Feister U Hader D P Piazena H Grin E A Klein A 2014 Record solar UV irradiance in the tropical Andes Frontiers in Environmental Science 2 19 McKenzie R L Bernhard G Madronich S Zaratti F 2015 Comment on Record solar UV irradiance in the tropical Andes by Cabrol et al Frontiers in Environmental Science 3 26 UV Index Is It Validated NOAA 2006 Engelsen O and Kylling A 2005 Fast simulation tool for ultraviolet radiation at the Earth s surface Optical Engineering 44 4 041012 041012 7 McKinlay A F and Diffey B L 1987 A reference action spectrum for ultraviolet induced erythema in human skin CIE Journal 6 1 17 22 UV Spectral Irradiances amp Erythemal Action Spectrum NOAA 2006 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux WHO UV Index Scale EPA Sunwise 2014 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title dchnirngsixltraiwoxelt amp oldid 7037642, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม