fbpx
วิกิพีเดีย

ดาวเทียมสำรวจโลก

ดาวเทียมสำรวจโลกคือดาวเทียมที่ออกแบบมาเพื่อ หรือใช้สำหรับสำรวจโลกจากวงโคจร ซึ่งรวมถึงดาวเทียมสอดแนมและอื่น ๆ ที่ใช้สำหรับกิจการพลเรือน เช่น การตรวจสอบสิ่งแวดล้อม อุตุนิยมวิทยา การทำแผนที่ เป็นต้น

ดาวเทียมสำรวจโลก 6 ดวงในกลุ่มดาวเทียม A-train ตามข้อมูลเมื่อปีพ.ศ. 2557

ดาวเทียมที่พบมากที่สุดคือดาวเทียมถ่ายภาพโลก ซึ่งถ่ายภาพทางดาวเทียมคล้ายกับการถ่ายภาพทางอากาศ แต่ดาวเทียมสำรวจโลกบางดวงอาจใช้วิธีการรับรู้จากระยะไกลโดยไม่สร้างรูปภาพขึ้นมา เช่น GNSS radio occultation

ดาวเทียมสำรวจด้วยการรับรู้จากระยะไกลเกิดขึ้นครั้งแรกพร้อม ๆ กับการปล่อยดาวเทียมครั้งแรก คือ สปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 (พ.ศ. 2500) โดยสปุตนิก 1 ส่งคลื่นวิทยุกลับมาบนโลก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ใช้ศึกษาไอโอโนสเฟียร์ สำหรับสหรัฐอเมริกา นาซาได้ปล่อยดาวเทียมดวงแรกของอเมริกา คือ en:Explorer 1 เมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) ซึ่งข้อมูลที่ดาวเทียมส่งกลับมาจากเครื่องตรวจจับรังสีทำให้เกิดการค้นพบแถบรังสีแวนอัลเลนขึ้น และดาวเทียม TIROS-1 ที่ปล่อยเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) ภายใต้โครงการ Television Infrared Observation Satellite (TIROS) ของนาซา ส่งภาพโทรทัศน์ของรูปแบบสภาพอากาศจากอวกาศลงมาครั้งแรก

จากข้อมูลเมื่อ พ.ศ. 2551 ในวงโคจรของโลกมีเคยดาวเทียมสำรวจมากกว่า 150 ดวงที่เก็บข้อมูลผ่านเครื่องตรวจจับข้อมูลและรับข้อมูลมากกว่า 10 terabits ทุกวัน

ดาวเทียมสำรวจโลกส่วนมากจะมีเครื่องมือที่เหมาะสมสำหรับการทำงานที่ความสูงอยู่ระดับต่ำ แต่จะหลีกเลี่ยงความสูงที่ต่ำกว่า 500-600 กิโลเมตรเพราะมีแรงต้านสสารที่มากในความสูงระดับต่ำมาก ทำให้ต้องมีการดันความสูงวงโคจรอยู่บ่อยครั้ง เช่น

ดาวเทียมสำรวจต้องอยู่ที่วงโคจรต่ำและวงโคจรผ่านขั้วโลกเพื่อที่จะให้ครอบคลุม(เกือบ)ทั่วโลก วงโคจรที่ต่ำจะมีคาบการโคจรประมาณ 100 นาทีและในระหว่างนั้นโลกก็หมุนไป 25° ทำให้เส้นทางของดาวเทียมเทียบกับเส้นทางในวงโคจรรอบที่แล้วรอบก่อนขยับไปทางทิศตะวันตก 25° องศาด้วย และทำให้การติดตามยานอวกาศทางภาคพื้นดินเลื่อนไปทางทิศตะวันตก 25° องศา และดาวเทียมส่วนมากจะอยู่ในวงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์

ยานอวกาศที่มีเครื่องมือสำหรับความสูงที่ 36,000 กิโลเมตรอาจใช้วงโคจรค้างฟ้าแทน ซึ่งวงโคจรระดับนี้ทำให้สามารถเห็นโลกได้มากกว่า 1/3 โดยไม่ถูกขัดจังหวะ ทำให้ยานอวกาศในวงโคจรค้างฟ้า 3 ดวงที่อยู่ห่างกัน 120° สามารถครอบคลุมได้เกือบทั้งโลกยกเว้นส่วนขั้วโลก และดาวเทียมสำรวจสภาพอากาศส่วนมากจะใช้วงโคจรนี้

ประวัติ

Herman Potočnik ศึกษาความคิดในการใช้ยานอวกาศสำหรับการสำรวจภาคพื้นดินอย่างละเอียดทั้งในการทหารและการพลเรือนในหนังสือ The Problem of Space Travel โดยเขาอธิบายว่าสภาพของอวกาศอาจมีประโยชน์ต่อการทดลองทางวิทยาศาสตร์ได้ และหนังสือได้อธิบายดาวเทียมค้างฟ้า (ถูกกล่าวถึงครั้งแรกโดย Konstantin Tsiolkovsky) และอธิบายการสื่อสารระหว่างกันด้วยวิทยุ แต่มิได้คำนึงถึงการใช้ดาวเทียมในการส่งข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อเป็นตัวถ่ายทอดข้อมูลโทรคมนาคม

การใช้งาน

สภาพอากาศ

 
GOES-8 ดาวเทียมสำรวจสภาพอากาศของสหรัฐอเมริกา

ดาวเทียมสำรวจสภาพอากาศคือดาวเทียมที่ตรวจสอบลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศเป็นหลัก ดาวเทียมเหล่านี้มิได้แค่สังเกตเมฆอย่างเดียว แต่ยังสามารถตรวจสอบไฟฟ้าในเมือง ไฟ มลพิษ ออโรรา พายุฝุ่น การปกคลุมของหิมะ ทำแผนที่น้ำแข็งบนพื้นโลก หาขอบเขตของกระแสน้ำมหาสมุทร การเคลื่อนที่ของพลังงาน ฯลฯ

ภาพจากดาวเทียมสำรวจสภาพอากาศยังช่วยในการสังเกตเถ้าภูเขาไฟจากภูเขาไฟเซนต์เฮเลนส์และการปะทุของภูเขาไฟอื่น ๆ เช่น Mount Etna รวมถึงมีการสังเกตการณ์ควันไฟในสหรัฐอเมริกาตะวันตก เช่น ในรัฐโคโลราโด และรัฐยูทาห์

การตรวจสอบสิ่งแวดล้อม

 
ภาพถ่ายทางดาวเทียมของโลก โดยใช้ equirectangular projection ในการแสดงผลภาพ

ดาวเทียมด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ สามารถช่วยในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมได้โดยการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของพันธุ์พืชบนโลก ปริมาณก๊าซในชั้นบรรยากาศ สถานะของทะเล สีของมหาสมุทร และทุ่งน้ำแข็ง โดยการตรวจสอบความแล้งสามารถทำได้โดยเทียบการเปลี่ยนแปลงของพันธุ์พืชเมื่อเวลาผ่านไปช่วงหนึ่ง เช่น เหตุการณ์น้ำมันรั่วไหลในปีพ.ศ. 2545 ได้ถูกติดตามโดยดาวเทียม ENVISAT ของยุโรป โดยแม้ว่าจะมิใช่ดาวเทียมสำรวจสภาพอากาศ แต่ก็มีเครื่องมือที่สามารถสังเกตความเปลี่ยนแปลงของพื้นทะเลได้ ข้อมูลการปล่อยมลพิษทางมานุษยวิทยาสามารถตรวจสอบได้โดยการประมวลข้อมูล NO2 และ SO2 ในชั้นบรรยากาศโทรโพสเฟียร์

ดาวเทียมเหล่านี้จะอยู่ในวงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์เกือบตลอดเวลา โดยวงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์จะใกล้กับวงโคจรผ่านขั้วโลกมากพอที่จะสามารถครอบคลุมได้ทั่วโลก พร้อมกับการที่ได้รับแสงอาทิตย์ตลอดเวลาทำให้เครื่องมือบนดาวเทียมสามารถใช้งานได้ด้วยประสิทธิภาพสูงสุด

การทำแผนที่

แผนที่ภูมิประเทศสามารถทำจากอวกาศได้โดยใช้ดาวเทียม เช่น Radarsat-1 และ TerraSAR-X

อ้างอิง

  1. Tatem, Andrew J.; Goetz, Scott J.; Hay, Simon I. (2008). "Fifty Years of Earth-observation Satellites". American Scientist. 96 (5): 390–398. doi:10.1511/2008.74.390. PMC 2690060. PMID 19498953.
  2. Kuznetsov, V.D.; Sinelnikov, V.M.; Alpert, S.N. (June 2015). "Yakov Alpert: Sputnik-1 and the first satellite ionospheric experiment". Advances in Space Research. 55 (12): 2833–2839. Bibcode:2015AdSpR..55.2833K. doi:10.1016/j.asr.2015.02.033.
  3. "James A. Van Allen". nmspacemuseum.org. New Mexico Museum of Space History. สืบค้นเมื่อ 14 May 2018.
  4. . Mohammed Bin Rashid Space Centre. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2019-01-17. สืบค้นเมื่อ 2021-02-28.
  5. . Mohammed Bin Rashid Space Centre. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-02-28.
  6. . www.sasmac.cn. 2 September 2016. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2016-09-16. สืบค้นเมื่อ 2021-02-28.
  7. NESDIS, Satellites. Retrieved on 4 July 2008   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  8. NOAA. "NOAA Satellites, Scientists Monitor Mt. St. Helens for Possible Eruption". สืบค้นเมื่อ 4 July 2008.  บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  9. NASA, Drought. 19 สิงหาคม 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved on 4 July 2008   บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  10. Grunsky, E.C. The use of multi-beam Radarsat-1 satellite imagery for terrain mapping. Retrieved on 4 July 2008

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สารบัญสถานีย่อยการสำรวจโลก

ดาวเท, ยมสำรวจโลก, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดค, อดาวเท, ยมท, ออกแบบมาเพ, หร, อใช, สำหร, บสำรวจโลกจากวงโคจร, งรวมถ, . lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisuddawethiymsarwcolkkhuxdawethiymthixxkaebbmaephux hruxichsahrbsarwcolkcakwngokhcr sungrwmthungdawethiymsxdaenmaelaxun thiichsahrbkickarphleruxn echn kartrwcsxbsingaewdlxm xutuniymwithya karthaaephnthi epntndawethiymsarwcolk 6 dwnginklumdawethiym A train tamkhxmulemuxpiph s 2557 dawethiymthiphbmakthisudkhuxdawethiymthayphapholk sungthayphaphthangdawethiymkhlaykbkarthayphaphthangxakas aetdawethiymsarwcolkbangdwngxacichwithikarrbrucakrayaiklodyimsrangrupphaphkhunma echn GNSS radio occultationdawethiymsarwcdwykarrbrucakrayaiklekidkhunkhrngaerkphrxm kbkarplxydawethiymkhrngaerk khux sputnik 1 khxngshphaphosewiytemuxwnthi 4 tulakhm kh s 1957 ph s 2500 1 odysputnik 1 sngkhlunwithyuklbmabnolk sungnkwithyasastrichsuksaixoxonsefiyr 2 sahrbshrthxemrika nasaidplxydawethiymdwngaerkkhxngxemrika khux en Explorer 1 emuxwnthi 31 mkrakhm kh s 1958 ph s 2501 sungkhxmulthidawethiymsngklbmacakekhruxngtrwccbrngsithaihekidkarkhnphbaethbrngsiaewnxlelnkhun 3 aeladawethiym TIROS 1 thiplxyemuxwnthi 1 emsayn kh s 1960 ph s 2503 phayitokhrngkar Television Infrared Observation Satellite TIROS khxngnasa sngphaphothrthsnkhxngrupaebbsphaphxakascakxwkaslngmakhrngaerk 1 cakkhxmulemux ph s 2551 update inwngokhcrkhxngolkmiekhydawethiymsarwcmakkwa 150 dwngthiekbkhxmulphanekhruxngtrwccbkhxmulaelarbkhxmulmakkwa 10 terabits thukwn 1 dawethiymsarwcolkswnmakcamiekhruxngmuxthiehmaasmsahrbkarthanganthikhwamsungxyuradbta aetcahlikeliyngkhwamsungthitakwa 500 600 kiolemtrephraamiaerngtanssarthimakinkhwamsungradbtamak thaihtxngmikardnkhwamsungwngokhcrxyubxykhrng echn dawethiym ERS 1 ERS 2 aela Envisat khxng xngkhkarxwkasyuorp rwmthung MetOp khxng EUMETSAT thanganthikhwamsung 800 kiolemtrthnghmd dawethiym Proba 1 Proba 2 aela SMOS khxng xngkhkarxwkasyuorp thanganthikhwamsungpraman 700 kiolemtrthnghmd dawethiymsarwcolkkhxngshrthxahrbexmierts DubaiSat 1 aela DubaiSat 2 thanganthi wngokhcrtakhxngolkephuxthayphaphthangdawethiymcakhlay swnkhxngolk 4 5 dawethiymsarwctxngxyuthiwngokhcrtaaelawngokhcrphankhwolkephuxthicaihkhrxbkhlum ekuxb thwolk wngokhcrthitacamikhabkarokhcrpraman 100 nathiaelainrahwangnnolkkhmunip 25 thaihesnthangkhxngdawethiymethiybkbesnthanginwngokhcrrxbthiaelwrxbkxnkhybipthangthistawntk 25 xngsadwy aelathaihkartidtamyanxwkasthangphakhphundineluxnipthangthistawntk 25 xngsa aeladawethiymswnmakcaxyuinwngokhcrsmphnthkbdwngxathityyanxwkasthimiekhruxngmuxsahrbkhwamsungthi 36 000 kiolemtrxacichwngokhcrkhangfaaethn sungwngokhcrradbnithaihsamarthehnolkidmakkwa 1 3 odyimthukkhdcnghwa thaihyanxwkasinwngokhcrkhangfa 3 dwngthixyuhangkn 120 samarthkhrxbkhlumidekuxbthngolkykewnswnkhwolk aeladawethiymsarwcsphaphxakasswnmakcaichwngokhcrni enuxha 1 prawti 2 karichngan 2 1 sphaphxakas 2 2 kartrwcsxbsingaewdlxm 2 3 karthaaephnthi 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunprawti aekikhHerman Potocnik suksakhwamkhidinkarichyanxwkassahrbkarsarwcphakhphundinxyanglaexiydthnginkarthharaelakarphleruxninhnngsux The Problem of Space Travel odyekhaxthibaywasphaphkhxngxwkasxacmipraoychntxkarthdlxngthangwithyasastrid aelahnngsuxidxthibaydawethiymkhangfa thukklawthungkhrngaerkody Konstantin Tsiolkovsky aelaxthibaykarsuxsarrahwangkndwywithyu aetmiidkhanungthungkarichdawethiyminkarsngkhxmulkhnadihyephuxepntwthaythxdkhxmulothrkhmnakhm 6 karichngan aekikhsphaphxakas aekikh GOES 8 dawethiymsarwcsphaphxakaskhxngshrthxemrika dawethiymsarwcsphaphxakaskhuxdawethiymthitrwcsxblmfaxakasaelaphumixakasepnhlk 7 dawethiymehlanimiidaekhsngektemkhxyangediyw aetyngsamarthtrwcsxbiffainemuxng if mlphis xxorra phayufun karpkkhlumkhxnghima thaaephnthinaaekhngbnphunolk hakhxbekhtkhxngkraaesnamhasmuthr karekhluxnthikhxngphlngngan lphaphcakdawethiymsarwcsphaphxakasyngchwyinkarsngektethaphuekhaifcakphuekhaifesntehelnsaelakarpathukhxngphuekhaifxun echn Mount Etna 8 rwmthungmikarsngektkarnkhwnifinshrthxemrikatawntk echn inrthokholraod aelarthyuthah kartrwcsxbsingaewdlxm aekikh phaphthaythangdawethiymkhxngolk odyich equirectangular projection inkaraesdngphlphaph dawethiymdansingaewdlxmxun samarthchwyinkartrwcsxbsphaphaewdlxmidodykartrwcsxbkarepliynaeplngkhxngphnthuphuchbnolk primankasinchnbrryakas sthanakhxngthael sikhxngmhasmuthr aelathungnaaekhng odykartrwcsxbkhwamaelngsamarththaidodyethiybkarepliynaeplngkhxngphnthuphuchemuxewlaphanipchwnghnung 9 echn ehtukarnnamnrwihlinpiph s 2545 idthuktidtamodydawethiym ENVISAT khxngyuorp odyaemwacamiichdawethiymsarwcsphaphxakas aetkmiekhruxngmuxthisamarthsngektkhwamepliynaeplngkhxngphunthaelid khxmulkarplxymlphisthangmanusywithyasamarthtrwcsxbidodykarpramwlkhxmul NO2 aela SO2 inchnbrryakasothrophsefiyrdawethiymehlanicaxyuinwngokhcrsmphnthkbdwngxathityekuxbtlxdewla odywngokhcrsmphnthkbdwngxathitycaiklkbwngokhcrphankhwolkmakphxthicasamarthkhrxbkhlumidthwolk phrxmkbkarthiidrbaesngxathitytlxdewlathaihekhruxngmuxbndawethiymsamarthichnganiddwyprasiththiphaphsungsud karthaaephnthi aekikh aephnthiphumipraethssamarththacakxwkasidodyichdawethiym echn Radarsat 1 10 aela TerraSAR Xxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Tatem Andrew J Goetz Scott J Hay Simon I 2008 Fifty Years of Earth observation Satellites American Scientist 96 5 390 398 doi 10 1511 2008 74 390 PMC 2690060 PMID 19498953 Kuznetsov V D Sinelnikov V M Alpert S N June 2015 Yakov Alpert Sputnik 1 and the first satellite ionospheric experiment Advances in Space Research 55 12 2833 2839 Bibcode 2015AdSpR 55 2833K doi 10 1016 j asr 2015 02 033 James A Van Allen nmspacemuseum org New Mexico Museum of Space History subkhnemux 14 May 2018 DubaiSat 2 Earth Observation Satellite of UAE Mohammed Bin Rashid Space Centre khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2019 01 17 subkhnemux 2021 02 28 DubaiSat 1 Earth Observation Satellite of UAE Mohammed Bin Rashid Space Centre khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 03 04 subkhnemux 2021 02 28 Introduction to satellite www sasmac cn 2 September 2016 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2016 09 16 subkhnemux 2021 02 28 NESDIS Satellites Retrieved on 4 July 2008 bthkhwamnirwmexaenuxkhwamcakaehlngxangxingni sungepnsatharnsmbti NOAA NOAA Satellites Scientists Monitor Mt St Helens for Possible Eruption subkhnemux 4 July 2008 bthkhwamnirwmexaenuxkhwamcakaehlngxangxingni sungepnsatharnsmbti NASA Drought Archived 19 singhakhm 2008 thi ewyaebkaemchchin Retrieved on 4 July 2008 bthkhwamnirwmexaenuxkhwamcakaehlngxangxingni sungepnsatharnsmbti Grunsky E C The use of multi beam Radarsat 1 satellite imagery for terrain mapping Retrieved on 4 July 2008aehlngkhxmulxun aekikhsarbysthaniyxykarsarwcolk sthanikhwbkhumdawethiym TIROS I aela II phakhphundinthidawethiymsarwcolkdwngaerkidsngrupphaphaerkmaekhathungcak https th wikipedia org w index php title dawethiymsarwcolk amp oldid 9642865, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม