fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต

ทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต หรือ ทฤษฎีบทการแยกตัวประกอบได้อย่างเดียว (อังกฤษ: fundamental theorem of arithmetic หรือ unique factorization theorem) ในคณิตศาสตร์และทฤษฎีจำนวน คือประโยคซึ่งกล่าวว่า จำนวนเต็มบวกทุกจำนวนที่มากกว่า 1 สามารถเขียนอยู่ในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้วิธีเดียวเท่านั้น ตัวอย่างเช่น เราสามารถเขียน

6936 = 23 · 3 · 172   หรือ   1200 = 24 · 3 · 52

และไม่มีทางที่จะแยกตัวประกอบของ 6936 หรือ 1200 ได้เป็นอย่างอื่น ถ้าเราไม่สนใจลำดับของตัวประกอบ

เพื่อที่จะให้ทฤษฏีบทนี้ใช้ได้กับจำนวน 1 เราจะถือว่า 1 เป็นผลคูณของของจำนวนเฉพาะศูนย์จำนวน (ดูใน ผลคูณว่าง)

การประยุกต์

การพิสูจน์

การพิสูจน์จะประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนแรก เราจะพิสูจน์ให้เห็นว่าจำนวนทุกจำนวน สามารถเขียนอยู่ในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้ จากนั้นจะพิสูจน์ว่าการเขียน 2 แบบใด ๆ จะเหมือนกันเสมอ

สมมติว่ามีจำนวนเต็มบวก ที่ไม่สามารถเขียนในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้ ดังนั้น จะต้องมีจำนวนที่น้อยสุดในจำนวนพวกนั้น ให้จำนวนนั้นคือ n ดังนั้น n ไม่สามารถเป็น 1 ได้เพราะว่าจะขัดแย้งกับสมมติฐานข้างต้น และ n ไม่สามารถเป็นจำนวนเฉพาะได้เพราะจำนวนเฉพาะคือผลคูณของจำนวนเฉพาะตัวเดียว ดังนั้น n จะต้องเป็นจำนวนประกอบ จะได้

n = ab

เมื่อ a และ b เป็นจำนวนเต็มบวกที่น้อยกว่า n แต่ n เป็นจำนวนที่น้อยที่สุดที่ทำให้ทฤษฎีบทผิด ดังนั้น a และ b ต้องเขียนในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้ ทำให้ n = ab เขียนในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้ เกิดข้อขัดแย้ง

ในส่วนของการพิสูจน์ว่า จำนวนทุกจำนวนสามารถเขียนในรูปผลคูณของจำนวนเฉพาะได้แบบเดียว เราจะใช้ข้อเท็จจริงว่า ถ้าจำนวนเฉพาะ p หารผลคูณ ab ลงตัวแล้ว มันจะหาร a ลงตัว หรือหาร b ลงตัว เป็นบทตั้งในการพิสูจน์ ถ้า p หาร a ไม่ลงตัวแล้ว p และ a จะเป็นจำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ จากเอกลักษณ์ของเบซู (Bézout's identity) จะได้ว่ามีจำนวนเต็ม x และ y ที่ทำให้

px + ay = 1

คูณทั้งสองข้างด้วย b จะได้

pbx + aby = b

เนื่องจากฝั่งซ้ายมือหารด้วย p ลงตัว ดังนั้นฝั่งขวามือจึงหารด้วย p ลงตัวด้วย เป็นการพิสูจน์บทตั้ง

จากนั้น นำผลคูณของจำนวนเฉพาะที่เท่ากันมา 2 ผลคูณ ให้ p เป็นจำนวนเฉพาะในผลคูณแรก p จะหารผลคูณแรกลงตัว และจะหารผลคูณที่สองลงตัวด้วย จากข้อเท็จจริงข้างต้น p จะต้องหารตัวประกอบในผลคูณที่สองลงตัวอย่างน้อย 1 ตัว แต่ตัวประกอบเป็นจำนวนเฉพาะทั้งหมด ดังนั้น p จะต้องเท่ากับตัวประกอบตัวใดตัวหนึ่งของผลคูณที่สอง ดังนั้น เราจึงตัด p ออกจากทั้งสองผลคูณได้ และทำซ้ำอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จะเห็นว่าตัวประกอบเฉพาะของผลคูณสองผลคูณจะจับคู่กันเสมอ

ดูเพิ่ม

ทฤษฎ, บทม, ลฐานของเลขคณ, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, หร, ทฤษฎ, บท. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir thvsdibthmulthankhxngelkhkhnit hrux thvsdibthkaraeyktwprakxbidxyangediyw xngkvs fundamental theorem of arithmetic hrux unique factorization theorem inkhnitsastraelathvsdicanwn khuxpraoykhsungklawwa canwnetmbwkthukcanwnthimakkwa 1 samarthekhiynxyuinrupphlkhunkhxngcanwnechphaaidwithiediywethann twxyangechn erasamarthekhiyn 6936 23 3 172 hrux 1200 24 3 52aelaimmithangthicaaeyktwprakxbkhxng 6936 hrux 1200 idepnxyangxun thaeraimsnicladbkhxngtwprakxbephuxthicaihthvstibthniichidkbcanwn 1 eracathuxwa 1 epnphlkhunkhxngkhxngcanwnechphaasunycanwn duin phlkhunwang karprayukt aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarphisucn aekikhkarphisucncaprakxbdwy 2 swn swnaerk eracaphisucnihehnwacanwnthukcanwn samarthekhiynxyuinrupphlkhunkhxngcanwnechphaaid caknncaphisucnwakarekhiyn 2 aebbid caehmuxnknesmxsmmtiwamicanwnetmbwk thiimsamarthekhiyninrupphlkhunkhxngcanwnechphaaid dngnn catxngmicanwnthinxysudincanwnphwknn ihcanwnnnkhux n dngnn n imsamarthepn 1 idephraawacakhdaeyngkbsmmtithankhangtn aela n imsamarthepncanwnechphaaidephraacanwnechphaakhuxphlkhunkhxngcanwnechphaatwediyw dngnn n catxngepncanwnprakxb caid n abemux a aela b epncanwnetmbwkthinxykwa n aet n epncanwnthinxythisudthithaihthvsdibthphid dngnn a aela b txngekhiyninrupphlkhunkhxngcanwnechphaaid thaih n ab ekhiyninrupphlkhunkhxngcanwnechphaaid ekidkhxkhdaeynginswnkhxngkarphisucnwa canwnthukcanwnsamarthekhiyninrupphlkhunkhxngcanwnechphaaidaebbediyw eracaichkhxethccringwa thacanwnechphaa p harphlkhun ab lngtwaelw mncahar a lngtw hruxhar b lngtw epnbthtnginkarphisucn tha p har a imlngtwaelw p aela a caepncanwnechphaasmphthth cakexklksnkhxngebsu Bezout s identity caidwamicanwnetm x aela y thithaih px ay 1khunthngsxngkhangdwy b caid pbx aby benuxngcakfngsaymuxhardwy p lngtw dngnnfngkhwamuxcunghardwy p lngtwdwy epnkarphisucnbthtngcaknn naphlkhunkhxngcanwnechphaathiethaknma 2 phlkhun ih p epncanwnechphaainphlkhunaerk p caharphlkhunaerklngtw aelacaharphlkhunthisxnglngtwdwy cakkhxethccringkhangtn p catxnghartwprakxbinphlkhunthisxnglngtwxyangnxy 1 tw aettwprakxbepncanwnechphaathnghmd dngnn p catxngethakbtwprakxbtwidtwhnungkhxngphlkhunthisxng dngnn eracungtd p xxkcakthngsxngphlkhunid aelathasaxyangniiperuxy caehnwatwprakxbechphaakhxngphlkhunsxngphlkhuncacbkhuknesmxduephim aekikhkaraeyktwprakxb bthkhwamekiywkbkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy khnitsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdibthmulthankhxngelkhkhnit amp oldid 4700979, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม