fbpx
วิกิพีเดีย

ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง

ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง เป็นสาขาวิชาหนึ่งของวิชารัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองเป็นวิชาที่มีลักษณะเป็นสหวิทยาการ (interdisciplinary) ระหว่างวิชาประวัติศาสตร์ และปรัชญาการเมือง

กำเนิดของสาขาวิชาการเมือง

จารีตในการศึกษาการเมืองด้วยการศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นมาแต่โบราณ หรือการศึกษาการเมืองผ่านประวัติศาสตร์นั้นเกิดมาตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ อาทิ งานเขียนเรื่อง "เรียบเรียงเรื่องราว" (The Histories) ของเฮโรโดตุส "ประวัติศาสตร์สงครามแห่งคาบสมุทธเพลอพอนเนซุส" (History of the Peloponnesian War) ของธูซิดิเดส (Thucydides) การบันทึกเรื่องราวของโซกครตีสในรูปแบบบทสนทนาของเพลโต การศึกษาการเมืองด้วยการศึกษาปรัชญาร่วมกับประวัติศาสตร์เป็นจารีตในทางการศึกษาการเมืองของโลกตะวันตก แต่เมื่อการศึกษาการเมืองเริ่มเข้าสู่ยุคของความเป็นวิทยาศาสตร์ ได้เริ่มมีการแยกสาขาวิชาเป็นวิชาปรัชญาการเมือง และวิชาประวัติศาสตร์การเมือง

ในส่วนของวิชาปรัชญาการเมืองนั้น ได้มีนักรัฐศาสตร์จำนวนหนึ่งนำเอาวิธีวิทยาประวัติศาสตร์เข้ามาศึกษาในวิชาปรัชญาการเมือง นักรัฐศาสตร์เหล่านี้จะไม่นิยามตัวเองว่านักรัฐศาสตร์ แต่จะนิยามตนเองว่านักปรัชญาการเมือง หรือไม่ก็นักประวัติศาสตร์ทางความคิด จึงได้มีการเรียกการศึกษาปรัชญาการเมืองด้วยระเบียบวิธีทางประวัติศาสตร์ว่า "ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง" ซึ่งสตีฟ แทนซีย์ (Stephen D. Tansey) อธิบายไว้ในหนังสือหนังสือความเข้าใจมโนทัศน์ "การเมือง" เบื้องต้น (Politics: The Basic) ว่า ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองจะเป็นการศึกษาพัฒนาการของความคิดทางการเมืองของนักปรัชญา นักคิด คนต่างๆในแต่ละยุคสมัยโดยคำนึงถึงบริบททางกาลเทศะว่ามีผลต่อทฤษฎี หรือหลักปรัชญาของนักปรัชญา นักคิด คนนั้นๆอย่างไรบ้าง รวมถึงได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากใคร อะไร อย่างไร ในขณะที่การศึกษาปรัชญาการเมืองจะเป็นการศึกษางานเขียนของนักปรัชญา นักคิดคนต่างๆอย่างลุ่มลึกโดยไม่คำนึงถึงบริบททางกาลเทศะ ที่สำคัญคือการศึกษาปรัชญาการเมือง และประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง เป็นส่วนสำคัญที่จะใช้สร้าง ทฤษฎีการเมือง การศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองที่มีอิทธิพลอย่างสูงในการศึกษารัฐศาสตร์ในประเทศอังกฤษ โดยเฉพาะอิทธิพลจากงานเขียนของอีริค โวเกอลิน (Eric Vogelin) เควนติน สกินเนอร์ (Quentin Skinner) และจอห์น ดันน์ (John Dunn)

กล่าวอย่างกระชับก็คือวิชาประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองเป็นการศึกษาความคิดทางการเมืองเพื่อศึกษาพัฒนาการของความคิดในทางการเมืองที่เปลี่ยนแปรไปตามแต่กาลเทศะนั่นเอง

กำเนิดความคิดทางการเมือง

มนุษย์เป็นสัตว์โลกที่ถือกำเนิดขึ้นมาอย่างมีความคิด รู้จักการเปลี่ยนแปลงปรับสภาพต่างตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต่างๆที่อยู่โดยรอบเพื่อให้การดำรงชีวิตของตนเองอยู่อย่างมีความสุขและสะดวกสบาย จุดเริ่มต้นของทฤษฎี หลักปรัชญา แนวคิด และหลักการต่างๆในการศึกษาเกี่ยวกับการเมืองและกฎหมายนั้น มาจากการตั้งคำถามของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติว่า “ธรรมชาติของความเป็นมนุษย์นั้นเป็นอย่างไร?” จากคำถามปลายเปิดเช่นนี้ทำให้เกิดความคิดขึ้นมาว่าโดยแท้จริงแล้วธรรมชาติของมนุษย์นั้น มนุษย์มีความเห็นแก่ตัวเพื่อความอยู่รอดของตนเองหรือมีธรรมชาติในการอยู่รอดแบบร่วมมือกันเป็นหมู่คณะ เราจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไรคือสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคที่แท้จริง มนุษย์ต้องการสิ่งเหล่านี้จริงหรือไม่ จุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการเป็นมนุษย์คืออะไร

มนุษย์ทุกคนต่างก็มีความคิดของตนเองและมีคำถามมากมายในความคิดเหล่านั้น นักปรัชญาจึงไม่ได้ต้องการความหมายของสิ่งเหล่านั้นที่กล่าวมาข้างต้น แต่พวกเขาต้องการเข้าใจแนวคิดรวบยอด(Concept)ที่สามารถทำให้มนุษย์เข้าใจธรรมชาติของตนเอง ธรรมชาติเหล่านั้นของมนุษย์มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้างและสามารถนำไปใช้ในด้านใดได้อีกบ้าง เป็นผลให้มีการศึกษาและเป็นเกิดเป็นความคิดทางการเมืองขึ้นมา

ยุคสมัยของความคิดทางการเมือง

ยุคสมัยของประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมืองนั้นแบ่งออกได้เป็นยุคต่างๆดังนี้

  • สมัยโบราณ(Antiquity) เป็นยุคสมัยที่เริ่มนับตั้งแต่ยุคกรีกและโรมัน เป็นยุคเริ่มแรกของการเกิดประวัติศาสตร์ในด้านต่างๆหลายด้านรวมถึงความคิดทางการเมืองด้วยเช่นกัน ยุคสมัยนี้นับตั้งแต่เริ่มแรกของประวัติศาสตร์กรีกโรมันจนกระทั่งราวๆคริสต์ศตวรรษที่ 6 (ประมาณคริสต์ศักราช 500)
  • สมัยกลาง (Middle Ages หรือ Medieval) ยุคสมัยนี้เริ่มต้นช่วงราวๆปี คริศต์ศักราช 500 - 1500
  • สมัยใหม่ (Modern Ages and Contemporary) ยุคสมัยนี้เริ่มต้นช่วงราวๆปีคริสต์ศักราช 1500 มาจนถึงปัจจุบัน

สมัยโบราณ (Antiquity)

ความคิดในนิยายปรัมปรา หากจะกล่าวถึงกรีกโบราณสิ่งแรกที่ต้องคิดถึงคือนิยายกรีก หลักทางความคิดหรือประวัติศาสตร์ทางด้านความคิดของชาวกรีกโรมันก็ได้รับอิทธิพลมาจากนิยายกรีกเช่นกัน ชาวกรีกมีความคิดที่จะอธิบายโลกด้วยเหตุผล จนชาวโลกเชื่อว่าชนชาติผู้ให้กำเนิดและเป็นต้นกำเนิดของหลักปรัชญาความคิดต่างเกิดขึ้นที่นี่ ก่อนอื่นควรเข้าใจว่าหลักความคิดเกี่ยวกับโลกเป็นวัฒนธรรมของชาวกรีกโบราณที่มีอยู่แล้วเปรียบคล้ายกับเหมือนวัฒนธรรมไทย เป็นความเชื่อที่สืบทอด ตกทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นในรูปแบบของนิยายปรัมปรา ความเชื่อเรื่องเทวดา เทวทูต เทพเจ้า ฯลฯ ทางด้านความคิดนั้นชาวกรีกโบราณก็รู้จักสิ่งเหล่านี้ผ่านนิยาย เรื่องเล่าปรัมปราจากบรรพบุรุษ

ความคิดทางปรัชญาในระยะก่อตัว ราว 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช สังคมของชาวกรีกเริ่มมีการพัฒนาเจริญก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ จากสังคมที่มีการพึ่งตนเองในการหากินหาใช้ เริ่มมีการแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ไปจนถึงการค้าขายและเจริญถึงขั้นการส่งออกนำเข้ากับเมืองอื่นๆอย่างกว้างขวาง เมื่อสภาพสังคมความเป็นอยู่ดีมีความมั่งคั่งและสมบุรณ์ขึ้น ชาวกรีกจึงได้มีเวลาในการคิดถึงเรื่องต่างๆ สภาพแวดล้อมเหมาะสมและเอื้ออำนวยแก่การเรียนรู้ มีความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นจึงเกิดการก่อตัวของวิชาปรัชญา นักคิดกรีกช่วงแรกๆหาเหตุผลอธิบายเกี่ยวกับต้นเหตุของสิ่งต่างๆและต้นกำเนิดของโลก นักคิดชาวกรีกพยายามเสาะหาหลักการที่มีเหตุผลอย่างเป็นสากล พวกเขาเริ่มสละความคิดดั้งเดิมในความเชื่อและเข้าใจด้วยจินตภาพในรูปแบบของนิทานปรัมปรา และเปลี่ยนมาคิดแบบใช้ความคิดสติปัญญาอย่างมีเหตุผล

ปรัชญายุคประวัติศาสตร์โบราณ ชนเผ่าเร่ร่อนยุคก่อนประวัติศาสตร์แต่เดิมยังไม่มีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจทางธรรมชาติวิทยา คนในยุคนั้นมีชีวิตความเป็นอยู่ด้วยความหวาดกลัว หวาดระแวง และต้องการเข้าใจถึงความเป็นไปตามตามธรรมชาติ ทั้งการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว น้ำท่วม ภูเขาไฟระเบิด ฯลฯ และธรรมชาติของมนุษย์ซึ่งก็คือการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย สิ่งเหล่านี้มีผลกระทบกับชีวิตของคนยุคสมัยก่อนเป็นอย่างมาก คนเหล่านั้นจึงตีความและเลือกเชื่อในทำนองนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ที่อยู่เหนือธรรมชาติ โดยส่วนมากจะนับถือศาสนาธรรมชาติ บรรพบุรุษ วิญญาณนิยม โชคชะตานิยม คติเทพเจ้านิยม เป็นต้น โซโรแอสเตอร์ หนึ่งในนักบวชแห่งอาณาจักรเปอร์เซีย ได้พยายามเปลี่ยนแปลงศาสนาที่นับถือหลายเทพเจ้าให้มานับถือเพทเจ้าเพียงองค์เดียว คาดว่าศาสนาของโซโรแอสเตอร์มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศาสนายูดาห์และคริสต์ศาสนาในยุคสมัยต่อมา ศาสนาพราหม์เกิดขึ้นช่วงที่มีการแบ่งชั้นวรรณะในลุ่มแม่น้ำสินธุซึ่งปัจจุบันพัฒนาเป็นศาสนาฮินดู และราว 500 ปีก่อนคริสต์ศักราชก็ได้กำเนิดศาสนาพุทธ เป็นศาสนาแบบปรัชญาที่มองในเรื่องความเสมอภาคและหนทางแห่งการหลุดพ้นจากความทุกข์ด้วยตนเอง

ปรัชญายุคอินเดียโบราณ แนวคิดสำคัญที่เกิดขึ้นอย่างน้อย 1,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราชคือการแบ่งมนุษย์ออกเป็น 4 ชั้นวรรณะ ซึ่งกล่าวว่าแต่ละชั้นวรรณะมีกำเนิดมาจากอวัยวะของพระเจ้าที่ต่างกัน การแบ่งวรรณะเช่นนี้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ธรรมชาติ แนวความคิดนี้ได้อธิบายไว้ว่า สังคมของมนุษย์ย่อมมีกิจสำคัญ 3 ประการเพื่อรักษาสังคมเอาไว้คือ

1.ศาสนาและกฎระเบียบในสังคม ทั้งการให้ความรู้ ให้คำปรึกษาวรรณะกษัตริย์ คานอำนาจให้กษัตริย์อยู่ในธรรม วรรณะพราหมณ์เป็นผู้ดูแลหน้าที่นี้

2.การปกป้องสังคมและรัฐ การดูแลป้องกันความวุ่นวาย การปกครองให้เป็นหน้าที่ของวรรณะกษัตริย์ ซึ่งถือเป็นวรรณะนักรบ

3.ผลิตผลเพื่อนการอยู่การกิน การจับจ่ายใช้สอย หรือผู้ทำงานด้านกสิกรรม การค้า หรือการผลิตต่างๆ ให้เป็นหน้าที่ของวรรณะแพศย์

และสุดท้าย แรงงานที่ต้องคอบสนับสนุนเพื่อนให้ทั้ง 3 วรรณะข้างตนทำงานได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ผู้ทำหน้าที่ใช้แรงงานหรือด้านกรรมกรนั้นคือวรรณะศูทร คัมภีร์อรรถศาสตร์ คัมภีร์ที่เป็นเสมือนคู่มือนักปกครองในยุคสมัยของอินเดียโบราณ เข้าใจว่าถูกเรียบเรียงโดย เกาติลยะ หรือผู้ที่สามารถยันกองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชย์ที่พยายามขยายอำนาจมาสู่อินเดียเอาไว้ได้ คัมภีร์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวข้องสนับสนุนคุณสมบัติของศาสนาพราหมณ์ 3 ประการคือ อำนาจ ธรรมมะ และกามะ ในยุคสมัยอินเดียโบราณจะให้ความสำคัญกับวรรณะพราหมณ์มากกว่าวรรณะกษัตริย์ แต่อรรถศาสตร์จะยึดการให้ความสำคัญกับประมุขของรัฐมากกว่าวรรณะพราหมณ์ แต่ก็ยังคงยอมรับว่าวรรณะพราหมณ์มีชนชั้นสูงกว่า โดยหน้าที่ของวรรณะพราหมณ์นั้นจะมุ่งเน้นไปที่เรื่องศาสนาและพิธีกรรมมากกว่าการมีบทบาททางราชการของรัฐ

พระพุทธเจ้า เจ้าชายสิทธัตถะ โคตมะ จากแคว้นแห่งหนึ่งในชมพูทวีปผู้ค้นพบ(ตรัสรู้)และเผยแพร่ศาสนาพุทธที่เจริญรุ่งเรืองในอินเดียในยุคต่อมาระยะหนึ่ง โดยแก่นสำคัญของปรัชญาชาวพุทธคือการมองชีวิตและสรรพสิ่งในโลกว่าไม่เที่ยงแท้ มีความทุกข์ ไม่ใช่ของตนและมีแต่จะเสื่อมสลายไป ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นทุกสิ่งย่อมมีสาเหตุ เน้นความเป็นเหตุเป็นผล ให้ตั้งข้อสงสัยไว้ก่อนอย่าพึงเชื่ออะไรโดยง่าย ศาสนาพุทธเน้นเดินทางสายกลางและการดำเนินชีวิตแบบเรียบง่ายอีกทั้งเน้นในเรื่องของหนทางแห่งการดับทุกข์โดยเห็นว่ามนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของสังคม มีหลักคิดสำคัญคือ อริยสัจ 4 ในทางปรัชญาตวามคิดทางสังคมของศาสนาพุทธ มีความคิดในการยอมรับความเท่าเทียมกัน ความเสมอภาคกันของมนุษย์ มีความตรงกันข้ามกับระบบวรรณะของฮินดู โดยมีความคิดที่ว่ามนุษย์จะปฏิบัติอะไรจะเป็นแบบไหนขึ้นอยู่กับการกระทำของตนเองไม่ได้ขึนอยู่กับชาติกำเนิด ศาสนาพุทธไม่เน้นถึงรูปแบบการปกครองแต่จะกล่าวถึงธรรมในการปกครองมากกว่า )

ปรัชญากรีกโบราณ ปรัชญากรีกโบราณถือเป็นปรัชญาการเมืองเริ่มแรกที่มีการถกเถียงกัน เกิดขึ้นจากชาวกรีกโบราณในยุคสมัยกว่า 2,000 ปี ชนเผ่านักรบที่ปกครองโดยขุนพลและให้ค่านิยมสูงในเรื่องของความเป็นสหาย ชนเผ่าเหล่านี้รวมตัวกันเป็นสังคมที่ใหญ่ขึ้นมีจุดมุ่งหมายในการปกป้องและป้องกันตนเอง เกิดการสร้างนครรัฐ เช่น เอเธนส์และสปาร์ต้า โดยเอเธนส์ถือเป็นต้นกำเนิดของนักคิดซึ่งชอบตั้งคำถามและโต้แย้งกันเพื่อนสิ่งที่พวกเขาเรียกว่า philosophy หรือความรักในความรู้ เขาเหล่านั้นไม่ยอมรับในคำอธิบายเรื่องศาสนาหรือประเพณีที่มีมายาวนานอย่างง่ายๆ แต่จะพยายามในการหาคำตอบโดยการตั้งคำถามกับสังคมว่า ศีลธรรม และการเมืองคืออะไร ทาสเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนาทางความคิด นักปรัชญากรีกในยุคสมัยนั้นมองว่าการเกิดมาเป็นทาสเป็นเรื่องธรรมชาติ ไม่มีนักปรัชญากรีกคนใดสนใจในการถกเถียงว่าทาสเป็นเรื่องที่ชอบธรรมหรือไม่


สมัยกลาง (Middle Ages หรือ Medieval)

ความคิดและความเชื่อ/อิทธิพลทางความคิด ของศาสนาคริสต์ความคิดของศาสนาคริสต์มีจุดกำเนิดมาจากความคิดทางศาสนายูดาย(Judaism)เป็นศาสนาประจำชนเผ่าของชาวยิว พวกเขาเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างและปกครองโลก ทรงเลือกชาวยิวเป็นคู่พันธสัญญาด้วยความเชื่อว่าพระเจ้าทรงโปรดชนเผ่าของพวกเขา และได้รับมอบพระบัญญัติ10ประการ โดยพวกเขามีหน้าทีปฏิบัติตามและรักษาไว้ พระเจ้าได้ให้คำมั่นสัญญาว่าหากพวกเขาปฎิบัติตามบทบัญญัติอันเป็นกฎหมายที่ทรงมอบให้ไว้ได้ พระเจ้าจะทรงปกป้องคุ้มครองชนชาวยิวที่ต้องพลัดพรากจากถิ่นฐาน ความเชื่อของชาวคริสเตียนประการสำคัญอีกหนึ่งอย่างคือเมื่อพระเจ้าสร้างโลกแล้วก็ได้สร้างมนุษย์ขึ้นมาด้วย ซึ่งมนุษย์คู่แรกคือ อดัมกับอีวา อยู่ในสวนอีเดน ความเชื่อที่ว่าพระเจ้าทรงความดี บริสุทธิ์ สิ่งที่พระองค์สร้างจึ้งต้องเป็นเช่นนั้นขัดต่อปัญหาที่เกิดขึ้นว่า ทำไมโลกมนุษย์จึงมีแต่ความชั่วและบาป ซึ่งปัญหานี้เป็นทั้งในเรื่องของทางปรัชญาและศาสนา ศาสนาคริสต์เชื่อว่าการที่มนุษย์ชั่วนั้นเพราะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของพระเจ้า หรือคือบรรพบุรุษของมนุษย์ (อดัมและอีวา) ละเมิดคำสั่งของพระเจ้าที่ไม่ให้กินแอปเปิ้ลในสวนอีเดน พระเจ้าจึงได้อัปเปหิทั้งสองมาเป็นปุถุชนผู้มีบาปดั้งเดิม และเมื่อมีลูกหลานก็จึงได้รับบาปของทั้งสองมาด้วย มนุษย์จึงเป็นคนบาปตั้งแต่นั้นมาทัศนะของชาวคริสต์ต่อกฎหมายมีความเชื่อว่าบัญญัติ 10 ประการตกทอดมาตั้งแต่สมัยโมเสส และเชื่อว่าวันหนึ่งโลกจะถึงกาลอวสานพระเจ้าจะต้องลงมาพิพากษา ทำให้การสอนต่อชาวคริสต์เน้นในเรื่องของการดำเนินชีวิตอย่างเคร่งครัดเอาจริงเอาจัง พวกเขาเชื่อว่าการเกิดเป็นมนุษย์นั้นเกิดมาได้ครั้งเดียวไม่สามารถเกิดมาเป็นได้อีกครั้งเหมือนกับความเชื่อของทางโลกตะวันออก

ยุคกลางช่วงแรกนับเป็นช่วงเริ่มต้นของยุคสมัยที่ศาสนาคริสต์มีอำนาจเหนือกษัตริย์ต่าง ๆ ทั่วยุโรปโดยเรียกกันว่า Holy roman empire หรืออาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ มีจุดเริ่มต้นจากการแบ่งอาณาจักรโรมันเป็น 2 ส่วน ชนเผ่าเยอรมันนิกเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเขตของอาณาจักรโรมันได้อย่างเสรี จักรพรรดิโรมันตะวันตกคนสุดท้ายถูกโค่น ชนเผ่าเยอรมันเข้ามายึดครองรวมทั้งพยายามสืบสานวัฒนธรรมของดรมันและศาสนาคริสต์ พระเจ้าชาร์เลอมาญได้สร้างอาณาจักรเยอรมันนิกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและได้รับมงกุฎจากพระสันตะปาปาให้เป็นจักรพรรดิ

ยุคกลางช่วงปลายมีการฟื้นฟูการเรียนรู้จากยุคมืด(Dark Ages)ในช่วงปลายศตวรรษที่ 11 รวมไปถึงการถ่ายทอดความรู้และการค้นพบเกี่ยวกับยุคโบราณกันใหม่ ซึ่งเมื่อเริ่มในศตวรรษที่ 12 ได้มีการกลับไปศึกษาปรัชญาของ อริสโตเติล แต่ความรู้ในสมัยนั้นยังมีปัญหาขัดแย้งกับความเชื่อของคริสต์ศาสนาในยุคนั้น ทำให้ศาสนจักรเกิดการป้องกันตนเองมากขึ้นและนักปรัชญาหันเหความสนใจในการไปหาความรู้ทางโลกมายิ่งขึ้น

สมัยใหม่ (Modern Ages and Contemporary)

ยุคสว่างทางภูมิปัญญา ช่วงปลายศตวรรษที่ 14 ยุคสมัยกลางเริ่มหดตัวถอยหลังและค่อยๆหายไปจากประวัติศาสตร์ และเริ่มเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา การฟื้นฟูเริ่มต้นที่ประเทศอิตาลี่เป็นแห่งแรกนับตั้งแต่ยุคจักรวรรดิโรมันล่มสลายในช่วงศตวรรษที่ 6 มีการเกิดชนชั้นกลางที่มีความมั่งคั่งทำให้ประชาชนจำนวนมากมีการดำรงชีวิตที่ดีขึ้น มีเวลาว่างในการทำกิจกรรมรื่นเริงและมีคุณค่าทางศิลปวิทยาการ กลุ่มปัญญาชนหันมาสนใจในการศึกษาวรรณคดี ภาษา ศิลปและวัฒนธรรมของคนในสมัยกรีกและโรมัน การตื่นตัวในการศึกษาเช่นนี้เป็นจุดเริ่มต้นของความคิดใหม่ๆนานัปการ ในช่วงศตวรรษที่ 17 เกิดเป็นยุคสว่างทางปัญญา มีการเจริญก้าวหน้าและเติบโตขึ้นทางวิชาการ แนวคิดสำคัญในยุคสมัยนี้คือความเชื่อต่อสิทธิอำนาจแบบประเพณีนิยมในเรื่องการเมืองและศาสนาเสื่อมถอยลง ความเชื่อและการเคารพซึ่งเหตุและผลเป็นหลักในการบ่งบอกถึงคุณสมบัติของมนุษย์ งานเขียนที่สะท้อนความคิดยุคนี้คืองานเขียนของ วอลแต์ ในฝรั่งเศสและ คานท์ ในเยอรมนี ยุคสมัยนี้ยังถือเป็นจุดเริ่มต้นของแนวคิดแบบเสรีนิยม สากลนิยมโดยแยกโลกของฆราวาสออกจากศาสนาและการต่อต้านสิทธิอำนาจเด็ดขาด(Anti-Authoritarian) จะเห็นได้จากงานของ คานท์ เพน และรุสโซ

การเกิดขึ้นของรัฐสมัยใหม่ รัฐสมัยใหม่มีความเป็นมาจาการที่รัฐฆราวาส เริ่มมีบทบาทและอำนาจเพิ่มมากขึ้นสวนทางกับศาสนจักร กษัตริย์ที่เข้มแข็งและมีประเทศอยู่ในภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบตั้งตนเป็นใหญ่ ข้อเท็จจริงของการมีอำนาจที่เกิดขึ้นเช่นนี้สะท้อนแนวความคิดว่า อาณาจักรไม่จำเป็นต้องอยู่ภายใต้อาณัติของศาสนจักรหรืออยู่ใต้อำนาจทางโลกอื่นอีกต่อไป อาณาจักรมีสถานะใหม่เป็นรัฐ(State) มีคุณค่าในตัวเองไม่ขึ้นต่อผู้ใด นักคิดพยายามยกย่องอำนาจส่วนกลางของรัฐให้เป็นอำนาจในการปกป้องประเทศชาติ

นักปรัชญาความคิดทางการเมืองในยุคสมัยต่างๆ

  • สมัยโบราณ(Antiquity)

โสกราตีส (Socrates 469-399 B.C.)

พลาโต/เพลโต (Plato 429-348 B.C.)

อริสโตเติล (Aristotle 384-322 B.C.)

เอพิคิวรัส

ซิเซโร (Cicero 106-43 B.C)

ออกัสติน (Augustine 354-430)

  • สมัยกลาง (Middle Ages หรือ Mediaeval)

โทมัส อไควนัส (Thomas Aquinas 1226-1274)

  • สมัยใหม่ (Modern Ages and Contemporary)

ฮูโก โกรเชียส (Hugo Grotius 1583-1645)

โทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679)

ซามูเอล ปูเฟนดอร์ฟ (Samuel Pufendorf 1632-1694)

จอห์น ล็อค (John Locke 1632-1704)

มองเตสกิเออร์ (Montesquieu 1689-1755)

คริสเตียน โทมาซิอุส(Christian Thomasius 1655-1728)

ฌอง ชัค รุสโซ (Jean jacques Rousseau 1712-1778)

อิมมานูเอล คานท์ (Immanuel Kant 1724-1804)

อาดัม สมิธ (Adam Smith 1723-1790)

โทมัส โรเบิร์ต มัลธัส (Thomas Robert Malthus 1766-1834)

อ้างอิง

  1. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ (มธ 120) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
  2. Stephen D. Tansey. Politics : the basic. (3rd Edition). London : Routledge, 2004, pp.10-11.
  3. พิสิษฐิกุล แก้วงาม. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร์ (มธ 120) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550.
  4. สุขุม นวลสกุล,และ โกศล โรจนพันธุ์.Political Theories I.มหาวิทยาลัยรามคำแหง(พิมพ์ครั้งที่11).2548.หน้า1
  5. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า22,23
  6. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.หน้า86
  7. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.หน้า89
  8. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.หน้า94,95
  9. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า42,43
  10. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า44-47
  11. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า47-49
  12. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า55,56
  13. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.บทที่4
  14. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.หน้า141-144
  15. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า65,66
  16. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.บทที่5
  17. วิทยากร เชียงกูล,ปรัชญาการเมือง เศรษฐกิจ สังคม.สำนักพิมพ์สายธาร(พิมพ์ครั้งที่4).2553.หน้า85
  18. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.หน้า163
  19. ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์.นิติปรัชญา.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(พิมพ์ครั้งที่10).2552.บทที่6

แหล่งข้อมูลอื่น/อ้างอิงเพิ่มเติม

  • ความคิดทางการเมืองแบบตะวันตกจากโสกราตีสถึงยุคอุดมการณ์ ; [สมนึก ชูวิเชียร ผู้แปล],กรุงเทพฯ:เอ็มแอลครีเอชั่นแอนด์พริ๊นติ้ง, 2548
  • ประวัติปรัชญาการเมือง,ลีโอ สเตร๊าส์ และโจเซ็ฟ คร็อปซีย์ บรรณาธิการ ; สมบัติ จันทรวงศ์ แปล,กรุงเทพฯ:คบไฟ, 2550
  • Political philosophy;สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,กรุงเทพฯ:สาขาวิชา, 2527
  • ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่
  • บ้านจอมยุทธ(ปรัชญาโลกตะวันตก)
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปรัชญาการเมือง,คนอง วังฝายแก้ว


อ้างอิง

ดูเพิ่ม

ประว, ศาสตร, ความค, ดทางการเม, อง, เป, นสาขาว, ชาหน, งของว, ชาร, ฐศาสตร, เป, นว, ชาท, กษณะเป, นสหว, ทยาการ, interdisciplinary, ระหว, างว, ชาประว, ศาสตร, และปร, ชญาการเม, อง, เน, อหา, กำเน, ดของสาขาว, ชาการเม, อง, กำเน, ดความค, ดทางการเม, อง, คสม, ยของความค, ดท. prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng epnsakhawichahnungkhxngwicharthsastr prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngepnwichathimilksnaepnshwithyakar interdisciplinary rahwangwichaprawtisastr aelaprchyakaremuxng enuxha 1 kaenidkhxngsakhawichakaremuxng 2 kaenidkhwamkhidthangkaremuxng 3 yukhsmykhxngkhwamkhidthangkaremuxng 4 smyobran Antiquity 5 smyklang Middle Ages hrux Medieval 6 smyihm Modern Ages and Contemporary 7 nkprchyakhwamkhidthangkaremuxnginyukhsmytang 8 xangxing 9 aehlngkhxmulxun xangxingephimetim 10 xangxing 11 duephimkaenidkhxngsakhawichakaremuxng aekikhcaritinkarsuksakaremuxngdwykarsuksasingthiekidkhunmaaetobran hruxkarsuksakaremuxngphanprawtisastrnnekidmatngaetyukhkrikobran xathi nganekhiyneruxng eriyberiyngeruxngraw The Histories khxngehorodtus prawtisastrsngkhramaehngkhabsmuththephlxphxnensus History of the Peloponnesian War khxngthusidieds Thucydides karbnthukeruxngrawkhxngoskkhrtisinrupaebbbthsnthnakhxngephlot karsuksakaremuxngdwykarsuksaprchyarwmkbprawtisastrepncaritinthangkarsuksakaremuxngkhxngolktawntk aetemuxkarsuksakaremuxngerimekhasuyukhkhxngkhwamepnwithyasastr iderimmikaraeyksakhawichaepnwichaprchyakaremuxng aelawichaprawtisastrkaremuxng 1 inswnkhxngwichaprchyakaremuxngnn idminkrthsastrcanwnhnungnaexawithiwithyaprawtisastrekhamasuksainwichaprchyakaremuxng nkrthsastrehlanicaimniyamtwexngwankrthsastr aetcaniyamtnexngwankprchyakaremuxng hruximknkprawtisastrthangkhwamkhid cungidmikareriykkarsuksaprchyakaremuxngdwyraebiybwithithangprawtisastrwa prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng sungstif aethnsiy Stephen D Tansey xthibayiwinhnngsuxhnngsuxkhwamekhaicmonthsn karemuxng ebuxngtn Politics The Basic wa prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngcaepnkarsuksaphthnakarkhxngkhwamkhidthangkaremuxngkhxngnkprchya nkkhid khntanginaetlayukhsmyodykhanungthungbribththangkalethsawamiphltxthvsdi hruxhlkprchyakhxngnkprchya nkkhid khnnnxyangirbang rwmthungidrbxiththiphlthangkhwamkhidmacakikhr xair xyangir inkhnathikarsuksaprchyakaremuxngcaepnkarsuksanganekhiynkhxngnkprchya nkkhidkhntangxyanglumlukodyimkhanungthungbribththangkalethsa thisakhykhuxkarsuksaprchyakaremuxng aelaprawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng epnswnsakhythicaichsrang thvsdikaremuxng 2 karsuksaprawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngthimixiththiphlxyangsunginkarsuksarthsastrinpraethsxngkvs odyechphaaxiththiphlcaknganekhiynkhxngxirikh owekxlin Eric Vogelin ekhwntin skinenxr Quentin Skinner aelacxhn dnn John Dunn 3 klawxyangkrachbkkhuxwichaprawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngepnkarsuksakhwamkhidthangkaremuxngephuxsuksaphthnakarkhxngkhwamkhidinthangkaremuxngthiepliynaepriptamaetkalethsannexngkaenidkhwamkhidthangkaremuxng aekikhmnusyepnstwolkthithuxkaenidkhunmaxyangmikhwamkhid ruckkarepliynaeplngprbsphaphtangtamthrrmchatiaelasingaewdlxmtangthixyuodyrxbephuxihkardarngchiwitkhxngtnexngxyuxyangmikhwamsukhaelasadwksbay 4 cuderimtnkhxngthvsdi hlkprchya aenwkhid aelahlkkartanginkarsuksaekiywkbkaremuxngaelakdhmaynn macakkartngkhathamkhxngmnusythiekiywkhxngkbthrrmchatiwa thrrmchatikhxngkhwamepnmnusynnepnxyangir cakkhathamplayepidechnnithaihekidkhwamkhidkhunmawaodyaethcringaelwthrrmchatikhxngmnusynn mnusymikhwamehnaektwephuxkhwamxyurxdkhxngtnexnghruxmithrrmchatiinkarxyurxdaebbrwmmuxknepnhmukhna eracaruidxyangirwaxairkhuxsiththi esriphaph aelakhwamesmxphakhthiaethcring mnusytxngkarsingehlanicringhruxim cudmunghmaythiaethcringkhxngkarepnmnusykhuxxairmnusythukkhntangkmikhwamkhidkhxngtnexngaelamikhathammakmayinkhwamkhidehlann nkprchyacungimidtxngkarkhwamhmaykhxngsingehlannthiklawmakhangtn aetphwkekhatxngkarekhaicaenwkhidrwbyxd Concept thisamarththaihmnusyekhaicthrrmchatikhxngtnexng thrrmchatiehlannkhxngmnusymikhxdikhxesiyxyangirbangaelasamarthnaipichindanididxikbang epnphlihmikarsuksaaelaepnekidepnkhwamkhidthangkaremuxngkhunma 5 yukhsmykhxngkhwamkhidthangkaremuxng aekikhyukhsmykhxngprawtisastrkhwamkhidthangkaremuxngnnaebngxxkidepnyukhtangdngni 6 smyobran Antiquity epnyukhsmythierimnbtngaetyukhkrikaelaormn epnyukherimaerkkhxngkarekidprawtisastrindantanghlaydanrwmthungkhwamkhidthangkaremuxngdwyechnkn yukhsmyninbtngaeterimaerkkhxngprawtisastrkrikormncnkrathngrawkhriststwrrsthi 6 pramankhristskrach 500 smyklang Middle Ages hrux Medieval yukhsmynierimtnchwngrawpi khristskrach 500 1500smyihm Modern Ages and Contemporary yukhsmynierimtnchwngrawpikhristskrach 1500 macnthungpccubnsmyobran Antiquity aekikhkhwamkhidinniyayprmpra hakcaklawthungkrikobransingaerkthitxngkhidthungkhuxniyaykrik hlkthangkhwamkhidhruxprawtisastrthangdankhwamkhidkhxngchawkrikormnkidrbxiththiphlmacakniyaykrikechnkn chawkrikmikhwamkhidthicaxthibayolkdwyehtuphl cnchawolkechuxwachnchatiphuihkaenidaelaepntnkaenidkhxnghlkprchyakhwamkhidtangekidkhunthini kxnxunkhwrekhaicwahlkkhwamkhidekiywkbolkepnwthnthrrmkhxngchawkrikobranthimixyuaelwepriybkhlaykbehmuxnwthnthrrmithy epnkhwamechuxthisubthxd tkthxdknmacakrunsuruninrupaebbkhxngniyayprmpra khwamechuxeruxngethwda ethwthut ethpheca l thangdankhwamkhidnnchawkrikobrankrucksingehlaniphanniyay eruxngelaprmpracakbrrphburus 7 khwamkhidthangprchyainrayakxtw raw 600 pikxnkhristskrach sngkhmkhxngchawkrikerimmikarphthnaecriykawhnamakkhuneruxy caksngkhmthimikarphungtnexnginkarhakinhaich erimmikaraelkepliynsungknaelakn ipcnthungkarkhakhayaelaecriythungkhnkarsngxxknaekhakbemuxngxunxyangkwangkhwang emuxsphaphsngkhmkhwamepnxyudimikhwammngkhngaelasmburnkhun chawkrikcungidmiewlainkarkhidthungeruxngtang sphaphaewdlxmehmaasmaelaexuxxanwyaekkareriynru mikhwamsadwksbaymakyingkhuncungekidkarkxtwkhxngwichaprchya nkkhidkrikchwngaerkhaehtuphlxthibayekiywkbtnehtukhxngsingtangaelatnkaenidkhxngolk nkkhidchawkrikphyayamesaahahlkkarthimiehtuphlxyangepnsakl phwkekhaerimslakhwamkhiddngediminkhwamechuxaelaekhaicdwycintphaphinrupaebbkhxngnithanprmpra aelaepliynmakhidaebbichkhwamkhidstipyyaxyangmiehtuphl 8 prchyayukhprawtisastrobran chnephaerrxnyukhkxnprawtisastraetedimyngimmikarphthnakhwamrukhwamekhaicthangthrrmchatiwithya khninyukhnnmichiwitkhwamepnxyudwykhwamhwadklw hwadraaewng aelatxngkarekhaicthungkhwamepniptamtamthrrmchati thngkarepliynaeplngkhxngthrrmchati echn aephndinihw nathwm phuekhaifraebid l aelathrrmchatikhxngmnusysungkkhuxkar ekid aek ecb tay singehlanimiphlkrathbkbchiwitkhxngkhnyukhsmykxnepnxyangmak khnehlanncungtikhwamaelaeluxkechuxinthanxngnbthuxsingskdisithththixyuehnuxthrrmchati odyswnmakcanbthuxsasnathrrmchati brrphburus wiyyanniym ochkhchataniym khtiethphecaniym epntn osoraexsetxr hnunginnkbwchaehngxanackrepxresiy idphyayamepliynaeplngsasnathinbthuxhlayethphecaihmanbthuxephthecaephiyngxngkhediyw khadwasasnakhxngosoraexsetxrmixiththiphltxkarphthnasasnayudahaelakhristsasnainyukhsmytxma sasnaphrahmekidkhunchwngthimikaraebngchnwrrnainlumaemnasinthusungpccubnphthnaepnsasnahindu aelaraw 500 pikxnkhristskrachkidkaenidsasnaphuthth epnsasnaaebbprchyathimxngineruxngkhwamesmxphakhaelahnthangaehngkarhludphncakkhwamthukkhdwytnexng 9 prchyayukhxinediyobran aenwkhidsakhythiekidkhunxyangnxy 1 000 pi kxnkhristskrachkhuxkaraebngmnusyxxkepn 4 chnwrrna sungklawwaaetlachnwrrnamikaenidmacakxwywakhxngphraecathitangkn karaebngwrrnaechnniepniptamkdeknththrrmchati aenwkhwamkhidniidxthibayiwwa sngkhmkhxngmnusyyxmmikicsakhy 3 prakarephuxrksasngkhmexaiwkhux1 sasnaaelakdraebiybinsngkhm thngkarihkhwamru ihkhapruksawrrnakstriy khanxanacihkstriyxyuinthrrm wrrnaphrahmnepnphuduaelhnathini2 karpkpxngsngkhmaelarth karduaelpxngknkhwamwunway karpkkhrxngihepnhnathikhxngwrrnakstriy sungthuxepnwrrnankrb3 phlitphlephuxnkarxyukarkin karcbcayichsxy hruxphuthangandanksikrrm karkha hruxkarphlittang ihepnhnathikhxngwrrnaaephsyaelasudthay aerngnganthitxngkhxbsnbsnunephuxnihthng 3 wrrnakhangtnthanganidxyangepnraebiyberiybrxy phuthahnathiichaerngnganhruxdankrrmkrnnkhuxwrrnasuthr khmphirxrrthsastr khmphirthiepnesmuxnkhumuxnkpkkhrxnginyukhsmykhxngxinediyobran ekhaicwathukeriyberiyngody ekatilya hruxphuthisamarthynkxngthphkhxngxelksanedxrmharachythiphyayamkhyayxanacmasuxinediyexaiwid khmphirnimienuxhaekiywkhxngsnbsnunkhunsmbtikhxngsasnaphrahmn 3 prakarkhux xanac thrrmma aelakama inyukhsmyxinediyobrancaihkhwamsakhykbwrrnaphrahmnmakkwawrrnakstriy aetxrrthsastrcayudkarihkhwamsakhykbpramukhkhxngrthmakkwawrrnaphrahmn aetkyngkhngyxmrbwawrrnaphrahmnmichnchnsungkwa odyhnathikhxngwrrnaphrahmnnncamungennipthieruxngsasnaaelaphithikrrmmakkwakarmibthbaththangrachkarkhxngrth 10 phraphuththeca ecachaysiththttha okhtma cakaekhwnaehnghnunginchmphuthwipphukhnphb trsru aelaephyaephrsasnaphuthththiecriyrungeruxnginxinediyinyukhtxmarayahnung odyaeknsakhykhxngprchyachawphuththkhuxkarmxngchiwitaelasrrphsinginolkwaimethiyngaeth mikhwamthukkh imichkhxngtnaelamiaetcaesuxmslayip imkhwryudmnthuxmnthuksingyxmmisaehtu ennkhwamepnehtuepnphl ihtngkhxsngsyiwkxnxyaphungechuxxairodyngay sasnaphuththennedinthangsayklangaelakardaeninchiwitaebberiybngayxikthngennineruxngkhxnghnthangaehngkardbthukkhodyehnwamnusyepnswnhnungkhxngsngkhm mihlkkhidsakhykhux xriysc 4 inthangprchyatwamkhidthangsngkhmkhxngsasnaphuthth mikhwamkhidinkaryxmrbkhwamethaethiymkn khwamesmxphakhknkhxngmnusy mikhwamtrngknkhamkbrabbwrrnakhxnghindu odymikhwamkhidthiwamnusycaptibtixaircaepnaebbihnkhunxyukbkarkrathakhxngtnexngimidkhunxyukbchatikaenid sasnaphuththimennthungrupaebbkarpkkhrxngaetcaklawthungthrrminkarpkkhrxngmakkwa 11 prchyakrikobran prchyakrikobranthuxepnprchyakaremuxngerimaerkthimikarthkethiyngkn ekidkhuncakchawkrikobraninyukhsmykwa 2 000 pi chnephankrbthipkkhrxngodykhunphlaelaihkhaniymsungineruxngkhxngkhwamepnshay chnephaehlanirwmtwknepnsngkhmthiihykhunmicudmunghmayinkarpkpxngaelapxngkntnexng ekidkarsrangnkhrrth echn exethnsaelasparta odyexethnsthuxepntnkaenidkhxngnkkhidsungchxbtngkhathamaelaotaeyngknephuxnsingthiphwkekhaeriykwa philosophy hruxkhwamrkinkhwamru ekhaehlannimyxmrbinkhaxthibayeruxngsasnahruxpraephnithimimayawnanxyangngay aetcaphyayaminkarhakhatxbodykartngkhathamkbsngkhmwa silthrrm aelakaremuxngkhuxxair thasepnswnhnungthithaihekidkarphthnathangkhwamkhid nkprchyakrikinyukhsmynnmxngwakarekidmaepnthasepneruxngthrrmchati imminkprchyakrikkhnidsnicinkarthkethiyngwathasepneruxngthichxbthrrmhruxim 12 13 smyklang Middle Ages hrux Medieval aekikhkhwamkhidaelakhwamechux xiththiphlthangkhwamkhid khxngsasnakhristkhwamkhidkhxngsasnakhristmicudkaenidmacakkhwamkhidthangsasnayuday Judaism epnsasnapracachnephakhxngchawyiw phwkekhaechuxwaphraecaepnphusrangaelapkkhrxngolk thrngeluxkchawyiwepnkhuphnthsyyadwykhwamechuxwaphraecathrngoprdchnephakhxngphwkekha aelaidrbmxbphrabyyti10prakar odyphwkekhamihnathiptibtitamaelarksaiw phraecaidihkhamnsyyawahakphwkekhapdibtitambthbyytixnepnkdhmaythithrngmxbihiwid phraecacathrngpkpxngkhumkhrxngchnchawyiwthitxngphldphrakcakthinthan khwamechuxkhxngchawkhrisetiynprakarsakhyxikhnungxyangkhuxemuxphraecasrangolkaelwkidsrangmnusykhunmadwy sungmnusykhuaerkkhux xdmkbxiwa xyuinswnxiedn khwamechuxthiwaphraecathrngkhwamdi brisuththi singthiphraxngkhsrangcungtxngepnechnnnkhdtxpyhathiekidkhunwa thaimolkmnusycungmiaetkhwamchwaelabap sungpyhaniepnthngineruxngkhxngthangprchyaaelasasna sasnakhristechuxwakarthimnusychwnnephraaimptibtitamkhasngkhxngphraeca hruxkhuxbrrphburuskhxngmnusy xdmaelaxiwa laemidkhasngkhxngphraecathiimihkinaexpepilinswnxiedn phraecacungidxpephithngsxngmaepnputhuchnphumibapdngedim aelaemuxmilukhlankcungidrbbapkhxngthngsxngmadwy mnusycungepnkhnbaptngaetnnmathsnakhxngchawkhristtxkdhmaymikhwamechuxwabyyti 10 prakartkthxdmatngaetsmyomess aelaechuxwawnhnungolkcathungkalxwsanphraecacatxnglngmaphiphaksa thaihkarsxntxchawkhristennineruxngkhxngkardaeninchiwitxyangekhrngkhrdexacringexacng phwkekhaechuxwakarekidepnmnusynnekidmaidkhrngediywimsamarthekidmaepnidxikkhrngehmuxnkbkhwamechuxkhxngthangolktawnxxk 14 yukhklangchwngaerknbepnchwngerimtnkhxngyukhsmythisasnakhristmixanacehnuxkstriytang thwyuorpodyeriykknwa Holy roman empire hruxxanackrormnxnskdisiththi micuderimtncakkaraebngxanackrormnepn 2 swn chnephaeyxrmnnikekhamatngthinthaninekhtkhxngxanackrormnidxyangesri ckrphrrdiormntawntkkhnsudthaythukokhn chnephaeyxrmnekhamayudkhrxngrwmthngphyayamsubsanwthnthrrmkhxngdrmnaelasasnakhrist phraecacharelxmayidsrangxanackreyxrmnnikthiyingihythisudaelaidrbmngkudcakphrasntapapaihepnckrphrrdiyukhklangchwngplaymikarfunfukareriynrucakyukhmud Dark Ages inchwngplaystwrrsthi 11 rwmipthungkarthaythxdkhwamruaelakarkhnphbekiywkbyukhobranknihm sungemuxeriminstwrrsthi 12 idmikarklbipsuksaprchyakhxng xrisotetil aetkhwamruinsmynnyngmipyhakhdaeyngkbkhwamechuxkhxngkhristsasnainyukhnn thaihsasnckrekidkarpxngkntnexngmakkhunaelankprchyahnehkhwamsnicinkariphakhwamruthangolkmayingkhun 15 16 smyihm Modern Ages and Contemporary aekikhyukhswangthangphumipyya chwngplaystwrrsthi 14 yukhsmyklangerimhdtwthxyhlngaelakhxyhayipcakprawtisastr aelaerimepliynolkekhasuyukhfunfusilpwithya karfunfuerimtnthipraethsxitaliepnaehngaerknbtngaetyukhckrwrrdiormnlmslayinchwngstwrrsthi 6 mikarekidchnchnklangthimikhwammngkhngthaihprachachncanwnmakmikardarngchiwitthidikhun miewlawanginkarthakickrrmruneringaelamikhunkhathangsilpwithyakar klumpyyachnhnmasnicinkarsuksawrrnkhdi phasa silpaelawthnthrrmkhxngkhninsmykrikaelaormn kartuntwinkarsuksaechnniepncuderimtnkhxngkhwamkhidihmnanpkar inchwngstwrrsthi 17 ekidepnyukhswangthangpyya mikarecriykawhnaaelaetibotkhunthangwichakar aenwkhidsakhyinyukhsmynikhuxkhwamechuxtxsiththixanacaebbpraephniniymineruxngkaremuxngaelasasnaesuxmthxylng khwamechuxaelakarekharphsungehtuaelaphlepnhlkinkarbngbxkthungkhunsmbtikhxngmnusy nganekhiynthisathxnkhwamkhidyukhnikhuxnganekhiynkhxng wxlaet infrngessaela khanth ineyxrmni yukhsmyniyngthuxepncuderimtnkhxngaenwkhidaebbesriniym saklniymodyaeykolkkhxngkhrawasxxkcaksasnaaelakartxtansiththixanaceddkhad Anti Authoritarian caehnidcakngankhxng khanth ephn aelarusos 17 18 karekidkhunkhxngrthsmyihm rthsmyihmmikhwamepnmacakarthirthkhrawas erimmibthbathaelaxanacephimmakkhunswnthangkbsasnckr kstriythiekhmaekhngaelamipraethsxyuinphumisastrthiidepriybtngtnepnihy khxethccringkhxngkarmixanacthiekidkhunechnnisathxnaenwkhwamkhidwa xanackrimcaepntxngxyuphayitxantikhxngsasnckrhruxxyuitxanacthangolkxunxiktxip xanackrmisthanaihmepnrth State mikhunkhaintwexngimkhuntxphuid nkkhidphyayamykyxngxanacswnklangkhxngrthihepnxanacinkarpkpxngpraethschati 19 nkprchyakhwamkhidthangkaremuxnginyukhsmytang aekikhsmyobran Antiquity oskratis Socrates 469 399 B C phlaot ephlot Plato 429 348 B C xrisotetil Aristotle 384 322 B C exphikhiwrssiesor Cicero 106 43 B C xxkstin Augustine 354 430 smyklang Middle Ages hrux Mediaeval othms xikhwns Thomas Aquinas 1226 1274 smyihm Modern Ages and Contemporary huok okrechiys Hugo Grotius 1583 1645 othms hxbs Thomas Hobbes 1588 1679 samuexl puefndxrf Samuel Pufendorf 1632 1694 cxhn lxkh John Locke 1632 1704 mxngetskiexxr Montesquieu 1689 1755 khrisetiyn othmasixus Christian Thomasius 1655 1728 chxng chkh rusos Jean jacques Rousseau 1712 1778 ximmanuexl khanth Immanuel Kant 1724 1804 xadm smith Adam Smith 1723 1790 othms orebirt mlths Thomas Robert Malthus 1766 1834 xangxing aekikh phisisthikul aekwngam exksarprakxbkarbrryaywichashwithyakarsngkhmsastr mth 120 mhawithyalythrrmsastr 2550 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 pp 10 11 phisisthikul aekwngam exksarprakxbkarbrryaywichashwithyakarsngkhmsastr mth 120 mhawithyalythrrmsastr 2550 sukhum nwlskul aela oksl orcnphnthu Political Theories I mhawithyalyramkhaaehng phimphkhrngthi11 2548 hna1 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna22 23 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 hna86 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 hna89 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 hna94 95 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna42 43 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna44 47 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna47 49 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna55 56 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 bththi4 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 hna141 144 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna65 66 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 bththi5 withyakr echiyngkul prchyakaremuxng esrsthkic sngkhm sankphimphsaythar phimphkhrngthi4 2553 hna85 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 hna163 sastracary dr pridi eksmthrphy nitiprchya khnanitisastr mhawithyalythrrmsastr phimphkhrngthi10 2552 bththi6aehlngkhxmulxun xangxingephimetim aekikhkhwamkhidthangkaremuxngaebbtawntkcakoskratisthungyukhxudmkarn smnuk chuwiechiyr phuaepl krungethph exmaexlkhriexchnaexndphrinting 2548prawtiprchyakaremuxng liox setras aelaocesf khrxpsiy brrnathikar smbti cnthrwngs aepl krungethph khbif 2550Political philosophy sakhawicharthsastr mhawithyalysuokhthythrrmathirach krungethph sakhawicha 2527prchyatawntksmyihmbancxmyuthth prchyaolktawntk khwamruebuxngtnekiywkbprchyakaremuxng khnxng wngfayaekwxangxing aekikhduephim aekikhprawtisastr rthsastr prchyakaremuxng thvsdikaremuxng bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng amp oldid 7737903, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม