fbpx
วิกิพีเดีย

ผลงานของวอลแตร์

ผลงานของวอลแตร์สามารถจำแนกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้

ผลงานเกี่ยวกับปรัชญา ศาสนาและศีลธรรม (Les œuvres philosophiques)

ผลงานประเภทนี้ที่สำคัญ ได้แก่

  • Les Lettres philosophiques (1734)
  • Discours en vers sur l’homme (1736)
  • Traité sur la tolérance (1763)
  • Dictionnaire philosophique (1764)
  • Question sur l’Encyclopédie (1770 – 1772)

Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises (1734)

จดหมายปรัชญา หรือ จดหมายจากอังกฤษ ตีพิมพ์ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษที่กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1733 และปีต่อมาจึงตีพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศส ผลงานชิ้นนี้เขียนขึ้นในรูปแบบของจดหมายรวมทั้งสิ้น 25 ฉบับ ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่จะเล่าถึงสภาพสังคมของประเทศอังกฤษผ่านประสบการณ์ของตัววอลแตร์ โดยเขียนด้วยโวหารที่คมคายและสอดแทรกด้วยการเสียดสีถากถาง วอลแตร์ได้ใช้สภาพสังคมดังกล่าวเป็นเครื่องมือกระตุ้นให้ชาวฝรั่งเศสได้รู้จักถึงศาสนา เศรษฐกิจ การเมือง ปรัชญาและวัฒนธรรมของประเทศอังกฤษ แล้วนำมาเปรียบเทียบกับประเทศฝรั่งเศส ทำให้เห็นว่าประเทศฝรั่งเศสนั้นยังล้าสมัยอยู่ อีกทั้งเขายังต้องการให้เกิดความเท่าเทียมกันในการเสียภาษีระหว่างชนชั้นสามัญกับชนชั้นอภิสิทธิ์ ต้องการให้เกิดความสมดุลของอำนาจทางการเมือง และต้องการให้รัฐบาลส่งเสริมเสรีภาพด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์อีกด้วย ส่วนตอนท้ายของผลงานชิ้นนี้ วอลแตร์ได้กล่าววิจารณ์ ปาสกาล (Pascal) นักคิดคนสำคัญในศตวรรษที่ 17 อย่างดุเดือดในแง่ความเชื่อ ความศรัทธาในพระเจ้า เนื่องจากปาสคาลเห็นว่า “ความทุกข์ของมนุษย์จะเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์ปราศจากพระเจ้า และมนุษย์จะค้นพบความสุขได้เมื่อมีศรัทธาในพระเจ้า” ซึ่งแนวคิดนี้ได้ขัดแย้งกับความคิดด้านศาสนาของวอลแตร์โดยสิ้นเชิง อาจกล่าวได้ว่าผลงานชิ้นนี้ทำให้วอลแตร์ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก

Traité sur la Tolérance (1763)

บทความว่าด้วยขันติธรรม วอลแตร์เขียนขึ้นเพื่อต่อต้านความเชื่อที่งมงาย (la superstition) และความบ้าคลั่งทางศาสนา (le fanatisme religieux) เขาสนับสนุนให้มีเสรีภาพในการนับถือศาสนา ทั้งนี้เพื่อเรียกร้องให้เกิดความยุติธรรมแก่ครอบครัวของ ฌอง กาลาส (Jean Calas) ซึ่งนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ ผู้ซึ่งถูกลงโทษประหารชีวิตในข้อกล่าวหาว่าแขวนคอลูกชายของตนเองที่ต้องการจะเปลี่ยนไปนับถือคาทอลิก วอลแตร์เข้ามาช่วยเหลือโดยการเขียนบทความที่ลือชื่อ ต่อสู้เพื่อความบริสุทธิ์ของครอบครัวกาลาส เพราะเขาเห็นว่าคำกล่าวหานั้นเป็นเพียงข้ออ้างของสถาบันศาสนาที่จะโจมตีชาวโปรแตสแตนท์นั่นเอง และวอลแตร์ถือว่าไม่มีอะไรชั่วร้ายไปกว่าการลงโทษประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์

Dictionnaire philosophique (1764)

ปทานุกรมปรัชญา ผลงานชิ้นนี้ได้รวบรวมเอาการวิพากษ์วิจารณ์ของวอลแตร์ในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในด้านวรรณคดี ปรัชญา ศาสนา การเมือง และสังคม ซึ่งเป็นการเผยแพร่ความคิดของเขาในเรื่องที่เขาเห็นว่าไม่ถูกต้อง เช่น ความงมงายทางศาสนา ความเชื่อในเรื่องโชคลาง ไสยศาสตร์ ความไม่เป็นธรรมในกระบวนการตัดสินคดีความในศาล และความไม่ยุติธรรมในสังคม

ผลงานด้านประวัติศาสตร์ (Les œuvre historiques)

นอกจากเป็นนักเขียนและนักปรัชญาแล้ว วอลแตร์ยังเป็นนักประวัติศาสตร์อีกด้วย ซึ่งเขาได้วางหลักเกณฑ์การเขียนงานทางด้านนี้ไว้อย่างน่าสนใจ คือ การเขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไม่จำเป็นต้องพูดถึงแต่เรื่องราวของกษัตริย์และสงคราม แต่ควรที่จะสนใจทุก ๆ เรื่อง เช่น การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประเพณี และความคิดอ่านของคนในชาตินั้น ๆ ด้วย แนวความคิดหลักของเขาได้แก่ การติดตามวิวัฒนาการทางปัญญา วัฒนธรรมและอารยธรรมของมนุษยชาติจากสมัยเริ่มแรกที่มนุษย์ยังป่าเถื่อนจนกระทั่งกลายเป็นมนุษย์ที่มีวัฒนธรรมและอารยธรรม ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ วอลแตร์ได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นนักเขียนของเขามากกว่าความเป็นนักประวัติศาสตร์ กล่าวคือ เขาจะยึดหลักว่าจะต้องให้ผู้อ่านสนุกไปกับประวัติศาสตร์เสมือนกำลังอ่านนวนิยายหรือบทละครอยู่

อย่างไรก็ตาม วิธีการเขียนประวัติศาสตร์ของวอลแตร์มีความทันสมัยมาก คือ เขาทำการค้นคว้าหาข้อมูลทางเอกสาร และรวบรวมหลักฐานเป็นจำนวนมาก เพื่อนำมาตรวจสอบหาข้อเท็จจริงด้วยการใช้ปัญญาและเหตุผลเพื่อวิเคราะห์และวิพากษ์ด้วย

ผลงานประเภทนี้ที่สำคัญ ได้แก่

  • Histoire de Charles XII (1731)
  • Le Siècle de Louis XIV (1751)
  • Essai sur les mœurs et l’esprit des nations (1756)

Histoire de Charles XII (1731)

เป็นผลงานประเภทโศกนาฏกรรมร้อยแก้ว ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระราชประวัติของพระเจ้าชาร์ลที่ 12 แห่งประเทศสวีเดน และถือว่าเป็นผลงานเชิงประวัติศาสตร์ชิ้นแรกของ วอลแตร์ โดยเนื้อเรื่องแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรกกล่าวถึงการก้าวขึ้นสู่อำนาจของพระเจ้าชาร์ลที่ 12 ด้วยการพิชิตศัตรูจนราบคาบ ส่วนในครึ่งหลังกล่าวถึงการรตกต่ำและการสูญเสียอำนาจของพระเจ้าชาร์ลที่ 12 วอลแตร์ได้ใช้การบรรยายเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นโดยเฉพาะการเล่าเรื่องสงคราม นอกจากนั้น เขายังพยามยามที่จะชี้ให้บรรดากษัตริย์ร่วมสมัยของเขาเห็นถึงความผกผันของอำนาจวาสนาและผลร้ายของการคลั่งอำนาจอีกด้วย

Le Siècle de Louis XIV (1751)

ผลงานชิ้นนี้ถือว่าเป็นวิวัฒนาการก้าวใหม่ของการเขียนงานเชิงประวัติศาสตร์ เนื่องจากก่อนหน้านี้ประวัติศาสตร์เป็นเพียงพงศาวดารที่บันทึกเหตุการต่าง ๆ โดยปราศจากการวิเคราะห์ และกล่าวถึงเฉพาะการยกย่องกษัตริย์และสงคราม ซึ่งต่างกับผลงานชิ้นนี้ของวอลแตร์ที่ให้ความสำคัญเป็นอย่างมากต่อข้อเท็จจริง เคร่งครัดกับลำดับเหตุการณ์ มีการรวบรวมเอกสารจำนวนมากเพื่อนำมาตรวจสอบหาข้อเท็จจริงโดยการวิเคราะห์วิจารณ์ และมิได้ให้ความสำคัญกับบทบาทของกษัตริย์และสงครามแต่เพียงอย่างเดียว แต่เขาได้ให้ความสำคัญแก่นโยบายการปกครอง กฎหมาย ระบบตุลาการ การพาณิชย์ ศาสนา และศิลปะวิทยา อีกด้วย

อาจกล่าวได้ว่าผลงานชิ้นนี้เป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญมากอีกชิ้นหนึ่ง เพราะเป็นหลักฐานที่ทำให้เราสามารถศึกษาเรื่องราวในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้เป็นอย่างดี ความตั้งใจแรกของวอลแตร์คือ เขาตั้งใจที่จะวิพากษ์วิจารณ์รัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 15 ทางอ้อม โดยการอาศัยการเปรียบเทียบกับรัชสมัยอันรุ่งโรจน์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แต่เมื่อได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ แล้ว ความตั้งใจเดิมก็เปลี่ยนไป เนื้อหาโดยรวมวอลแตร์ได้วิเคราะห์ถึงราชสำนัก รัฐบาล ศิลปะ ปัญหาทางศาสนาในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แนวความคิดของผลงานชิ้นนี้คือ “ราชาผู้รู้แจ้ง” เท่านั้นที่จะนำมาซึ่งความสงบสุขความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและศิลปะวิทยาการในประเทศฝรั่งเศส ดังนั้นเราอาจสรุปได้ว่าศตวรรษของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นยุคที่มีความสำคัญต่อการสร้างสรรค์อารยธรรมของมนุษย์อย่างแท้จริง

Essai sur les mœurs et l’esprit des nations (1756)

ความเรียงว่าด้วยเรื่องขนบธรรมเนียมประเพณี วอลแตร์ได้ชี้ให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางด้านวัตถุ วิทยาศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทั้งในโลกตะวันตกและตะวันออก เขาได้เน้นถึงความสำคัญของจารีตประเพณี ความเชื่อของคนในสังคม และชี้ให้เห็นถึงความเป็นเอกภาพที่อยู่ในส่วนลึกของธรรมชาติมนุษย์ที่อยู่ในทุกแห่งหน อย่างไรก็ตาม เขาก็ยังยึดมั่นที่จะประณามความบ้าคลั่งทางศาสนาเช่นเดิม แต่ก็มีสิ่งใหม่ 2 ประการในผลงานทางประวัติศาสตร์ชิ้นนี้ คือ ประการแรก วอลแตร์เน้นว่าความบังเอิญเป็นตัวการที่ช่วยคลี่คลายเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ได้ ประการที่สองคือ เขาได้เน้นให้เห็นถึงบทบาทของมหาบุรุษ เช่น พระเจ้าชาร์ลมาญ (Charlemagne) ว่าเป็นผู้นำมนุษย์ไปสู่ความก้าวหน้าทางวิทยาการและอารยธรรม

จดหมาย (La correspondance)

จดหมายของวอลแตร์ จัดได้ว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่ไม่ด้อยไปกว่าผลงานประเภทอื่นๆ วอลแตร์เขียนจดหมายติดต่อกับผู้คนทั่วทั้งยุโรป รวมถึงกษัตริย์และขุนนางผู้มีอำนาจ จดหมายของเขามีจำนวนมากกว่า 10,000 ฉบับ จดหมายเหล่านี้ได้แสดงถึงเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นตลอดศตวรรษที่ 18 รวมถึงการถกปัญหาต่าง ๆ ซึ่งสามารถนำมาเป็นหลักฐานเพื่อศึกษาเรื่องราวในสมัยนั้นได้

กวีนิพนธ์ (Les œuvres poétiques)

นอกจากวอลแตร์จะได้ชื่อว่าเป็นนักปรัชญา นักประวัติศาสตร์ นักเขียนบทละครและนักเล่านิทานแล้ว ในด้านกวีนิพนธ์ เขาก็ได้ชื่อว่าเป็นกวีคนหนึ่งที่มีชื่อเสียงเช่นกัน งานเขียนประเภทนี้มีอยู่หลายชนิดด้วยกัน ทั้งกวีประเภทแสดงความรู้สึก (Lyrique) และแม้แต่มหากาพย์ (Epique)

ผลงานประเภทนี้ที่สำคัญ ได้แก่

  • La Henriade (1728)
  • Poème sur le désastre de Lisbonne (1756)

La Henriade (1728)

มหากาพย์ La Henriade บทกลอนขนาดยาวที่วอลแตร์แต่งขึ้นขณะที่ถูกขังที่คุกบาสตีย์ เพื่อสดุดีพระเจ้าเฮนรี่ที่ 4 (Henri IV) แห่งฝรั่งเศส ในฐานะกษัตริย์ที่ทรงขันติธรรมในด้านศาสนา คือทรงเป็นผู้บัญญัติ “L’Edit de Nantes” ซึ่งเป็นกฎหมายที่ช่วยให้สงครามระหว่างพวกคาทอลิกและโปรแตสแตนท์ยุติลงได้ วอลแตร์ได้โจมตีความบ้าคลั่งทางศาสนา ซึ่งได้มากระทบวิถีชีวิตของกษัตริย์ผู้กล้าพระองค์นี้อีกด้วย

Poème sur le désastre de Lisbonne (1756)

บทกวีว่าด้วยภัยพิบัติที่เมืองลิสบอนน์‘ เป็นบทกวีที่วอลแตร์เขียนเมื่อทราบข่าวแผ่นดินไหวในเมืองลิสบอนน์ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1755 ซึ่งแผ่นดินไหวครั้งนี้ก่อให้เกิดอัคคีภัยครั้งใหญ่ ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 25,000 คน เขารู้สึกสะเทือนใจกับเหตุการณ์ครั้งนี้มาก เขาจึงเขียนบทกวีนี้เพื่อกล่าวประณามโชคชะตา (La providence) หรือพระผู้เป็นเจ้า รวมถึงความเชื่อทางศาสนาในสมัยนั้นว่า “ทุกสิ่งทุกอย่างที่พระเจ้าประทานเป็นไปด้วยดี“ กล่าวได้ว่าบทกวีนี้ทำให้วงการศาสนจักรสั่นสะเทือน อย่างไรก็ตามวอลแตร์ไม่สามารถเป็นกวีที่ยิ่งใหญ่ได้เพราะขาดจินตนาการอ่อนไหวและคอยที่จะเสียดสีโจมตีผู้อื่น

บทละคร (Les œuvres dramatiques)

อาจกล่าวได้ว่า วอลแตร์เปรียบเสมือนตัวแทนของการเขียนบทละครโศกนาฏกรรมแนวคลาสสิกของศตวรรษที่ 18 แม้ว่าบทละครโศกนาฏกรรมจะเป็นผลงานด้านวรรณคดีที่ส่งผลให้เขาเป็นที่รู้จักและมีฐานะเทียบเท่ากอร์เนย (Corneille) และราซีน (Racine) นักเขียนบทละครโศกนาฏกรรมที่ยิ่งใหญ่แห่งศตวรรษที่ 17 แต่เขาก็ไม่ประสบความสำเร็จในด้านนี้นัก เนื่องจากเขาต้องการใช้บทละครของเขาเป็นเครื่องมือในการเผยแพร่ความคิดทางปรัชญาของเขา บทละครส่วนใหญ่ของเขาจึงมีเนื้อหาที่แสดงให้เห็นถึงการปลุกสำนึกสังคมในด้านการเมือง ศาสนาและศีลธรรม และเขายังสอดแทรกความคิดเสียดสีโจมตีผู้อื่นมากเกินไปอีกด้วย อย่างไรก็ตามสำหรับวงการละครฝรั่งเศสนั้น วอลแตร์นับว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญ ทั้งในฐานะนักประพันธ์และผู้ที่มีบทบาทต่อการแสดงละครเวทีฝรั่งเศส

ผลงานประเภทนี้ที่สำคัญ ได้แก่

  • Œdipe (1718)
  • Zaïre (1732)
  • Mohamet (1742)
  • Mérope (1743)

ในที่นี้ขอกล่าวถึงเรื่องที่โดดเด่น คือ

Œdipe (1718)

บทละครโศกนาฏกรรมเรื่องนี้เป็นผลงานชิ้นแรกที่สร้างชื่อเสียงให้กับวอลแตร์เป็นอย่างมาก เขาเขียนขึ้นขณะที่อยู่ในคุกเพื่อต่อต้านความเชื่อทางศาสนา ความเชื่อเรื่องโชคเคราะห์และชะตาลิขิต และเพื่อเน้นความสำคัญของเสรีภาพของมนุษย์ โดยเป็นเรื่องราวของชายหนุ่มที่ชื่อ เออดิปป์ ซึ่งได้ฆ่าพ่อของตนเองที่ชื่อ ไลนัส ตาย และไปแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง นามว่าโจคาสต์ โดยมารู้ที่หลังว่าผู้หญิงคนนี้เป็นแม่ของเขาเอง ดังนั้นเขาจึงลงโทษตัวเองโดยการควักลูกตา และแม่ก็ฆ่าตัวตาย

Zaïre (1732)

บทละครโศกนาฏกรรมเรื่องนี้ของวอลแตร์ดัดแปลงบทละครมาจากเรื่อง โอเธลโล (Othello) ของเชคสเปียร์ เนื่องจากวอลแตร์มีความนิยมชมชอบละครของเชคสเปียร์ เขาจึงพยายามที่จะนำองค์ประกอบที่เขาเชื่อว่าดีในละครของเชคสเปียร์มาผสมผสานเข้ากับโศกนาฏกรรมแนวคลาสสิก ได้แก่ การแสดงอารมณ์ความรู้สึกอย่างรุนแรง เหตุการณ์อันน่าตื่นเต้น ฉากที่มีละครต่างถิ่น ตัวละคร แก่นเรื่อง การผูกเรื่อง ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่นอกกฎเกณฑ์เอกภาพแบบคลาสสิก

แก่นของละครเรื่องนี้คือ ความรัก จึงทำให้ละครเรื่องนี้ต่างออกไปจากลักษณะความเป็นโศกนาฏกรรมแนวคลาสสิก สำหรับละครเรื่องนี้ วอลแตร์ได้แสดงให้เห็นถึงอันตรายจากอารมณ์ที่รุนแรง ความหึงหวง จนนำไปสู่การฆ่าผู้อื่นและการฆ่าตัวตาย ผลงานชิ้นนี้ได้ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก

นิทานหรือนิยายเชิงปรัชญา (Les contes ou romans philosophiques)

นิทานนิยายเหล่านี้เป็นงานเขียนเชิงเสียดสี (Satirique) ที่วอลแตร์ใช้เป็นเครื่องมือเผยแพร่ความคิดทางปรัชญาเข้าสู่มหาชน อย่างไรก็ตามเขาก็มีความสามารถในการเล่านิทานเป็นอย่างดี คือ เนื้อเรื่องไม่ซับซ้อน สนุกแฝงอารมณ์ขัน ไม่น่าเบื่อและสามารถใส่รสชาติแก่คุณค่าของสิ่งที่มาจากต่างแดน ดังนั้นงานประเภทนี้เองที่ทำให้วอลแตร์กลายเป็นอมตะ นิทานแต่ละเรื่องจะมุ่งแสดงความคิดที่สำคัญที่สุดหนึ่งอย่างและพร้อมกันนั้นเขาก็เสียดสีและโจมตีสถาบันต่าง ๆ อีกด้วย โดยเฉพาะสถาบันศาสนาและกระบวนการยุติธรรม

นิทานปรัชญาของวอลแตร์ที่สำคัญและน่าสนใจมีอยู่หลายเรื่องด้วยกัน เช่น

  • Zadig (1747) แสดงให้เห็นถึงความไร้เหตุผลของชะตาลิขิต (La destinée) หรือพระเจ้า (La providence) ซึ่งขาดความยุติธรรม กล่าวคือ คนดียังต้องถูกลงโทษ คนชั่วกลับได้รับรางวัล
  • Micromégas (1752) กล่าวถึงความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง
  • Candide (1759) กล่าวได้ว่าเป็นนิทานปรัชญาชิ้นเอกของวอลแตร์ เขาได้โจมตีลัทธิสุทรรศนิยม (L’optimisme) ของ ไลบ์นิซ (Leibnitz) ซึ่งเป็นลัทธิที่สอนให้มนุษย์มองโลกในแง่ดีตลอดเวลา กล่าวคือ พระเจ้าไม่อาจสร้างโลกที่ดีพร้อมสมบูรณ์ได้ พระเจ้าจึงสร้างโลกให้มีความทุกข์ยากและความเลวร้าย ดังนั้นเมื่อมนุษย์ได้ผ่านพ้นเหตุการณ์อันเลวร้ายแล้ว ต่อมาก็จะมีความสุขและความดีที่ยิ่งใหญ่ก็จะตามมาเป็นเครื่องชดเชย
  • L’ingénu (1767) เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างธรรมชาติกับสังคม และความขาดขันติธรรมของคริสต์ศาสนา

จากผลงานโดยรวมแล้ว เราจะเห็นได้ว่าวอลแตร์พยายามสอดแทรกความคิดทางปรัชญาและการโจมตีเสียดสีต่าง ๆ ไว้มากมายในผลงานของเขาอยู่เสมอ จึงทำให้ผลงานวรรณกรรมบางด้านไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก อย่างไรก็ตาม เขาก็ได้ทำให้ชาวฝรั่งเศสในสมัยนั้นมีความคิดตามและความคิดกว้างขึ้นจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลาย ๆ ด้านในเวลาต่อมา

Zadig ou la destinée

นิยายปรัชญาเรื่องซาดิก หรือชะตาลิขิต นับเป็นผลงานชิ้นเอกชิ้นหนึ่งของวอลแตร์เช่นกัน ซึ่งผลงานชิ้นนี้มีชื่อเสียงมากพอกับนิยายปรัชญาเรื่องอื่น ๆ แห่งยุค วอลแตร์ได้อาศัยจินตนาการจากนิยายตะวันออก ทั้งนี้เพื่อง่ายต่อการเสียดสีและวิจารณ์สังคมฝรั่งเศสสมัยนั้น ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า นิยายปรัชญาเรื่องซาดิกนี้เขาได้แรงบันดาลใจจากชะตาชีวิตที่ผกผันของเขาในราชสำนักระหว่างปีค.ศ. 1743 - 1747 ที่เกิดจากประสบการณ์อันขมขื่นของวอลแตร์ในราชสำนักแวร์ซาย (Versailles) ก็คงไม่ผิด เนื่องจากในเรื่องนี้วอลแตร์ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ของตัวเองผ่านตัวละครเอกของเรื่อง ซึ่งก็คือ ซาดิก

Candide ou l’optimisme

ปรัชญานิยายเรื่องก็องดิดด์ ถือเป็นเรื่องแต่งร้อยแก้วชิ้นเอกของวอลแตร์ ผลงานชิ้นนี้ได้ยืนยันความเป็นปราชญ์ของเขา ผู้ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความคิดวิพากษ์วิจารณ์ในศตวรรษที่ 18 ได้เป็นอย่างดี

วอลแตร์ใช้นิทานของเขาเป็นสื่อการแสดงความเป็นไปในโลกนี้ เขามักจะแสดงความคิดเห็นผ่านทางตัวละครในนิยายและแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นของเขาต่อสังคมในทุก ๆ ด้านผ่านตัวละครเอกในเรื่อง ซึ่งเรื่องนี้เป็นเสมือนภาพสะท้อนชีวิตของวอลแตร์และเป็นผลงานชิ้นสำคัญที่เขาได้แสดงทัศนะและความรู้สึกของเขาได้เป็นอย่างดี

ผลงานของวอลแตร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, บทความน, อาจต, องการต. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidphlngankhxngwxlaetrsamarthcaaenkepnpraephthtang iddngni enuxha 1 phlnganekiywkbprchya sasnaaelasilthrrm Les œuvres philosophiques 1 1 Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises 1734 1 2 Traite sur la Tolerance 1763 1 3 Dictionnaire philosophique 1764 2 phlngandanprawtisastr Les œuvre historiques 2 1 Histoire de Charles XII 1731 2 2 Le Siecle de Louis XIV 1751 2 3 Essai sur les mœurs et l esprit des nations 1756 3 cdhmay La correspondance 4 kwiniphnth Les œuvres poetiques 4 1 La Henriade 1728 4 2 Poeme sur le desastre de Lisbonne 1756 5 bthlakhr Les œuvres dramatiques 5 1 Œdipe 1718 5 2 Zaire 1732 6 nithanhruxniyayechingprchya Les contes ou romans philosophiques 7 Zadig ou la destinee 8 Candide ou l optimismephlnganekiywkbprchya sasnaaelasilthrrm Les œuvres philosophiques aekikhphlnganpraephthnithisakhy idaek Les Lettres philosophiques 1734 Discours en vers sur l homme 1736 Traite sur la tolerance 1763 Dictionnaire philosophique 1764 Question sur l Encyclopedie 1770 1772 Les Lettres philosophiques ou Lettres anglaises 1734 aekikh cdhmayprchya hrux cdhmaycakxngkvs tiphimphkhrngaerkepnphasaxngkvsthikrunglxndxn emuxpi kh s 1733 aelapitxmacungtiphimphepnphasafrngess phlnganchinniekhiynkhuninrupaebbkhxngcdhmayrwmthngsin 25 chbb sungenuxhaswnihycaelathungsphaphsngkhmkhxngpraethsxngkvsphanprasbkarnkhxngtwwxlaetr odyekhiyndwyowharthikhmkhayaelasxdaethrkdwykaresiydsithakthang wxlaetridichsphaphsngkhmdngklawepnekhruxngmuxkratunihchawfrngessidruckthungsasna esrsthkic karemuxng prchyaaelawthnthrrmkhxngpraethsxngkvs aelwnamaepriybethiybkbpraethsfrngess thaihehnwapraethsfrngessnnynglasmyxyu xikthngekhayngtxngkarihekidkhwamethaethiymkninkaresiyphasirahwangchnchnsamykbchnchnxphisiththi txngkarihekidkhwamsmdulkhxngxanacthangkaremuxng aelatxngkarihrthbalsngesrimesriphaphdansilpaaelawithyasastrxikdwy swntxnthaykhxngphlnganchinni wxlaetridklawwicarn paskal Pascal nkkhidkhnsakhyinstwrrsthi 17 xyangdueduxdinaengkhwamechux khwamsrththainphraeca enuxngcakpaskhalehnwa khwamthukkhkhxngmnusycaekidkhunemuxmnusyprascakphraeca aelamnusycakhnphbkhwamsukhidemuxmisrththainphraeca sungaenwkhidniidkhdaeyngkbkhwamkhiddansasnakhxngwxlaetrodysineching xacklawidwaphlnganchinnithaihwxlaetrprasbkhwamsaercepnxyangmak Traite sur la Tolerance 1763 aekikh bthkhwamwadwykhntithrrm wxlaetrekhiynkhunephuxtxtankhwamechuxthingmngay la superstition aelakhwambakhlngthangsasna le fanatisme religieux ekhasnbsnunihmiesriphaphinkarnbthuxsasna thngniephuxeriykrxngihekidkhwamyutithrrmaekkhrxbkhrwkhxng chxng kalas Jean Calas sungnbthuxsasnakhristnikayopretsaetnth phusungthuklngothspraharchiwitinkhxklawhawaaekhwnkhxlukchaykhxngtnexngthitxngkarcaepliynipnbthuxkhathxlik wxlaetrekhamachwyehluxodykarekhiynbthkhwamthiluxchux txsuephuxkhwambrisuththikhxngkhrxbkhrwkalas ephraaekhaehnwakhaklawhannepnephiyngkhxxangkhxngsthabnsasnathicaocmtichawopraetsaetnthnnexng aelawxlaetrthuxwaimmixairchwrayipkwakarlngothspraharchiwitphubrisuththi Dictionnaire philosophique 1764 aekikh pthanukrmprchya phlnganchinniidrwbrwmexakarwiphakswicarnkhxngwxlaetrindantang imwacaepnindanwrrnkhdi prchya sasna karemuxng aelasngkhm sungepnkarephyaephrkhwamkhidkhxngekhaineruxngthiekhaehnwaimthuktxng echn khwamngmngaythangsasna khwamechuxineruxngochkhlang isysastr khwamimepnthrrminkrabwnkartdsinkhdikhwaminsal aelakhwamimyutithrrminsngkhmphlngandanprawtisastr Les œuvre historiques aekikhnxkcakepnnkekhiynaelankprchyaaelw wxlaetryngepnnkprawtisastrxikdwy sungekhaidwanghlkeknthkarekhiynnganthangdanniiwxyangnasnic khux karekhiynekiywkbprawtisastrimcaepntxngphudthungaeteruxngrawkhxngkstriyaelasngkhram aetkhwrthicasnicthuk eruxng echn karemuxng esrsthkic sngkhm wthnthrrmpraephni aelakhwamkhidxankhxngkhninchatinn dwy aenwkhwamkhidhlkkhxngekhaidaek kartidtamwiwthnakarthangpyya wthnthrrmaelaxarythrrmkhxngmnusychaticaksmyerimaerkthimnusyyngpaethuxncnkrathngklayepnmnusythimiwthnthrrmaelaxarythrrm khxsngektxikprakarhnungkhux wxlaetridaesdngihehnthungkhwamepnnkekhiynkhxngekhamakkwakhwamepnnkprawtisastr klawkhux ekhacayudhlkwacatxngihphuxansnukipkbprawtisastresmuxnkalngxannwniyayhruxbthlakhrxyuxyangirktam withikarekhiynprawtisastrkhxngwxlaetrmikhwamthnsmymak khux ekhathakarkhnkhwahakhxmulthangexksar aelarwbrwmhlkthanepncanwnmak ephuxnamatrwcsxbhakhxethccringdwykarichpyyaaelaehtuphlephuxwiekhraahaelawiphaksdwyphlnganpraephthnithisakhy idaek Histoire de Charles XII 1731 Le Siecle de Louis XIV 1751 Essai sur les mœurs et l esprit des nations 1756 Histoire de Charles XII 1731 aekikh epnphlnganpraephthosknatkrrmrxyaekw sungepneruxngekiywkbphrarachprawtikhxngphraecacharlthi 12 aehngpraethsswiedn aelathuxwaepnphlnganechingprawtisastrchinaerkkhxng wxlaetr odyenuxeruxngaebngepn 2 swn khux swnaerkklawthungkarkawkhunsuxanackhxngphraecacharlthi 12 dwykarphichitstrucnrabkhab swninkhrunghlngklawthungkarrtktaaelakarsuyesiyxanackhxngphraecacharlthi 12 wxlaetridichkarbrryayehtukarnthinatunetnodyechphaakarelaeruxngsngkhram nxkcaknn ekhayngphyamyamthicachiihbrrdakstriyrwmsmykhxngekhaehnthungkhwamphkphnkhxngxanacwasnaaelaphlraykhxngkarkhlngxanacxikdwy Le Siecle de Louis XIV 1751 aekikh phlnganchinnithuxwaepnwiwthnakarkawihmkhxngkarekhiynnganechingprawtisastr enuxngcakkxnhnaniprawtisastrepnephiyngphngsawdarthibnthukehtukartang odyprascakkarwiekhraah aelaklawthungechphaakarykyxngkstriyaelasngkhram sungtangkbphlnganchinnikhxngwxlaetrthiihkhwamsakhyepnxyangmaktxkhxethccring ekhrngkhrdkbladbehtukarn mikarrwbrwmexksarcanwnmakephuxnamatrwcsxbhakhxethccringodykarwiekhraahwicarn aelamiidihkhwamsakhykbbthbathkhxngkstriyaelasngkhramaetephiyngxyangediyw aetekhaidihkhwamsakhyaeknoybaykarpkkhrxng kdhmay rabbtulakar karphanichy sasna aelasilpawithya xikdwyxacklawidwaphlnganchinniepnexksarthangprawtisastrthisakhymakxikchinhnung ephraaepnhlkthanthithaiherasamarthsuksaeruxngrawinkhriststwrrsthi 17 idepnxyangdi khwamtngicaerkkhxngwxlaetrkhux ekhatngicthicawiphakswicarnrchsmykhxngphraecahluysthi 15 thangxxm odykarxasykarepriybethiybkbrchsmyxnrungorcnkhxngphraecahluysthi 14 aetemuxidthakarwiekhraahkhxmultang aelw khwamtngicedimkepliynip enuxhaodyrwmwxlaetridwiekhraahthungrachsank rthbal silpa pyhathangsasnainrchsmykhxngphraecahluysthi 14 aenwkhwamkhidkhxngphlnganchinnikhux rachaphuruaecng ethannthicanamasungkhwamsngbsukhkhwamecriyrungeruxngthangesrsthkicaelasilpawithyakarinpraethsfrngess dngnneraxacsrupidwastwrrskhxngphraecahluysthi 14 epnyukhthimikhwamsakhytxkarsrangsrrkhxarythrrmkhxngmnusyxyangaethcring Essai sur les mœurs et l esprit des nations 1756 aekikh khwameriyngwadwyeruxngkhnbthrrmeniympraephni wxlaetridchiihehnthungkhwamkawhnathangdanwtthu withyasastraelasilpwthnthrrmthnginolktawntkaelatawnxxk ekhaidennthungkhwamsakhykhxngcaritpraephni khwamechuxkhxngkhninsngkhm aelachiihehnthungkhwamepnexkphaphthixyuinswnlukkhxngthrrmchatimnusythixyuinthukaehnghn xyangirktam ekhakyngyudmnthicapranamkhwambakhlngthangsasnaechnedim aetkmisingihm 2 prakarinphlnganthangprawtisastrchinni khux prakaraerk wxlaetrennwakhwambngexiyepntwkarthichwykhlikhlayehtukarninprawtisastrid prakarthisxngkhux ekhaidennihehnthungbthbathkhxngmhaburus echn phraecacharlmay Charlemagne waepnphunamnusyipsukhwamkawhnathangwithyakaraelaxarythrrmcdhmay La correspondance aekikhcdhmaykhxngwxlaetr cdidwaepnwrrnkrrmchinsakhythiimdxyipkwaphlnganpraephthxun wxlaetrekhiyncdhmaytidtxkbphukhnthwthngyuorp rwmthungkstriyaelakhunnangphumixanac cdhmaykhxngekhamicanwnmakkwa 10 000 chbb cdhmayehlaniidaesdngthungehtukarnsakhythiekidkhuntlxdstwrrsthi 18 rwmthungkarthkpyhatang sungsamarthnamaepnhlkthanephuxsuksaeruxngrawinsmynnidkwiniphnth Les œuvres poetiques aekikhnxkcakwxlaetrcaidchuxwaepnnkprchya nkprawtisastr nkekhiynbthlakhraelankelanithanaelw indankwiniphnth ekhakidchuxwaepnkwikhnhnungthimichuxesiyngechnkn nganekhiynpraephthnimixyuhlaychniddwykn thngkwipraephthaesdngkhwamrusuk Lyrique aelaaemaetmhakaphy Epique phlnganpraephthnithisakhy idaek La Henriade 1728 Poeme sur le desastre de Lisbonne 1756 La Henriade 1728 aekikh mhakaphy La Henriade bthklxnkhnadyawthiwxlaetraetngkhunkhnathithukkhngthikhukbastiy ephuxsdudiphraecaehnrithi 4 Henri IV aehngfrngess inthanakstriythithrngkhntithrrmindansasna khuxthrngepnphubyyti L Edit de Nantes sungepnkdhmaythichwyihsngkhramrahwangphwkkhathxlikaelaopraetsaetnthyutilngid wxlaetridocmtikhwambakhlngthangsasna sungidmakrathbwithichiwitkhxngkstriyphuklaphraxngkhnixikdwy Poeme sur le desastre de Lisbonne 1756 aekikh bthkwiwadwyphyphibtithiemuxnglisbxnn epnbthkwithiwxlaetrekhiynemuxthrabkhawaephndinihwinemuxnglisbxnn emuxwnthi 1 phvscikayn kh s 1755 sungaephndinihwkhrngnikxihekidxkhkhiphykhrngihy thaihmiphuesiychiwitpraman 25 000 khn ekharusuksaethuxnickbehtukarnkhrngnimak ekhacungekhiynbthkwiniephuxklawpranamochkhchata La providence hruxphraphuepneca rwmthungkhwamechuxthangsasnainsmynnwa thuksingthukxyangthiphraecaprathanepnipdwydi klawidwabthkwinithaihwngkarsasnckrsnsaethuxn xyangirktamwxlaetrimsamarthepnkwithiyingihyidephraakhadcintnakarxxnihwaelakhxythicaesiydsiocmtiphuxunbthlakhr Les œuvres dramatiques aekikhxacklawidwa wxlaetrepriybesmuxntwaethnkhxngkarekhiynbthlakhrosknatkrrmaenwkhlassikkhxngstwrrsthi 18 aemwabthlakhrosknatkrrmcaepnphlngandanwrrnkhdithisngphlihekhaepnthiruckaelamithanaethiybethakxreny Corneille aelarasin Racine nkekhiynbthlakhrosknatkrrmthiyingihyaehngstwrrsthi 17 aetekhakimprasbkhwamsaercindannink enuxngcakekhatxngkarichbthlakhrkhxngekhaepnekhruxngmuxinkarephyaephrkhwamkhidthangprchyakhxngekha bthlakhrswnihykhxngekhacungmienuxhathiaesdngihehnthungkarpluksanuksngkhmindankaremuxng sasnaaelasilthrrm aelaekhayngsxdaethrkkhwamkhidesiydsiocmtiphuxunmakekinipxikdwy xyangirktamsahrbwngkarlakhrfrngessnn wxlaetrnbwaepnphuthimibthbathsakhy thnginthanankpraphnthaelaphuthimibthbathtxkaraesdnglakhrewthifrngessphlnganpraephthnithisakhy idaek Œdipe 1718 Zaire 1732 Mohamet 1742 Merope 1743 inthinikhxklawthungeruxngthioddedn khux Œdipe 1718 aekikh bthlakhrosknatkrrmeruxngniepnphlnganchinaerkthisrangchuxesiyngihkbwxlaetrepnxyangmak ekhaekhiynkhunkhnathixyuinkhukephuxtxtankhwamechuxthangsasna khwamechuxeruxngochkhekhraahaelachatalikhit aelaephuxennkhwamsakhykhxngesriphaphkhxngmnusy odyepneruxngrawkhxngchayhnumthichux exxdipp sungidkhaphxkhxngtnexngthichux ilns tay aelaipaetngngankbhyingkhnhnung namwaockhast odymaruthihlngwaphuhyingkhnniepnaemkhxngekhaexng dngnnekhacunglngothstwexngodykarkhwklukta aelaaemkkhatwtay Zaire 1732 aekikh bthlakhrosknatkrrmeruxngnikhxngwxlaetrddaeplngbthlakhrmacakeruxng oxethlol Othello khxngechkhsepiyr enuxngcakwxlaetrmikhwamniymchmchxblakhrkhxngechkhsepiyr ekhacungphyayamthicanaxngkhprakxbthiekhaechuxwadiinlakhrkhxngechkhsepiyrmaphsmphsanekhakbosknatkrrmaenwkhlassik idaek karaesdngxarmnkhwamrusukxyangrunaerng ehtukarnxnnatunetn chakthimilakhrtangthin twlakhr aekneruxng karphukeruxng sungxngkhprakxbehlaniepnsingthixyunxkkdeknthexkphaphaebbkhlassikaeknkhxnglakhreruxngnikhux khwamrk cungthaihlakhreruxngnitangxxkipcaklksnakhwamepnosknatkrrmaenwkhlassik sahrblakhreruxngni wxlaetridaesdngihehnthungxntraycakxarmnthirunaerng khwamhunghwng cnnaipsukarkhaphuxunaelakarkhatwtay phlnganchinniidprasbkhwamsaercepnxyangmaknithanhruxniyayechingprchya Les contes ou romans philosophiques aekikhnithanniyayehlaniepnnganekhiynechingesiydsi Satirique thiwxlaetrichepnekhruxngmuxephyaephrkhwamkhidthangprchyaekhasumhachn xyangirktamekhakmikhwamsamarthinkarelanithanepnxyangdi khux enuxeruxngimsbsxn snukaefngxarmnkhn imnaebuxaelasamarthisrschatiaekkhunkhakhxngsingthimacaktangaedn dngnnnganpraephthniexngthithaihwxlaetrklayepnxmta nithanaetlaeruxngcamungaesdngkhwamkhidthisakhythisudhnungxyangaelaphrxmknnnekhakesiydsiaelaocmtisthabntang xikdwy odyechphaasthabnsasnaaelakrabwnkaryutithrrmnithanprchyakhxngwxlaetrthisakhyaelanasnicmixyuhlayeruxngdwykn echn Zadig 1747 aesdngihehnthungkhwamirehtuphlkhxngchatalikhit La destinee hruxphraeca La providence sungkhadkhwamyutithrrm klawkhux khndiyngtxngthuklngoths khnchwklbidrbrangwl Micromegas 1752 klawthungkhwamsmphnthkhxngsrrphsing Candide 1759 klawidwaepnnithanprchyachinexkkhxngwxlaetr ekhaidocmtilththisuthrrsniym L optimisme khxng ilbnis Leibnitz sungepnlththithisxnihmnusymxngolkinaengditlxdewla klawkhux phraecaimxacsrangolkthidiphrxmsmburnid phraecacungsrangolkihmikhwamthukkhyakaelakhwamelwray dngnnemuxmnusyidphanphnehtukarnxnelwrayaelw txmakcamikhwamsukhaelakhwamdithiyingihykcatammaepnekhruxngchdechy L ingenu 1767 epneruxngrawthiekiywkbkhwamkhdaeyngrahwangthrrmchatikbsngkhm aelakhwamkhadkhntithrrmkhxngkhristsasnacakphlnganodyrwmaelw eracaehnidwawxlaetrphyayamsxdaethrkkhwamkhidthangprchyaaelakarocmtiesiydsitang iwmakmayinphlngankhxngekhaxyuesmx cungthaihphlnganwrrnkrrmbangdanimprasbkhwamsaercethaidnk xyangirktam ekhakidthaihchawfrngessinsmynnmikhwamkhidtamaelakhwamkhidkwangkhuncnthaihekidkarepliynaeplnginhlay daninewlatxmaZadig ou la destinee aekikhniyayprchyaeruxngsadik hruxchatalikhit nbepnphlnganchinexkchinhnungkhxngwxlaetrechnkn sungphlnganchinnimichuxesiyngmakphxkbniyayprchyaeruxngxun aehngyukh wxlaetridxasycintnakarcakniyaytawnxxk thngniephuxngaytxkaresiydsiaelawicarnsngkhmfrngesssmynn dngnnxacklawidwa niyayprchyaeruxngsadikniekhaidaerngbndaliccakchatachiwitthiphkphnkhxngekhainrachsankrahwangpikh s 1743 1747 thiekidcakprasbkarnxnkhmkhunkhxngwxlaetrinrachsankaewrsay Versailles kkhngimphid enuxngcakineruxngniwxlaetridthaythxdprasbkarnkhxngtwexngphantwlakhrexkkhxngeruxng sungkkhux sadikCandide ou l optimisme aekikhprchyaniyayeruxngkxngdidd thuxepneruxngaetngrxyaekwchinexkkhxngwxlaetr phlnganchinniidyunynkhwamepnprachykhxngekha phusungepnsylksnaehngkhwamkhidwiphakswicarninstwrrsthi 18 idepnxyangdiwxlaetrichnithankhxngekhaepnsuxkaraesdngkhwamepnipinolkni ekhamkcaaesdngkhwamkhidehnphanthangtwlakhrinniyayaelaaesdngkhwamrusuk khwamkhidehnkhxngekhatxsngkhminthuk danphantwlakhrexkineruxng sungeruxngniepnesmuxnphaphsathxnchiwitkhxngwxlaetraelaepnphlnganchinsakhythiekhaidaesdngthsnaaelakhwamrusukkhxngekhaidepnxyangdi bthkhwamekiywkbwrrnkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy olkwrrnsilpekhathungcak https th wikipedia org w index php title phlngankhxngwxlaetr amp oldid 4274339, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม