fbpx
วิกิพีเดีย

มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน

มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน (เยอรมัน: Universität Duisburg-Essen, Uni-DUE) เป็นมหาวิทยาลัยใหญ่แห่งหนึ่งในรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน ประเทศเยอรมนี เป็นมหาวิทยาลัยที่แบ่งเป็นสองวิทยาเขตคือ วิทยาเขตเมืองดืสบวร์คและวิทยาเขตเมืองเอ็สเซิน

มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน
Universität Duisburg-Essen
คติพจน์Wissenschaft an Rhein und Ruhr
คติพจน์อังกฤษArt and Science on the Rhine and the Ruhr
สถาปนา1 มกราคม ค.ศ. 2003
(มหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิม ค.ศ. 1654)
ประเภทมหาวิทยาลัยรัฐ
ทุนทรัพย์426.7 ล้านยูโร [1]
อธิการบดีDr. Rainer Ambrosy
พระอธิการProf. Dr. Ulrich Radtke
จำนวนอาจารย์419 คน ( ค.ศ. 2009)
จำนวนเจ้าหน้าที่4,285 คน
จำนวนผู้ศึกษา31,005 คน ( ค.ศ. 2009)
ที่ตั้งดืสบวร์คและเอ็สเซิน, รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน,  เยอรมนี พิกัดภูมิศาสตร์: 51°27′50″N 7°00′22″E / 51.46389°N 7.00611°E / 51.46389; 7.00611
ประเทศ เยอรมนี พิกัดภูมิศาสตร์: 51°27′50″N 7°00′22″E / 51.46389°N 7.00611°E / 51.46389; 7.00611
วิทยาเขตเขตเมืองและชานเมือง
สีประจำสถาบันน้ำเงินและขาว         
เครือข่ายUAMR - University Alliance Metropolis Ruhr [2], DAAD, DFG, IRUN
เว็บไซต์www.uni-duisburg-essen.de

ประวัติมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซินนั้นมีประวัติที่น่าสนใจและน่าสับสนอยู่ไม่น้อยเพราะมีการย้ายที่ การรวมมหาวิทยาลัย และเปลี่ยนชื่ออยู่เป็นระยะ ๆ โดยประวัติของมหาวิทยาลัยโดยสังเขปเป็นไปดังต่อไปนี้

มหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิม

ประวัติของมหาวิทยาลัยนั้นย้อนกลับไปได้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1655 โดยเจ้าชายของอาณาจักรนัสเซา-ซีเกิน (Nassau-Siegen) นามว่าโยฮัน โมริทซ์ (Johann Moritz Fürst von Nassau-Siegen) เป็นผู้ก่อนตั้งมหาวิทยาลัยแรกขึ่นในดืสบวร์ค ทว่าในช่วงปี ค.ศ. 1798 หลังการปฏิวัติฝรั่งเศส พื้นที่ในเขตไรน์ลันท์ ถูกฝรั่งเศสครอบครองและทำให้มหาวิทยาลัยทั้งหมดในเขตนี้ต้องปิดไป ต่อมาในปี ค.ศ. 1818 มหาวิทยาลัยในเขตไรน์ลันท์ได้ถูกเปิดขึ้นใหม่อีกครั้งโดยใช้ชื่อว่ามหาวิทยาลัยไรน์ (Rhein-Universität) ทว่าเป็นการยุบรวมมหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิม มหาวิทยาลัยโคโลญเดิม และมหาวิทยาลัยบ็อนเดิมเข้าไว้ด้วยกัน โดยเลือกเมืองบ็อนเป็นสถานที่ตั้งของมหาวิทยาลัยใหม่เพราะมีความเป็นกลางทางศาสนาในสมัยนั้นขณะที่เมืองโคโลญเป็นคาทอลิกและดืสบวร์คเป็นโปรแตสแตนต์ โดยไม้คทาสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิมและทรัพยากรห้องสมุดส่วนใหญ่ของมหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิมถูกนำไปสร้างเป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยไรน์ [1] ภายหลังเมื่อมีการสถาปนามหาวิทยาลัยดืสบวร์คใหม่ และมหาวิทยาลัยไรน์ได้เปลี่ยนไปเป็นมหาวิทยาลัยบ็อน (ใหม่) มหาวิทยาลัยดืสบวร์คได้มีการขอนำไม้คทาสัญลักษณ์และทรัพยากรบางส่วนคืนจากมหาวิทยาลัยบ็อนแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ทำให้ไม้คทาสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยดืสบวร์คยังอยู่ที่เมืองบ็อนจนถึงทุกวันนี้

มหาวิทยาลัยดืสบวร์คยุคต่อมา

หลังจากการยุบรวมของมหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิม ก็เกิดวิทยาลัยขนาดเล็ก ๆ หลายแห่งเกิดขึ้นในดืสบวร์ค และในปี ค.ศ. 1891 Rheinisch-Westfälische Hüttenschule ได้ย้ายจากเมืองโบคุมมายังดืสบวร์คและในเวลาไม่นานก็เปลี่ยนชื่อเป็น Königlich-Preußischen Maschinenbau- und Hüttenschule หลังจากนั้นในปี 1938 วิทยาลัยนี้ก็ได้ใช้ชื่อว่าวิทยาลัยวิศวกรรม (Staatliche Ingenieurschule) ในปี ค.ศ. 1960 วิทยาลัยครูแห่งเขตรัวร์ (Pädagogischen Hochschule Ruhr) ได้รับการจัดตั้งขึ้นในเมืองดืสบวร์ค และในปี ค.ศ. 1972 วิทยาลัยครูแห่งเขตรัวร์และวิทยาลัยวิศวกรรมก็ได้รวมตัวกันเป็นมหาวิทยาลัยโดยใช้ชื่อ Gesamthochschule Duisburg ไม่นานหลังจากนั้นวิทยาลัยอื่น ๆ ในดืสบวร์คก็ถูกรวมเข้ากับมหาวิทยาลัยนี้อีก จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1980 มหาวิทยาลัยนี้ก็ถูกเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น Universität-Gesamthochschule Duisburg

หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 1994 มหาวิทยาลัยดืสบวร์คได้เปลี่ยนชื่อเป็น Gerhard-Mercator-Universität เพื่อให้เกีรยติแก่นักสร้างแผนที่ผู้เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกมหาวิทยาลัยดืสบวร์คเดิม และเป็นผู้คิดค้นระบบการสร้างแผนที่โลกที่ใช้กันในปัจจุบัน นามว่า เคราร์ดึส แมร์กาตอร์

มหาวิทยาลัยเอ็สเซิน

มหาวิทยาลัยเอ็สเซินนั้นเริ่มขึ้นจากการเป็นสถานีอนามัยเอ็สเซิน (Städtischen Krankenanstalten Essen) ซึ่งในปี ค.ศ. 1963 นั้นถูกโอนไปให้เป็นสาขาวิชาหนึ่งของมหาวิทยาลัยมึนสเตอร์ (Westfälischen Wilhelms-Universität Münster) แต่ต่อมาอีกไม่นานสาขาวิชาทางการแพทย์นี้ก็ถูกเปลี่ยนไปสังกัดกับมหาวิทยาลัยโบคุม (Ruhr-Universität Bochum) ในปี ค.ศ. 1972 มหาวิทยาลัยเอ็สเซิน (Universität-Gesamthochschule Essen) ได้ก่อตั้งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะต้องการเปลี่ยนย่านอุตสหกรรมเหล็กและถ่านหินเดิมให้กลายสถานศึกษาขั้นสูงของรัฐ และในปีเดียวกันนี้เองที่สถาบันการแพทย์จากมหาวิทยาลัยโบคุมได้โอนกลับมายังเมืองเอ็สเซินดังเดิมโดยสังกัดมหาวิทยาลัยเอ็สเซิน

มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน

มหาวิทยาลัยดืสบวร์คและมหาวิทยาลัยเอ็สเซินได้รวมกันในปี ค.ศ. 2002 ภายใต้ชื่อใหม่ว่ามหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน (Universität Duisburg-Essen) ซึ่งการรวมกันของทั้งสองมหาวิทยาลัยนี้ทำให้ลดต้นทุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยทั้งสอง อีกทั้งยังทำให้ขยายศักยภาพและเพิ่มจำนวนสาขาวิชาให้กับมหาวิทยาลัย และสร้างความพร้อมในการเปิดหลักสูตรภาษาต่างชาติอีกด้วย

ในช่วงแรกของการรวมมหาวิทยาลัยนั้นทางมหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซินได้เปิดสอนอยู่สี่สาขาวิชาหลัก คือสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรม และสาขาวิชาแพทยศาสตร์ โดยมีแผนที่จะให้แต่ละสาขาวิชาไปรวมกันอยู่ที่วิทยาเขตใดวิทยาเขตหนึ่งโดยไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนกัน โดยวิทยาเขตเอ็สเซินจะเปิดสอนสาขาวิชาแพทยศาสตร์ และสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ส่วนวิทาเขตดืสบวร์คจะเปิดสาขาทางวิทยาศาสตร์และสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทว่าก็ยังมีข้อยกเว้นในบางสาขาวิชา เช่นวิศวกรรมโยธานั้นยังคงอยู่ที่เอ็สเซิน ภาควิชารัฐศาสตร์และภาควิชาสังคมศาสตร์นั้นอยู่ที่ดืสบวร์ค

ด้วยเหตุจากการรวมมหาวิทยาลัยนี้ มหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซินจึงมีจำนวนห้องสมุดหลักอยู่ถึงหกแห่งกระจายในสองวิทยาเขต

หน่วยงาน

ปัจจุบันมหาวิทยาลัยดืสบวร์ค-เอ็สเซิน ประกอบด้วยหน่วยงานต่อไปนี้

คณะวิชา

  • คณะมนุษยศาสตร์
  • คณะสังคมศาสตร์
  • คณะศึกษาศาสตร์
  • คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ
  • วิทยาลัยการจัดการแมร์กาตอร์
  • คณะคณิตศาสตร์
  • คณะฟิสิกส์
  • คณะเคมี
  • คณะชีววิทยาและภูมิศาสตร์
  • คณะวิศวกรรมศาสตร์
  • คณะแพทย์ศาสตร์

สถาบันวิจัย

  • ศูนย์วิทยาศาสตร์การคำนวณและการจำลอง (CCSS)
  • ศูนย์การวิจัยการศึกษาเชิงประจักษ์ (ZeB)
  • ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีนาโน ดืสบวร์ค-เอ็สเซิน (CeNIDE)
  • ศูนย์โลจิสติกและการขนส่ง (ZLV)
  • ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ (ZMB)
  • ศูนย์การวิจัยทางน้ำและสิ่งแวดล้อม (ZWU)
  • สถาบันเพื่อการวินิจฉัยด้วยสนามแม่เหล็ก แอร์วีน เอ็ล. ฮาน (ELH)
  • วิทยาลัยเพศศึกษา เอ็สเซิน (EKfG)
  • สถาบันคณิตศาสตร์การทดลอง (IEM)
  • สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา (IN-EAST)

แหล่งข้อมูลอื่น

  • เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
  • สารานุกรมสมาคมนักเรียนไทยในเยอรมนี
  • 30 Jahre Universität Essen (Essener Universitätsreden, Heft 10, Akademisches Jahr 2001/02), Universität Essen 2002 (Beiträge aus der Vortragsreihe „Wurzeln der Universität“)

อ้างอิง


มหาว, ทยาล, ยด, สบวร, เอ, สเซ, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ดบทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บป. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudbthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir mhawithyalydusbwrkh exsesin eyxrmn Universitat Duisburg Essen Uni DUE epnmhawithyalyihyaehnghnunginrthnxrthirn ewsthfaelin praethseyxrmni epnmhawithyalythiaebngepnsxngwithyaekhtkhux withyaekhtemuxngdusbwrkhaelawithyaekhtemuxngexsesinmhawithyalydusbwrkh exsesinUniversitat Duisburg EssenkhtiphcnWissenschaft an Rhein und RuhrkhtiphcnxngkvsArt and Science on the Rhine and the Ruhrsthapna1 mkrakhm kh s 2003 mhawithyalydusbwrkhedim kh s 1654 praephthmhawithyalyrththunthrphy426 7 lanyuor 1 xthikarbdiDr Rainer AmbrosyphraxthikarProf Dr Ulrich Radtkecanwnxacary419 khn kh s 2009 canwnecahnathi4 285 khncanwnphusuksa31 005 khn kh s 2009 thitngdusbwrkhaelaexsesin rthnxrthirn ewsthfaelin eyxrmni phikdphumisastr 51 27 50 N 7 00 22 E 51 46389 N 7 00611 E 51 46389 7 00611praeths eyxrmni phikdphumisastr 51 27 50 N 7 00 22 E 51 46389 N 7 00611 E 51 46389 7 00611withyaekhtekhtemuxngaelachanemuxngsipracasthabnnaenginaelakhaw ekhruxkhayUAMR University Alliance Metropolis Ruhr 2 DAAD DFG IRUNewbistwww uni duisburg essen de enuxha 1 prawtimhawithyaly 1 1 mhawithyalydusbwrkhedim 1 2 mhawithyalydusbwrkhyukhtxma 1 3 mhawithyalyexsesin 1 4 mhawithyalydusbwrkh exsesin 2 hnwyngan 2 1 khnawicha 2 2 sthabnwicy 3 aehlngkhxmulxun 4 xangxingprawtimhawithyaly aekikhmhawithyalydusbwrkh exsesinnnmiprawtithinasnicaelanasbsnxyuimnxyephraamikaryaythi karrwmmhawithyaly aelaepliynchuxxyuepnraya odyprawtikhxngmhawithyalyodysngekhpepnipdngtxipni 1 mhawithyalydusbwrkhedim aekikh prawtikhxngmhawithyalynnyxnklbipidtngaetpi kh s 1655 odyecachaykhxngxanackrnsesa siekin Nassau Siegen namwaoyhn omriths Johann Moritz Furst von Nassau Siegen epnphukxntngmhawithyalyaerkkhunindusbwrkh thwainchwngpi kh s 1798 hlngkarptiwtifrngess phunthiinekhtirnlnth thukfrngesskhrxbkhrxngaelathaihmhawithyalythnghmdinekhtnitxngpidip txmainpi kh s 1818 mhawithyalyinekhtirnlnthidthukepidkhunihmxikkhrngodyichchuxwamhawithyalyirn Rhein Universitat thwaepnkaryubrwmmhawithyalydusbwrkhedim mhawithyalyokholyedim aelamhawithyalybxnedimekhaiwdwykn odyeluxkemuxngbxnepnsthanthitngkhxngmhawithyalyihmephraamikhwamepnklangthangsasnainsmynnkhnathiemuxngokholyepnkhathxlikaeladusbwrkhepnopraetsaetnt odyimkhthasylksnkhxngmhawithyalydusbwrkhedimaelathrphyakrhxngsmudswnihykhxngmhawithyalydusbwrkhedimthuknaipsrangepnhxngsmudmhawithyalyirn 1 phayhlngemuxmikarsthapnamhawithyalydusbwrkhihm aelamhawithyalyirnidepliynipepnmhawithyalybxn ihm mhawithyalydusbwrkhidmikarkhxnaimkhthasylksnaelathrphyakrbangswnkhuncakmhawithyalybxnaetimprasbphlsaerc thaihimkhthasylksnmhawithyalydusbwrkhyngxyuthiemuxngbxncnthungthukwnni mhawithyalydusbwrkhyukhtxma aekikh hlngcakkaryubrwmkhxngmhawithyalydusbwrkhedim kekidwithyalykhnadelk hlayaehngekidkhunindusbwrkh aelainpi kh s 1891 Rheinisch Westfalische Huttenschule idyaycakemuxngobkhummayngdusbwrkhaelainewlaimnankepliynchuxepn Koniglich Preussischen Maschinenbau und Huttenschule hlngcaknninpi 1938 withyalynikidichchuxwawithyalywiswkrrm Staatliche Ingenieurschule inpi kh s 1960 withyalykhruaehngekhtrwr Padagogischen Hochschule Ruhr idrbkarcdtngkhuninemuxngdusbwrkh aelainpi kh s 1972 withyalykhruaehngekhtrwraelawithyalywiswkrrmkidrwmtwknepnmhawithyalyodyichchux Gesamthochschule Duisburg imnanhlngcaknnwithyalyxun indusbwrkhkthukrwmekhakbmhawithyalynixik cnkrathnginpi kh s 1980 mhawithyalynikthukepliynchuxxikkhrngepn Universitat Gesamthochschule Duisburghlngcaknninpi kh s 1994 mhawithyalydusbwrkhidepliynchuxepn Gerhard Mercator Universitat ephuxihekirytiaeknksrangaephnthiphuepnhnunginphubukebikmhawithyalydusbwrkhedim aelaepnphukhidkhnrabbkarsrangaephnthiolkthiichkninpccubn namwa ekhrardus aemrkatxr mhawithyalyexsesin aekikh mhawithyalyexsesinnnerimkhuncakkarepnsthanixnamyexsesin Stadtischen Krankenanstalten Essen sunginpi kh s 1963 nnthukoxnipihepnsakhawichahnungkhxngmhawithyalymunsetxr Westfalischen Wilhelms Universitat Munster aettxmaxikimnansakhawichathangkaraephthynikthukepliynipsngkdkbmhawithyalyobkhum Ruhr Universitat Bochum inpi kh s 1972 mhawithyalyexsesin Universitat Gesamthochschule Essen idkxtngkhunodymicudmunghmaythicatxngkarepliynyanxutshkrrmehlkaelathanhinedimihklaysthansuksakhnsungkhxngrth aelainpiediywknniexngthisthabnkaraephthycakmhawithyalyobkhumidoxnklbmayngemuxngexsesindngedimodysngkdmhawithyalyexsesin mhawithyalydusbwrkh exsesin aekikh mhawithyalydusbwrkhaelamhawithyalyexsesinidrwmkninpi kh s 2002 phayitchuxihmwamhawithyalydusbwrkh exsesin Universitat Duisburg Essen sungkarrwmknkhxngthngsxngmhawithyalynithaihldtnthunkardaeninngankhxngmhawithyalythngsxng xikthngyngthaihkhyayskyphaphaelaephimcanwnsakhawichaihkbmhawithyaly aelasrangkhwamphrxminkarepidhlksutrphasatangchatixikdwyinchwngaerkkhxngkarrwmmhawithyalynnthangmhawithyalydusbwrkh exsesinidepidsxnxyusisakhawichahlk khuxsakhawichamnusysastraelasngkhmsastr sakhawichawithyasastr sakhawichawiswkrrm aelasakhawichaaephthysastr odymiaephnthicaihaetlasakhawichaiprwmknxyuthiwithyaekhtidwithyaekhthnungodyimihekidkhwamsasxnkn odywithyaekhtexsesincaepidsxnsakhawichaaephthysastr aelasakhawichamnusysastraelasngkhmsastr swnwithaekhtdusbwrkhcaepidsakhathangwithyasastraelasakhawichawiswkrrmsastr thwakyngmikhxykewninbangsakhawicha echnwiswkrrmoythannyngkhngxyuthiexsesin phakhwicharthsastraelaphakhwichasngkhmsastrnnxyuthidusbwrkhdwyehtucakkarrwmmhawithyalyni mhawithyalydusbwrkh exsesincungmicanwnhxngsmudhlkxyuthunghkaehngkracayinsxngwithyaekhthnwyngan aekikhpccubnmhawithyalydusbwrkh exsesin prakxbdwyhnwyngantxipni 2 khnawicha aekikh khnamnusysastr khnasngkhmsastr khnasuksasastr khnaesrsthsastraelabriharthurkic withyalykarcdkaraemrkatxr khnakhnitsastr khnafisiks khnaekhmi khnachiwwithyaaelaphumisastr khnawiswkrrmsastr khnaaephthysastrsthabnwicy aekikh sunywithyasastrkarkhanwnaelakarcalxng CCSS sunykarwicykarsuksaechingpracks ZeB sunywicyethkhonolyinaon dusbwrkh exsesin CeNIDE sunyolcistikaelakarkhnsng ZLV sunyethkhonolyichiwphaphthangkaraephthy ZMB sunykarwicythangnaaelasingaewdlxm ZWU sthabnephuxkarwinicchydwysnamaemehlk aexrwin exl han ELH withyalyephssuksa exsesin EKfG sthabnkhnitsastrkarthdlxng IEM sthabnexechiytawnxxksuksa IN EAST aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb mhawithyalydusbwrkh exsesinewbistxyangepnthangkar saranukrmsmakhmnkeriynithyineyxrmni 30 Jahre Universitat Essen Essener Universitatsreden Heft 10 Akademisches Jahr 2001 02 Universitat Essen 2002 Beitrage aus der Vortragsreihe Wurzeln der Universitat xangxing aekikh http www uni due de http www uni due de de universitaet ueberblick php bthkhwamekiywkbsthansuksaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title mhawithyalydusbwrkh exsesin amp oldid 9259842, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม